โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชนะ คณะ มนะและดรุก เซนเดน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชนะ คณะ มนะและดรุก เซนเดน

ชนะ คณะ มนะ vs. ดรุก เซนเดน

"ชนะ คณะ มนะ" (জন গণ মন, Jôno Gôno Mono; แปลว่า "จิตใจแห่งปวงชน") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอินเดีย บทเพลงนี้เขียนขึ้นด้วยภาษาเบงกาลีสันสกฤตและประพันธ์ทำนองโดยรพินทรนาถ ฐากูร นักเขียนรางวัลโนเบลชาวเบงกาลี โดยบทที่นำมาใช้เป็นเพลงชาตินี้นำมาจากบทแรกของเพลงเดิมซึ่งเป็นเพลงสรรเสริญแบบพฺราหฺมะ (ব্রাহ্ম, Brahmo) ของแคว้นเบงกอล มีเนื้อหาทั้งหมด 5 บท เพลงดังกล่าวได้มีการขับร้องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในที่ประชุมคองเกรสแห่งชาติของอินเดีย (Indian National Congress) ที่เมืองกัลกัตตา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1911 ภายหลังเพลง "ชนะ คณะ มนะ" ได้รับการยอมรับให้ใช้เป็นเพลงชาติอินเดียอย่างเป็นทางการโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1950 Ganpuley's Memoirs.1983. ลงชาติแห่งราชอาณาจักรภูฏานมีชื่อว่า ดรุก เซนเดน (ซองคา: འབྲུག་ཙན་དན་, Druk tsendhen) ชื่อของเพลงนี้มีความหมายว่า "อาณาจักรมังกรสายฟ้า" ประพันธ์ทำนองโดย อากู ตองมี (Aku Tongmi) คำร้องโดย ดาโช เยลดุน ทินเลย์ (Dasho Gyaldun Thinley) สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก พระมหากษัตริย์แห่งภูฏานรัชกาลที่ 3 ได้มีพระบรมราชโองการให้ประพันธ์เพลงชาติภูฏานขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2496 แต่เพลงชาติภูฏานได้แต่งขึ้นจริงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2501 เมื่อภูฏานจำเป็นต้องมีเพลงชาติเพื่อใช้ในพิธีการต้อนรับนายกรัฐมนตรีชวาหระลาล เนห์รู แห่งประเทศอินเดีย เนื่องในโอกาสการเยือนภูฏานอย่างเป็นทางการ ตองมีซึ่งขณะนั้นเพิ่งกลับจากการอบรมทางดนตรีในประเทศอินเดีย และได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมวงโยธวาทิตคนแรกของกองทัพภูฏาน จึงได้ประพันธ์ทำนองเพลงชาติขึ้น โดยทำนองฉบับแรกที่เขาแต่งนั้นได้รับอิทธิพลทั้งจากเพลงชาติอินเดีย (ชนะ คณะ มนะ) และเพลงชาติสหราชอาณาจักร (ก็อดเซฟเดอะควีน) รวมทั้งปรับปรุงจากทำนองเพลงพื้นเมืองที่มีชื่อว่า "Thri nyampa med pa pemai thri" (ชื่อเพลงมีความหมายว่า "บัลลังก์ดอกบัวอันมั่นคง" หรือ "The Unchanging Lotus Throne") ต่อมาทำนองดังกล่าวนี้ได้มีการปรับปรุงอีก 2 ครั้ง โดยผู้ที่รับตำแหน่งผู้ควบคุมวงโยธวาทิตสืบต่อจากเขา สำหรับบทร้องของเพลงนี้ เดิมแต่งเป็นบทร้องความยาว 12 วรรค ต่อมาได้ย่อลงให้เหลือเพียง 6 วรรคในปี พ.ศ. 2507 เนื่องจากเนื้อร้องเดิมค่อนข้างยาว และเรียบเรียงเป็นทำนองสำหรับบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีทองเหลืองได้ยาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชนะ คณะ มนะและดรุก เซนเดน

ชนะ คณะ มนะและดรุก เซนเดน มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวาหะร์ลาล เนห์รูประเทศอินเดียเพลงชาติ

ชวาหะร์ลาล เนห์รู

วาหะร์ลาล เนห์รู (जवाहरलाल नेहरू ชวาหรลาล เนหรู; Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964) รัฐบุรุษของอินเดีย และนายกรัฐมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต..

ชนะ คณะ มนะและชวาหะร์ลาล เนห์รู · ชวาหะร์ลาล เนห์รูและดรุก เซนเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ชนะ คณะ มนะและประเทศอินเดีย · ดรุก เซนเดนและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติ

ภาพยนตร์หรือวีดิทัศน์ประกอบเพลงชาติ มักมีการใช้ภาพประกอบเพลงที่แสดงถึงความฮึกเหิมและปลุกใจให้รักชาติ (ตัวอย่างในที่นี้ เป็นภาพยนตร์เพลงชาติสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2487) เพลงชาติ (National anthem) หมายถึง บทเพลงที่ประพันธ์ขึ้น เพื่อปลุกเร้าให้หวนระลึกถึงหรือสรรเสริญประวัติศาสตร์ชาติ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ หรือการต่อสู้ของชนในชาติ โดยได้รับการยอมรับจากรัฐบาลของชาตินั้น ๆ อย่างเป็นทางการ หรือความตกลงใจร่วมกันของประชาชนในชาติว่า เพลงดังกล่าวเป็นเพลงประจำชาติของตน ในหนังสือ "เพลงชาติ" โดย สุกรี เจริญสุข ได้กล่าวถึงความหมายของเพลงชาติไว้ 4 ประการ คือ.

ชนะ คณะ มนะและเพลงชาติ · ดรุก เซนเดนและเพลงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชนะ คณะ มนะและดรุก เซนเดน

ชนะ คณะ มนะ มี 36 ความสัมพันธ์ขณะที่ ดรุก เซนเดน มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.88% = 3 / (36 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชนะ คณะ มนะและดรุก เซนเดน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »