โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

Ogg

ดัชนี Ogg

ogg ("อ็อก") เป็นรูปแบบหีบห่อดิจิทัลแบบมาตรฐานเปิดสำหรับบรรจุสื่อผสม มันถูกออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพในการกระจายเสียง (สตรีมมิง) และการเปลี่ยนแปร รูปแบบ ogg ออกแบบโดยมูลนิธิ Xiph.Org และปลอดจากสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ คำว่า "ogg" ยังถูกใช้บ่อย ๆ เพื่อเรียกรูปแบบแฟ้มเสียง Ogg Vorbis ซึ่งเป็นเสียงที่ถูกเข้ารหัสแบบ Vorbis แล้วเก็บลงในหีบห่อ Ogg การเข้ารหัสอื่นที่เด่น ๆ ของ Xiph ที่มักถูกใส่ใน Ogg ก็คือ Theora ซึ่งเป็นการเข้ารหัสภาพเคลื่อนไหว (วิดีโอ), และ Speex ซึ่งเป็นการบีบอัดเสียงพูดของมนุษย์ MIME type ของ ogg คือ application/ogg.

298 ความสัมพันธ์: บอร์นดิสเวย์ (เพลง)บอสซาโนวาชะตาชีวิตบิกเบนบิลลี ฮอลิเดย์ชื่นชุลมุนชูเอา ชิลเบร์ตูชนะ คณะ มนะฟรันซ์ ชูแบร์ทฟรันซ์ ลิซท์ฟอซซีพม่าประเทศพระมหามงคลพระราชาผู้ทรงธรรมพระคุณพระเจ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศสพลังสามัคคีพังก์ร็อกพ่อแห่งแผ่นดินกลูมมีซันเดย์กะบามะเจการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์การเรียกซ้ำกาแลคซี เน็กซัสกุสตาฟ โฮลส์กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45ก็อดเบล็สอาวร์โฮมแลนด์กานาก็อดเซฟเดอะควีนฝัน (เพลงพระราชนิพนธ์)ภิรมย์รักภูพานปฏิวัติภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาจุฬาลงกรณ์มาร์ชกองทัพบกมาร์ชราชวัลลภมาร์ชราชนาวิกโยธินมาร์ชอัสสัมชัญธนบุรีมาร์ชธงไชยเฉลิมพลมาร์ชทหารอาสามืย เบลารูซืยมีศักดิ์ นาครัตน์มีไซอาห์ (แฮนเดิล)ม่านไทรย้อยยามค่ำยามเย็นยานนียานนีไลฟ์แอตดิอะโครโพลิสยิ้มสู้ยุโรป (วงดนตรี)...ยูบีลองวิทมีรัก (เพลงพระราชนิพนธ์)รักอุตลุดรักคืนเรือนราชันแห่งแผ่นดินราโมนส์ราเด็ตสกีมาร์ชริชาร์ด วากเนอร์รูปที่มีทุกบ้านรูปแบบการบันทึกเสียงร็อกลมหนาว (เพลง)ลักกีสไตรก์ (เพลง)ลันด์เดอร์แบร์เกอ ลันด์อัมชโตรเมอลา กัมปาเนลลาลาพร็องตีซอร์ซีเยลากอมลามาร์แซแยซลาดอนนาแอโมบีเลลุดวิจ ฟาน เบโทเฟนวัยอลวนวันออฟดีสไนตส์วันเลิฟ (เพลงอะระชิ)วิลเลียม เทลล์ (อุปรากร)วิสเซิล (เพลงแบล็กพิงก์)วิโอลาวีอาร์เนเวอร์เอเวอร์เกตติงแบ็กทูเกเตอร์ศุกร์สัญลักษณ์ศีลธรรมทั้งห้าสก็อต จอปลินสมเกียรติ อ่อนวิมลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสยามานุสสติสรรเสริญพระบารมีสัญลักษณ์พาราลิมปิกสายฝน (เพลงพระราชนิพนธ์)สายลมสิ้นรักสิ้นสุขสี่คิงส์สดุดีมหาราชาสดุดีอัสสัมชัญสตีวี วันเดอร์สปากส์ฟลาย (เพลง)สปีกนาว (เพลง)สแตนด์แอนด์ซิงออฟแซมเบีย พราวด์แอนฟรีหมู่บ้านคุ้งตะเภาหัวใจหนักแผ่นดินออร์แกนออร์เคสตราลสวีต (บาค)ออลอะเบาต์แดตเบสออลด์แลงไซน์ออลเทอร์นาทิฟร็อกออแดซิตีอะพอลโล 11อะระชิอะระชิ (เพลง)อังโตนีอู การ์ลูช โชบิงอันโตนีโอ วีวัลดีอาทิตย์อับแสงอาเว มารีอา (บาค/กูโน)อิฟไอคูดเทลล์ยูอิลกันโตเดลยีอีตาเลียนีอุทยานดอกไม้อีนูดาอิงดือเป็งเด็งซียาอนุสติไทยอเมริกาเดอะบิวติฟูลฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2ฮาร์มอนิกฮิวเมอเรสก์ส (ดโวชาค)ฮีมนี อี ฟลามูริทฮีลเดอะเวิลด์ผมเป็นชาวเบอร์ลินฌอร์ฌ บีแซฌีมโนเปดีฌ็อง มีแชล ฌาร์จอยทูเดอะเวิลด์จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิลจัสต์แดนซ์จังหวัดอุตรดิตถ์จากยอดดอยจาโกโม ปุชชีนีจูเซปเป แวร์ดีจีเซลล์ทรายอะเกนทริสทานอุนท์อิโซลเดอทรูธ์/คะเซะโนะมุโกเอะทรีบิวต์ (อัลบั้มยานนี)ทหารพระนเรศวรทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565)ทาวิสุพลีบาขวัญของเรียมของขวัญจากก้อนดินขอเชิญท่านผู้วางใจดวงใจกับความรักดอกพุดตาน (เพลง)ดอกคูน (เพลง)ดิสอิสอิต (เพลงไมเคิล แจ็กสัน)ดิสโก้ดิซซี กิลเลสพีดิเอนเตอร์เทนเนอร์ดุจบิดามารดรดนตรีแอมเบียนต์คริส เจริโคคอปเปเลียคานท์ยูเอเวอร์ซีคำหวานคีย์สทูอิเมจิเนชันคีตราชนิพนธ์ บทเพลงในดวงใจราษฎร์คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505คนึงครวญค่ำแล้วงูหางกระดิ่งตำบลคุ้งตะเภาซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2ซานตาลูชีอาซิมโฟนีซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)ซิมโฟนีหมายเลข 6 (เบโทเฟน)ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟน)ซิลเวอร์แชร์ซุอิตแบร์กามัสก์ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยซีเกมส์ 2007ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ตปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกนปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนียปาติโมกข์ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกีนการากูนกแก้วคาคาโปนครราชแบลงก์สเปซแก้วตาขวัญใจแวร์วีอาร์แวนเจลิสแว่วแสงเทียนแสงเดือนแอพพลอส (เพลง)แอร์ออนจีสตริงแองเตอร์นาซิอองนาลแฮนส์ออลโอเวอร์ (เพลงมารูนไฟฟ์)แผ่นดินของเรา (เพลงพระราชนิพนธ์)แด่ทหารหาญในสมรภูมิแคลริเน็ตคอนแชร์โต (โมซาร์ท)แคลนนาดแคนอนของพาเคลเบลแซดบัตทรูแซ็งฟอนีฟ็องตัสติกใกล้รุ่งใกล้ปีใหม่ในดวงใจนิรันดร์โกลด เดอบูว์ซีโยฮันน์ พาเคลเบลโยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโรร์ (เพลง)โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชาโรงเรียนเมืองพลพิทยาคมโรเมโอและจูเลียต (ไชคอฟสกี)โลนเรนเจอร์โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทโอแคนาดาโขนโดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวีโป๊กเกอร์เฟสไฟลท์ออฟเดอะบัมเบิลบีไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ไร้เดือนไวโอลินไวโอลินคอนแชร์โต (เมนเดลโซห์น)ไอ (อาการ)ไอก็อตยู (ไอฟีลกู๊ด)ไอนูว์ยูเวอร์ทรับเบิลไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีกไฮบริดทีโอรีไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ไดโอรามา (อัลบั้ม)ไนท์ออนบาลด์เมาเทนเชลโลเชเนวเมร์ลาอูครายีนาเฟรเดริก ชอแป็งเฟียร์เลส (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์)เพลงชาติบราซิลเพลงชาติกัวเตมาลาเพลงชาติมองโกเลียเพลงชาติรัสเซียเพลงชาติสหภาพโซเวียตเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถานเพลงชาติอาร์เจนตินาเพลงชาติปานามาเพลงชาติไทยเพลงชาติเม็กซิโกเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพลงมหาชัยเพอร์เพิลเรน (อัลบั้ม)เพ็ญศรี พุ่มชูศรีเกาะในฝันเกียรติศักดิ์ทหารเสือเมื่อโสมส่องเมนูไข่เยสเรา-เหล่าราบ 21เราสู้เรือนแพ (ภาพยนตร์)เรือนแพ (เพลง)เลิฟสตอรี (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์)เวนจอห์นนีคัมส์แมร์ชิงโฮมเวนโดฟส์ครายเสือเฒ่าเห่าดงเอมี ไวน์เฮาส์เอลเลนส์ดริทเทอร์เกซังเอทูดในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์เอ็ดเวิด กริกเทวาพาคู่ฝันเทเลโฟนเดอร์ เออร์ เอ็ท ยินดิจท์ แลนด์เดอะบิวตีฟูลวันส์เดอะวอชิงตันโพสต์ (เพลงมาร์ช)เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์เดอะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์เดอะทันเดอเรอร์เดอะนัทแครกเกอร์เดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์เคาท์ เบซีเตือนใจเซียร์เกย์ รัคมานีนอฟเปียโนคอนแชร์โต (กริก)เปียโนโซนาตาหมายเลข 11 (โมซาร์ท)เปียโนโซนาตาหมายเลข 14 (เบโทเฟน)เปนชู้กับผีเป็นเวลาที่พระคริสต์ได้ประสูติเนเวอร์กอนนากีฟยูอัปBlues for UthitKinari SuiteLay Kram Goes DixieOh I SayOptimystiquePictures at an Exhibition1812 โอเวอร์เชอร์ ขยายดัชนี (248 มากกว่า) »

บอร์นดิสเวย์ (เพลง)

"บอร์นดิสเวย์" (Born This Way) เป็นเพลงในสตูดิโออัลบั้มที่สอง ซิงเกิ้ลที่ 9 ของนักร้องสาวสุดมาดเลดี้ กาก้า ศิลปินชาวอเมริกัน เพลงนี้แต่งโดยเลดี้ กาก้า และปล่อยลงเว็บไซต์ของกาก้า เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2011 เพลงบอร์นดิสเวย์ ประสบความสำเร็จอย่างมากและพบกับคำวิจารณ์ เนื่องจากมีความคล้ายคลึงกับเพลง"เอ็กเพรส ยัวร์เซลฟ์" ของมาดอนน่า และเป็นเพลงที่มียอดดาวน์โหลดสูงทีสุดของเว็บยอดฮิตอย่าง iTunes โดยเพลงบอร์นดิสเวย์ใช้เวลาเพียง 3 ชั่วโมง ทำลายสถิติมียอดดาวน์โหลดสูงสุดถึง 448,000 ยูนิต ในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง และมียอดดาวน์โหลดมากกว่า 1 ล้านดาวน์โหลด ในเวลาเพียง 5 วันเท่านั้น นอกจากจะขึ้นอันดับ 1 บนชาร์ตดาวน์โหลดทาง iTunes ใน 23 ประเทศทั่วโลกแล้ว ยังติดอันดับ 1 เพลงฮิต ของบิลบอร์ดชาร์ตอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันสถิติยอดดาวน์โหลดตกเป็นของเพลง วีอาร์เนเวอร์เอเวอร์เกตติงแบ็กทูเกเตอร์ ของนักร้องคันทรี เทย์เลอร์ สวิฟต์ ซึ่งทำไว้ภายในเวลา 50 นาที ซึ่งทำได้ถึง 623,000 ยูนิต วันที่กาก้าปล่อยเพลงบอร์นดิสเวย์ตรงกับงานประกาศรางวัลแกรมมี่ อวอร์ส โดยกาก้าได้แสดงเพลงบอร์นดิสเวย์ในงานเป็นครั้งแรก ก่อนปล่อยเวอร์ชันอย่างเป็นทางมาให้แฟนเพลงได้ฟังและดาวน์โหลด เลดี้ กาก้า ในขณะนั้งอยู่ในบัลลังก์แก้วในมิวสิกวิดีโอ เลดี้ กาก้า โชว์การแสดง ที่มอนสเตอร์บอลทัวร.

ใหม่!!: Oggและบอร์นดิสเวย์ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

บอสซาโนวา

อสซาโนวา (bossa nova, บอซานอวา) เป็นชื่อของแนวเพลงที่กำเนิดในประเทศบราซิล ในปี ค.ศ. 1958 โดยอังโตนีอู การ์ลูช โชบิง, วีนีซีอุช จี โมไรช์ และชูเอา ชิลเบร์ตู โดยมาจากการผสมผสานดนตรีแจ๊สของแอฟริกัน-อเมริกันกับดนตรีแซมบา ดนตรีพื้นบ้านของบราซิล เครื่องดนตรีที่ใช้กับดนตรีบอสซาโนวาประกอบด้วยเครื่องดนตรีหลัก 2 ชิ้น คือ กีตาร์และเปียโน โดยมีเครื่องดนตรีอื่น ๆ ได้แก่ออร์แกนไฟฟ้า ดับเบิลเบส กลอง และเครื่องเคาะ กีตาร์ที่ใช้จะต้องเป็นกีตาร์คลาสสิก สายไนลอน และเล่นโดยใช้นิ้ว ไม่ใช้ปิ๊ก ดนตรีบอสซาโนวา เป็นที่นิยมอยู่ในบราซิล สหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์ ปัจจุบันอาจเรียกสั้น ๆ ว่า บอสซา ผลงานดนตรีที่ทำให้บอสซาโนวาเป็นที่นิยม คืออัลบัมเพลงประกอบภาพยนตร์ Black Orpheus (Orfeu Negro, 1959) โดยชูเอา ชิลเบร์ตู และเป็นที่นิยมในสหรัฐอเมริกาจากอัลบัม Jazz Samba (1962) ของสแตน เก็ตซ์และชาร์ลี เบิร์ด และโด่งดังไปทั่วโลกกับอัลบัม Getz/Gilberto (1963) ของสแตน เก็ตซ์และชูเอา ชิลเบร์ตู โดยเพลงที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเพลง The Girl from Ipanema (Garota de Ipanema) ซึ่งขับร้องโดยอัสตรุด ชิลเบร์ตู ภรรยาของชูเอา เพลงนี้ได้รับรางวัลแกรมมีเมื่อปี ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: Oggและบอสซาโนวา · ดูเพิ่มเติม »

ชะตาชีวิต

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธ์หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติ และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงพระนิพนธ์คำร้องภาษาอังกฤษ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชครบ ๒๐ พรรษา ใน..

ใหม่!!: Oggและชะตาชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

บิกเบน

หอนาฬิกาพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่มักถูกเรียกว่าบิ๊กเบน ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นชื่อเล่นของระฆังใบใหญ่ที่สุดที่แขวนไว้บริเวณช่องลมเหนือหน้าปัดนาฬิกา หอเอลิซาเบธ (Elizabeth Tower) (ก่อนหน้านี้เรียกว่า หอนาฬิกาพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ (Clock Tower, Palace of Westminster)) หรือรู้จักดีในชื่อ บิกเบน (Big Ben) เป็นหอนาฬิกาประจำพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งในปัจจุบันใช้เป็นรัฐสภาอังกฤษ ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระราชวัง หอนาฬิกานี้ถูกสร้างหลังจากไฟไหม้พระราชวังเวสต์มินสเตอร์เดิม เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2377 โดยชาลส์ แบร์รี เป็นผู้ออกแบบ หอนาฬิกามีความสูง 96.3 เมตร โดยที่ตัวนาฬิกาอยู่สูงจากพื้น 55 เมตร ตัวอาคารสร้างด้วยสถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (victorian gothic) ชื่อหอเอลิซาเบธตั้งขึ้นเพื่อฉลองพระราชพิธีพัชราภิเษก หรือพระราชพิธีมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง หลายคนเข้าใจว่าบิ๊กเบนเป็นชื่อหอนาฬิกาประจำรัฐสภาอังกฤษ แต่แท้ที่จริงแล้ว บิ๊กเบนเป็นชื่อเล่นของระฆังใบใหญ่ที่สุด หนักถึง 13,760 กิโลกรัม ซึ่งแขวนไว้บริเวณช่องลมเหนือหน้าปัดนาฬิกา ทั้งนี้มีระฆังรวมทั้งสิ้น 5 ใบ โดย 4 ใบจะถูกตีเป็นทำนอง ส่วนบิ๊กเบนจะถูกตีบอกชั่วโมงตามตัวเลขที่เข็มสั้นชี้บนหน้าปัดนาฬิกา ทว่าคนส่วนใหญ่กลับใช้ชื่อบิ๊กเบนเรียกตัวหอทั้งหมด บางทีมักเรียกหอนาฬิกานี้ว่า หอเซนต์สตีเฟน (St Stephen's Tower) หรือหอบิกเบน (Tower of Big Ben) ซึ่งที่จริงแล้วชื่อหอเซนต์สตีเฟนคือชื่อของหอในพระราชวังอีกหอหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นทางเข้าไปอภิปรายในสภา ในเวลาต่อมา รัฐสภาอังกฤษได้มีมติให้ตั้งชื่อหอนาฬิกานี้ว่า หอเอลิซาเบธ เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 ปัจจุบันภายในหอนาฬิกาไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม เว้นแต่สำหรับผู้ที่อาศัยในประเทศอังกฤษ จะต้องทำเรื่องขอเข้าชมผ่านสมาชิกรัฐสภาอังกฤษประจำท้องถิ่นของตน ถ้าเป็นเด็กต้องมีอายุเกิน 11 ปี จึงจะเข้าชมหอได้ สำหรับชาวต่างประเทศนั้นไม่อนุญาตให้ขึ้นไป ทั้งนี้ผู้ชมต้องเดินบันได 334 ขั้นขึ้นไปเพราะไม่มีลิฟต.

ใหม่!!: Oggและบิกเบน · ดูเพิ่มเติม »

บิลลี ฮอลิเดย์

ลลี ฮอลิเดย์ (Billie Holiday) (7 เมษายน ค.ศ. 1915 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1959) นักร้องผิวสีชาวอเมริกัน เจ้าของฉายา เลดี้เดย์ (Lady Day) เป็นนักร้องเพลงแจ๊ซ สวิงและบลูส์ที่มีน้ำเสียงและวิธีการร้องที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร ด้วยน้ำเสียงแหบหยาบ หม่นเศร้า ประกอบกับเพลงส่วนใหญ่ที่เธอเลือกร้อง มักมีเนื้อหาเกี่ยวกับความผิดหวัง เศร้าหมอง ขมขื่น สอดคล้องกับชีวิตจริงของเธอเอง.

ใหม่!!: Oggและบิลลี ฮอลิเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่นชุลมุน

ื่นชุลมุน เป็นภาพยนตร์ภาคที่สามในชุดวัยอลวน ที่กำกับโดย เปี๊ยก โปสเตอร์ หลังจากความสำเร็จของ วัยอลวน (2519) และ รักอุตลุด (2520) ภาพยนตร์ภาคนี้ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากกล่าวถึงชีวิตในวัยผู้ใหญ่กว่า 2 ภาคแรก แต่มีเพลงประกอบที่เป็นเพลงฮิต คือเพลง "ยับ" ขับร้องโดย ชัยรัตน์ เทียบเทียม แต่งเนื้อร้องโดย อุดม สัตโกวิท โดยใช้ทำนองเพลง Puff, the Magic Dragon เพลงดังของวง Peter, Paul and Mary.

ใหม่!!: Oggและชื่นชุลมุน · ดูเพิ่มเติม »

ชูเอา ชิลเบร์ตู

ูเอา ชิลเบร์ตู ปราดู เปเรย์รา จี โอลีเวย์รา (João Gilberto Prado Pereira de Oliveira; เกิด 10 มิถุนายน ค.ศ. 1931) หรือ ชูเอา ชิลเบร์ตู นักร้องและนักกีตาร์ชาวบราซิล เป็นหนึ่งในผู้ให้กำเนิดดนตรีแนวบอสซาโนวาร่วมกับอังโตนีอู การ์ลูช โชบิง และวีนีซีอุช จี โมไรช์ เมื่อปี..

ใหม่!!: Oggและชูเอา ชิลเบร์ตู · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ คณะ มนะ

"ชนะ คณะ มนะ" (জন গণ মন, Jôno Gôno Mono; แปลว่า "จิตใจแห่งปวงชน") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอินเดีย บทเพลงนี้เขียนขึ้นด้วยภาษาเบงกาลีสันสกฤตและประพันธ์ทำนองโดยรพินทรนาถ ฐากูร นักเขียนรางวัลโนเบลชาวเบงกาลี โดยบทที่นำมาใช้เป็นเพลงชาตินี้นำมาจากบทแรกของเพลงเดิมซึ่งเป็นเพลงสรรเสริญแบบพฺราหฺมะ (ব্রাহ্ম, Brahmo) ของแคว้นเบงกอล มีเนื้อหาทั้งหมด 5 บท เพลงดังกล่าวได้มีการขับร้องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในที่ประชุมคองเกรสแห่งชาติของอินเดีย (Indian National Congress) ที่เมืองกัลกัตตา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1911 ภายหลังเพลง "ชนะ คณะ มนะ" ได้รับการยอมรับให้ใช้เป็นเพลงชาติอินเดียอย่างเป็นทางการโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1950 Ganpuley's Memoirs.1983.

ใหม่!!: Oggและชนะ คณะ มนะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ชูแบร์ท

ฟรันซ์ ชูแบร์ท ฟรันซ์ เพเทอร์ ชูแบร์ท (Franz Peter Schubert) (31 มกราคม พ.ศ. 2340 — 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2371) คีตกวีชาวออสเตรี.

ใหม่!!: Oggและฟรันซ์ ชูแบร์ท · ดูเพิ่มเติม »

ฟรันซ์ ลิซท์

ฟรันซ์ ลิซท์ (Franz Liszt) หรือ แฟแร็นตส์ ลิสต์ (Liszt Ferenc) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวฮังกาเรียน เกิดที่เมืองไรดิง เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: Oggและฟรันซ์ ลิซท์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอซซี

ฟอซซี (Fozzy) เป็นวงดนตรีประเภท อัลเทอร์เนทีฟเมทัล ของ อเมริกา ที่เกิดขึ้นในซานอันโตนิโอ, เท็กซัสในปี 1999 นักร้องนำ คริส เจอริโค (ชื่อจริงคริส เออร์วิน), ผู้ซึ่งเป็นนักมวยปล้ำมืออาชีพอยู่ในฟลอริดา วงดนตรีประกอบด้วย คริส เจอริโค พร้อมกับสมาชิกของสตักโมโจ (Stuck Mojo) รวมทั้งริช เวิร์ด (Rich Ward), ชอน เดลเซิน (Sean Delson) และแฟรงก์ ฟอนต์เซียร์ (Frank Fontsere).

ใหม่!!: Oggและฟอซซี · ดูเพิ่มเติม »

พม่าประเทศ

ม่าประเทศ หรือ พม่าปเทศ เป็นเพลงบรรเลงที่ใช้เปิดนำเพื่อเทียบเวลาของประเทศไทยเมื่อเวลาก่อน 8:00 น. (ก่อนเคารพธงชาติเช้า) เวลาก่อน 18:00 น. (ก่อนเคารพธงชาติเย็น) และก่อน 20:00 น. (ก่อนข่าวในพระราชสำนัก) โดยสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (สำหรับการเทียบเวลาก่อน 8:00 น. และก่อน 20:00 น. จะใช้สัญญาณนาฬิกาดิจิทัลประกอบกับการกดนาฬิกาโบราณ ส่วนเวลาก่อน 18:00 น. จะใช้สัญญาณนาฬิกาดิจิทัลประกอบกับการตีฆ้อง 1 ครั้ง) ประพันธ์โดยหม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ ฉบับที่ได้ยินในปัจจุบันเป็นการเรียบเรียงเสียงประสานของพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) เพลงนี้เป็นเพลงไทยสำเนียงพม่าในอัตราสองชั้น ประพันธ์ขึ้นครั้งแรกเพื่อประกอบการแสดงละครพันทางเรื่องพระเจ้าสีป๊อมินทร์ พระนิพนธ์ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ในเวลาต่อมาได้มีการคัดสรรเพลงที่จะใช้เทียบเวลา ซึ่งเพลงนี้ได้รับเลือกเพราะทำนองจากเครื่องดนตรีมีเสียงติ๊กต่อก ๆ คล้ายเสียงนาฬิกา คำว่า "ประเทศ" ในชื่อเพลง แปลว่าต่างชาติ แผลงมาจากคำ "บรเทศ" ซึ่งเป็นคำสมาสระหว่าง บร (ต่าง) และ เทศ (ถิ่น) มิได้หมายถึง "ประเทศ" แต่อย่างใ.

ใหม่!!: Oggและพม่าประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามงคล

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๕ พระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและพระมหามงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาผู้ทรงธรรม

ลงพระราชาผู้ทรงธรรม เพลงพระราชาผู้ทรงธรรม เป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 86 พรรษา 5 ธันวาคม 2556 ซึ่งกระทรวงวัฒนธรรม และหน่วยงานที่สนับสนุนได้ภูมิใจรังสรรค์บทเพลงนี้ขึ้นมา เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และพระเมตตาที่พระองค์มีต่อพสกนิกรชาวไทยนั้นล้นพ้นยิ่ง ตลอดจนให้ชาวต่างชาติรับรู้ถึงพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผ่านบทเพลง อีกทั้งยังได้ผลิตเป็นซีดีเพลง จำนวน 2,000 ชุด เพื่อเผยแพร่ไปยังกระทรวงต่างๆ และสื่อมวลชน ตลอดจนแจกจ่ายตามสถาบันการศึกษา วัด และองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน โดยประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปดาวน์โหลดเพลงและมิวสิควีดิโอได้ทางเว็บไซต์กระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: Oggและพระราชาผู้ทรงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระคุณพระเจ้า

ระคุณพระเจ้า (Amazing Grace) เป็นเพลงสรรเสริญพระเจ้า ประพันธ์คำร้องโดย จอห์น นิวตัน นักบวชชาวอังกฤษ ในวันขึ้นปีใหม่ปี..

ใหม่!!: Oggและพระคุณพระเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส

ระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส (Louis XVI de France, หลุยส์แซซเดอฟร็องส์; 5 กันยายน ค.ศ. 1754 – 21 มกราคม ค.ศ. 1793) ทรงเป็นกษัตริย์แห่งฝรั่งเศสและนาวาร์ ในช่วงต้นของสมัยใหม่ พระบิดาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 คือ เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส ผู้เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวและทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในปี..

ใหม่!!: Oggและพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

พลังสามัคคี

ป็นเพลงปลุกใจ ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย สุรพล โทณะวณิก เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "ขุนศึก" ผลงานกำกับของสักกะ จารุจินดา จากบทประพันธ์ของไม้ เมืองเดิม นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี, นัยนา ชีวานันท์, ดวงใจ หทัยกาญจน์, มานพ อัศวเทพ ออกฉายในปี..

ใหม่!!: Oggและพลังสามัคคี · ดูเพิ่มเติม »

พังก์ร็อก

ังก์ร็อก เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่ง (โดยมากมักเรียกสั้นๆว่า พังก์) มีการเคลื่อนไหวและเป็นที่รู้จักในช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 พังก์ร็อกได้พัฒนาระหว่างปี 1974 และ 1977 ในสหรัฐอเมริกา,สหราชอาณาจักร และ ออสเตรเลีย โดยมีวงอย่าง เดอะราโมนส์, เซ็กซ์พิสทอลส์ และ เดอะแคลช ที่เป็นที่รู้จักในฐานะแนวหน้าของดนตรีประเภทนี้ ลักษณะดนตรีแบบ พังก์ร็อกมีลักษณะท่วงทำนองที่รุนแรง หยาบกระด้าง ด้วยความขาดทักษะของการเล่นดนตรี ส่วนการร้องก็จะเป็น "ตะโกน"หรือ "บ่น" และแฝงนัยยะของ "การต่อต้าน " และการยกย่อง "ความเป็นเลิศ" เครื่องดนตรีจะประกอบด้วย กีตาร์ไฟฟ้า 1 หรือ 2 ตัว,เบสไฟฟ้าและชุดกลอง มักมีการเล่นแบบ 2 คอร์ด เพลงพังก์มักมีความยาวระหว่าง 2 ถึง 2 นาทีครึ่ง มีบางเพลงมีความยาวน้อยกว่า 1 นาทีก็มี เพลงพังก์ในช่วงแรกรับอิทธิพลจากร็อกแอนด์โรลคือมีท่อนประสานเสียง พังก์ร็อกกลายเป็นกระแสนิยมหลักในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1970 แต่ความโด่งดังในที่อื่นมีในจำกัด จนกระทั่งทศวรรษที่ 80 พังก์ร็อกได้เป็นที่รู้จักในกลุ่มเล็กๆ ทั่วทุกมุมโลก ส่วนมากจะถูกปฏิเสธจากดนตรีกระแสหลัก ในช่วงปลายยุคทศวรรษที่ 1970 ดนตรีพังก์ร็อกได้แตกแยกแขนง ไปหลากหลายทิศทาง เช่นเพลงแนว นิวเวฟ, โพสต์พังก์ โดยหลายวงได้ทำการทดลองแนวดนตรีไปในทิศทางอื่น เช่นแนวฮาร์ดคอร์พังก์ และ ออย! และ อะนาร์โค-พังก์ เป็นต้น และพังก์ร็อกยุคใหม่ได้พัฒนาไปอีกขึ้น โดยเพลงแนวออลเทอร์นาทิฟร็อกได้รับความนิยมเหมือนตอนที่ได้พังก์ร็อกรับความนิยมในช่วงแรก.

ใหม่!!: Oggและพังก์ร็อก · ดูเพิ่มเติม »

พ่อแห่งแผ่นดิน

อแห่งแผ่นดิน เป็นชื่อของเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ขับร้องโดยศิลปินกว่า 81 คน.

ใหม่!!: Oggและพ่อแห่งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

กลูมมีซันเดย์

กลูมมีซันเดย์ (Gloomy Sunday) หรือ โซโมรูวอชาร์น็อป (Szomorú vasárnap) เป็นเพลงที่แต่งโดยแรเฌอ แชแร็ชช์ นักแต่งเพลงชาวฮังการี ในปี พ.ศ. 2476 (ค.ศ. 1933) มีข่าวลือหลายกระแสว่าเป็นเพลงที่ก่อให้เกิดกระแสการฆ่าตัวตายนับร้อยคน เพลง กลูมมีซันเดย์ ฉบับที่มีชื่อเสียงที่สุด ขับร้องโดยบิลลี ฮอลิเดย์ บันทึกเสียงในปี..

ใหม่!!: Oggและกลูมมีซันเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

กะบามะเจ

กะบามะเจ (ကမ္ဘာမကျေ, Kaba Ma Kyei) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศพม่า ชื่อเพลงมีความหมายตามตัวอักษรว่า "ตราบโลกแหลกสลาย" ในภาษาอังกฤษนิยมแปลชื่อเพลงนี้เป็น "Till the End of the World, Burma" หรือ "We Shall Never Give Up Our Motherland, Burma" เพลงนี้เป็นหนึ่งในเพลงชาติของประเทศนอกทวีปยุโรปไม่กี่เพลง ที่แต่งขึ้นจากทำนองเพลงพื้นเมืองของชาติตนเอง เนื่องจากในตอนต้นของเพลงนี้เป็นการเรียบเรียงดนตรีแบบดั้งเดิมของพม่า ก่อนที่จะเข้าสู่ดนตรีช่วงถัดมาซึ่งเรียบเรียงในลักษณะดนตรีออเคสตราของตะวันตก Chapter 13 State Flag, State Seal, National Anthem and the Capital.

ใหม่!!: Oggและกะบามะเจ · ดูเพิ่มเติม »

การสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

มเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 เวลา 02.54 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุมัติหมายกำหนดการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายพระศพระหว่างวันที่ 3 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2551 ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง หมายกำหนดการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงยกสัปตปฎลเศวตฉัตรเหนือยอดพระเมรุในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และหมายกำหนดการพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ ระหว่างวันที่ 14-19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งพระราชพิธีสองอย่างหลังจะมีขึ้น ณ พระเมรุ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง.

ใหม่!!: Oggและการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

การเรียกซ้ำ

การเรียกซ้ำ (recursion) หรือ การเวียนเกิด (recurrence) เป็นปรากฏการณ์ที่มีการกลับไปอ้างอิงถึงตนเอง (self-reference) หรือมีนิยามเช่นเดียวกันในลำดับต่ำลงไป ปรากฏการณ์นี้มีปรากฏในหลายด้านเช่น คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ศิลปะ ดนตรี การสร้างปฏิทรรศน์ เป็นต้น.

ใหม่!!: Oggและการเรียกซ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

กาแลคซี เน็กซัส

กาแลคซี เน็กซัส (Galaxy Nexus; รหัสเครื่อง GT-I9250; ชื่อรหัส Maguro) เป็นสมาร์ตโฟนจอสัมผัสในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ผลิตร่วมกันระหว่างกูเกิลกับซัมซุง เป็นรุ่นที่ 3 ในตระกูลกูเกิล เน็กซัส กาแลคซี เน็กซัสใช้จอแสดงผล Super AMOLED และปรับปรุงกล้องถ่ายภาพให้ดีขึ้น มาพร้อมแอนดรอยด์รุ่น 4.0 ไอศกรีม แซนด์วิช ในบราซิล กาแลคซี เน็กซัสจะรู้จักในชื่อ กาแลคซี เอ็กซ์ กาแลคซี เน็กซัสถูกเปิดตัวในวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 2011 ในฮ่องกง และวางจำหน่ายในยุโรปเมื่อ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011 กาแลคซี เน็กซัสเป็นหนึ่งในสมาร์ตโฟนที่แนะนำโดย Android Open Source Project (AOSP) สำหรับการพัฒนาแอปพลิเคชันจากแอนดรอยด์โดยตรง ในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 2012 กูเกิล เพลย์ ก็ได้ยุติการจำหน่ายกาแลคซี เน็กซัส หลังมีการเปิดตัวเน็กซัส 4.

ใหม่!!: Oggและกาแลคซี เน็กซัส · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ โฮลส์

องโฮลส์ ถ่ายโดย Herbert Lambert กุสตาฟ โฮลส์ (21 กันยายน ค.ศ. 187425 พฤษภาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ โดยโอสต์โด่งดังจากเพลงตับ เดอะ พลาเนตส์ โอสต์เรียนใน Royal College of Music ในกรุงลอนดอน โดยเขาได้แรงจูงใจจาก Grieg, Wagner Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams ชื่อเต็มของโฮลส์คือ Gustavus Theodor von Holst แต่เขาได้ตัด "von" จากชื่อของเขาเพื่อตอบสนองการต่อต้านเยอรมันในอังกฤษระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และทำให้เป็นทางการในพินัยกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1918.

ใหม่!!: Oggและกุสตาฟ โฮลส์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45

กีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 (45th Thailand National Games), หรือ กีฬาแห่งชาติ 2560 (2017 Thailand National Games) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สงขลาเกมส์ เป็นมหกรรมกีฬาระดับชาติสำหรับประชาชนทั่วไป ควบคุมโดยการกีฬาแห่งประเทศไทย ซึ่งจัด ณ จังหวัดสงขลา จัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 ถึง 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 45 · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเบล็สอาวร์โฮมแลนด์กานา

วิดิทัศน์คำประกาศอิสรภาพของกานาในพิธีประกาศเอกราช จาก Universal Newsreel ก็อดเบล็สอาวร์โฮมแลนด์กานา (– พระเจ้าประทานพรแก่มาตุภูมิของเรา, กานา) เป็นเพลงชาติของกาน.

ใหม่!!: Oggและก็อดเบล็สอาวร์โฮมแลนด์กานา · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเซฟเดอะควีน

ลงก็อดเซฟเดอะควีน หรือ ก็อดเซฟเดอะคิง เป็นเพลงปลุกใจ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร เพลงนี้ใช้เป็นหนึ่งในสองเพลงชาติของนิวซีแลนด์ เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ทั้งยังใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์อังกฤษด้วย หากประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะคิง แต่ถ้าพระราชินีทรงเป็นประมุขก็จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะควีน ในภาษาไทยไม่นิยมแปลชื่อเพลงนี้ออกมาโดยตรง แต่มักเรียกทับศัพท์ว่า ก็อดเซฟเดอะคิง หรือ ก็อดเซฟเดอะควีน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีอังกฤษ ตามลักษณะของเพลง.

ใหม่!!: Oggและก็อดเซฟเดอะควีน · ดูเพิ่มเติม »

ฝัน (เพลงพระราชนิพนธ์)

ฝัน หรือ เพลินภูพิงค์ หรือ Somewhere Somehow เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๘ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและฝัน (เพลงพระราชนิพนธ์) · ดูเพิ่มเติม »

ภิรมย์รัก

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ นิพนธ์คำร้องภาษาอังกฤษ "A Love Story" และพลเรือตรี ปรีชา ดิษยนันทน์ ประพันธ์คำร้อง ภาษาไทย "ภิรมย์รัก" เพลงพระราชนิพนธ์ A Love Story เป็นส่วนหนึ่งของเพลงพระราชนิพนธ์ชุด กินรี หรือ Kinari Suite ที่ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและภิรมย์รัก · ดูเพิ่มเติม »

ภูพานปฏิวัติ

ูพานปฏิวัติ เป็นเพลงที่จิตร ภูมิศักดิ์แต่งขึ้นขณะร่วมอยู่กับกองทัพปลดแอกประชาชนแห่งประเทศไทยอยู่ทางภาคอีสาน แถบเทือกเขาภูพาน ในเขตจังหวัดสกลนคร ติดต่อกับชายแดนลาว โดยใช้ชื่อจัดตั้งขณะนั้นว่า "สหายปรีชา" จิตร ภูมิศักดิ์แต่งคำร้องและทำนองเพลงนี้เสร็จสมบูรณ์ระหว่างเดินเท้ากลับจากงานลำเลียง บนยอดเขาแห่งหนึ่งชื่อ ภูผาลม (อยู่ในเขตดงพระเจ้า อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร) เมื่อ พ.ศ. 2508 ต่อมาเพลงนี้กลายเป็นเพลงสำคัญเพลงหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: Oggและภูพานปฏิวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา

ลงภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา เป็นเพลงเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ พ.ศ. 2542 ขับร้องโดยศิลปินจำนวน 72 คน.

ใหม่!!: Oggและภูมิแผ่นดิน นวมินทร์มหาราชา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, สถาปัตยกรรมศาสตร์ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตามลำดับ ปัจจุบันเปิดสอนใน 8 คณะ, 1 สถาบัน, 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัยร่วม โดยมีทั้งหลักสูตรปกติ และนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี, โท และเอก ซึ่งมี 3 วิทยาเขต และ 1 อาคาร คือ วิทยาเขตบางมด, วิทยาเขตบางขุนเทียน, วิทยาเขตราชบุรี และอาคารเคเอ็กซ์ คลองสาน.

ใหม่!!: Oggและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาจุฬาลงกรณ์

มหาจุฬาลงกรณ์ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 11 ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชชมรมนักร้องประสานเสียง สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: Oggและมหาจุฬาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชกองทัพบก

มาร์ชกองทัพบก เป็นเพลงมาร์ชประจำกองทัพบกไทย ประพันธ์ขึ้นในช่วงก่อน พ.ศ. 2500 ทำนอง เรียบเรียงเสียงประสาน โดย นารถ ถาวรบุตร คำร้อง โดย แก้ว อัจฉริยะกุล เพลงนี้ใช้บรรเลงในงานพิธีการเกี่ยวกองทัพบก เช่น การสวนสนาม และเป็นเพลงบรรเลงบอกสัญญาณการเปิดสถานีโทรทัศน์ในสังกัดกองทัพบก ได้แก่ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 (เวลา 04.50 น.) และสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (เวลา 05.00 น.).

ใหม่!!: Oggและมาร์ชกองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชราชวัลลภ

ทหารมหาดเล็ก "ราชวัลลภ" รักษาพระองค์ กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ หรือ Royal Guards March เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๗ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใน..

ใหม่!!: Oggและมาร์ชราชวัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชราชนาวิกโยธิน

หรือ Royal Marines March เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๙ ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและมาร์ชราชนาวิกโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชอัสสัมชัญธนบุรี

ลงมาร์ชอัสสัมชัญธนบุรี แม้ว่าจะมีเพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงหลักของบรรดาสถาบันที่มีนามว่า “อัสสัมชัญ” แล้วหากแต่ความรู้สึกของครูและนักเรียน ที่เห็นควรถึงการมีเอกลักษณ์ “อัสสัมชัญธนบุรี” นำพาให้เกิดเพลงมาร์ชอัสสัมชัญธนบุรีขึ้น ในปี พ.ศ. 2523 นายวรชัย ศรีเดชา ครูวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จึงได้แต่งคำร้องขึ้น ทางด้านทำนองนั้น นายไพบูลย์ กิจสวัสดิ์ ครูวิชาดนตรีสากล เป็นผู้แต่ง โดยมี นายทวี ปัญญา ได้ช่วยปรับปรุงทำนอง และนายจักษ์(มังกร) จินดาวัฒน์ เป็นผู้แต่งท่อนนำและเรียบเรียงเสียงประสาน ราวปลายปี พ.ศ. 2528 จนเป็นทำนองที่ได้ยินในปัจจุบัน เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: Oggและมาร์ชอัสสัมชัญธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชธงไชยเฉลิมพล

ธงไชยเฉลิมพล หรือ The Colours March เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๗ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและมาร์ชธงไชยเฉลิมพล · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชทหารอาสา

ลงชาติแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนมีชื่อว่า มาร์ชทหารอาสา (อ่านว่า "อี่หย่งจินจิ้นสิงชวี"; March of the Volunteers) เดิมเป็นบทเพลงปลุกใจซึ่งประพันธ์เนื้อร้องโดยเถียน ฮั่น ทำนองโดยเนี้ย เอ่อร์ เมื่อ พ.ศ. 2479 แต่ครั้งสมัยที่จีนแผ่นดินยังปกครองโดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ภายใต้พรรคก๊กมินตั๋ง ขณะนั้นการเมืองภายในจีนกำลังปั่นป่วนอย่างหนัก จากการแบ่งเป็นก๊กเป็นเหล่าต่างๆ และเผชิญหน้ากับการรุกรานของจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนสามารถปฏิวัติและสถาปนารัฐจีนใหม่สำเร็จใน พ.ศ. 2492 รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ใช้เพลงมาร์ชทหารอาสาเป็นเพลงชาติตลอดมา แม้ว่าในสมัยหนึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อร้องเพลงนี้ก็ตาม แต่เนื้อร้องเดิมก็ยังคงได้รับความนิยมมากกว่า ภายหลังรัฐบาลจีนจึงนำเนื้อร้องเดิมที่เถึยนฮั่นประพันธ์ไว้ใช้เป็นเนื้อร้องเพลงชาติจีนอย่างเป็นทางการอีกครั้งหนึ่งตราบจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: Oggและมาร์ชทหารอาสา · ดูเพิ่มเติม »

มืย เบลารูซืย

มืย เบลารูซืย (Мы, беларусы; Мы, белорусы, "เรา, ชาวเบลารุส") เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของเพลงชาติเบลารุส และและเป็นวรรคแรกที่ปรากฏอยู่ในเพลงนี้ ชื่ออย่างเป็นทางการคือ เพลงชาติสาธารณรัฐเบลารุส (Дзяржаўны гімн Рэспублікі Беларусь; Государственный гимн Республики Беларусь) เดิมเพลงนี้ประพันธ์ขึ้นและเริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ในฐานะเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตไบโลรัสเซีย ทำนองโดยเนียสต์เซียร์ ซาคาโลว์สกี (Niescier Sakałoŭski) เนื้อร้องโดยมีคัส คลิมโควิช (Mikhas Klimkovich) หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทำนองของเพลงเดิมที่ซาคาโลว์สกีแต่งไว้นั้นยังคงใช้อยู่ แต่เนื้อร้องเดิมถูกยกเลิกไป และมีการใช้เนื้อร้องใหม่ ซึ่งประพันธ์โดยมีคัส คลิมโควิช และอูลัดซีมีร์ คารึซนืย (Uladzimir Karyzny) ตามคำสั่งของประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเบลารุส ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งเนื้อร้องดังกล่าวนี้ มีเนื้อหาถึงความเป็นมิตรของชาวเบลารุส การยกย่องถึงการสู้รบเพื่อชาติในอดีต และความมุ่งหวังต่ออนาคตในวันหน้า ส่วนทำนองนั้นยังคงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์ของเบลารุสไว้.

ใหม่!!: Oggและมืย เบลารูซืย · ดูเพิ่มเติม »

มีศักดิ์ นาครัตน์

มีศักดิ์ นาครัตน์ (20 เมษายน พ.ศ. 2481 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักร้อง นักแสดง และนักแต่งเพลงแปลงที่มีผลงานเด่น ในช่วงทศวรรษ..

ใหม่!!: Oggและมีศักดิ์ นาครัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

มีไซอาห์ (แฮนเดิล)

มีไซอาห์ (Messiah, HWV 56) เป็นผลงานออราทอริโอสำหรับการขับร้องประสานเสียงโดยจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล เป็นหนึ่งในบทร้องประสานเสียงภาษาอังกฤษที่มีได้รับความนิยมที่สุด โดยนำคำร้องมาจากคัมภีร์ไบเบิลฉบับนิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์ 2 ฉบับ ที่ชำระขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ฉบับ ค.ศ. 1611) และสมัยสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ (ฉบับ ค.ศ. 1538) แฮนเดิลแต่งบทประพันธ์นี้ที่ลอนดอนในช่วงฤดูร้อน..

ใหม่!!: Oggและมีไซอาห์ (แฮนเดิล) · ดูเพิ่มเติม »

ม่านไทรย้อย

250px เพลงม่านไทรย้อย เป็นเพลงที่ดัดแปลงทำนองมาจากไวโอลินคอนแชร์โต ในบันไดเสียง ดี เมเจอร์ ของปีเตอร์ ไชคอฟสกี้ โดยสุทิน เทศารักษ์นำทำนองหลักมาจากมูฟเมนต์ที่ 1 Allegro moderato (D major) ประพันธ์คำร้องภาษาไทยโดยไสล ไกรเลิศ ต้นฉบับขับร้องโดยเพ็ญศรี พุ่มชูศรี เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและม่านไทรย้อย · ดูเพิ่มเติม »

ยามค่ำ

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 15 ทรงพระราชนิพธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและยามค่ำ · ดูเพิ่มเติม »

ยามเย็น

หรือ เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒ ทรงพระราชนิพนธ์ ใน..

ใหม่!!: Oggและยามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

ยานนี

นนี (Yanni) หรือ ยานนิส คริโซมัลลิส (กรีก:Γιάννης Χρυσομάλλης) ปัจจุบันมีชื่อตามกฎหมายในสหรัฐอเมริกาว่า จอห์น ยานนี คริสโตเฟอร์ (John Yanni Christopher) เกิดเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497 เป็นคีตกวี นักเปียโน และนักคีย์บอร์ด ชาวกรีก เกิดที่เมืองกาลามาตา ประเทศกรีซLinda Kohanov, allmusic.com ยานนีมักถูกจัดเป็นนักดนตรีในแนวดนตรีนิวเอจ เคยเปิดการแสดงคอนเสิร์ตที่โบราณสถาน ในกรุงเอเธนส์ เมื่อปีพ.ศ. 2536 ซึ่งเป็นที่มาของอัลบั้มและวีดิทัศน์ Yanni Live At The Acropolis ต่อมาภายหลังเป็นมิวสิกวิดีโอที่ขายที่ดีสุดอันดับสองตลอดกาล นอกจากนี้ ยานนียังเป็นหนึ่งในนักดนตรีชาวตะวันตกเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับอนุญาตให้แสดงที่ทัชมาฮาลในประเทศอินเดีย และพระราชวังต้องห้ามในประเทศจีนอีกด้ว.

ใหม่!!: Oggและยานนี · ดูเพิ่มเติม »

ยานนีไลฟ์แอตดิอะโครโพลิส

นนีไลฟ์แอตดิอะโครโพลิส (Yanni Live At The Acropolis) เป็นชื่ออัลบั้มและชื่อชุดการแสดงสดของยานนี ในแนวดนตรีนิวเอจ ซึ่งเป็นการแสดงสดครั้งแรกของยานนีในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ณ โรงละครเอรอเดส อัตติกอส กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ยานนีไลฟ์แอตดิอะโครโพลิส เป็นอัลบั้มเพลงในรูปแบบแพคเก็ตอัลบั้ม ออกวางจำหน่ายในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2537 ความยาว 60:57 นาที โดย ไปรเวตมิวสิก สำหรับวีดิทัศน์บันทึกการแสดงสด ต่อมาภายหลังการแสดงครั้งนี้ ได้นำไปออกอากาศในสหรัฐอเมริกาผ่านเครือข่ายพีบีเอส และเป็นการแสดงสดของยานนีที่ได้รับความนิยมอย่างสูง บันทึกการแสดงชุด ยานนีไลฟ์แอตดิอะโครโพลิส จัดเป็นมิวสิกวิดีโอที่ขายดีเป็นอันดับที่สองตลอดกาล ออกวางจำหน่ายในปี..

ใหม่!!: Oggและยานนีไลฟ์แอตดิอะโครโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

ยิ้มสู้

หรือ Smiles เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ลำดับที่ 16 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและยิ้มสู้ · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรป (วงดนตรี)

รป (Europe) เป็นกลุ่มดนตรีจากสต็อกโฮล์ม สวีเดน เล่นดนตรีแนวฮาร์ดร็อก และแกลมเมทัล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: Oggและยุโรป (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ยูบีลองวิทมี

"ยูบีลองวิทมี" (You Belong with Me) เป็นเพลงแนวคันทรีป็อปของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ เพลงเขียนโดยสวิฟต์ และลิซ โรส และผลิตโดยนาธาน แชปแมน เพลงออกจำหน่ายวันที่ 18 เมษายน..

ใหม่!!: Oggและยูบีลองวิทมี · ดูเพิ่มเติม »

รัก (เพลงพระราชนิพนธ์)

ลงพระราชนิพนธ์ รัก เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๗ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: Oggและรัก (เพลงพระราชนิพนธ์) · ดูเพิ่มเติม »

รักอุตลุด

รักอุตลุด เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: Oggและรักอุตลุด · ดูเพิ่มเติม »

รักคืนเรือน

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๔ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและรักคืนเรือน · ดูเพิ่มเติม »

ราชันแห่งแผ่นดิน

ราชันแห่งแผ่นดิน เป็นชื่อของเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดย ม.ร.ว.จิราคม กิติยากร และศิลปิน นักร้อง นักแสดง 35 คน.

ใหม่!!: Oggและราชันแห่งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

ราโมนส์

อะราโมนส์ (The Ramones) เป็นวงพังก์ร็อก ก่อตั้งขึ้นในฟอเรสต์ฮิลล์ นครนิวยอร์ก ราโมนส์มักได้รับคำกล่าวอ้างว่าเป็นวงพังก์วงแรก จากการออกสตูดิโออัลบั้ม ในชื่อเดียวกับวง ราโมนส์ ในปี..

ใหม่!!: Oggและราโมนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ราเด็ตสกีมาร์ช

ราเด็ตสกีมาร์ช โอปุสที่ 228 (Radetzky March, Op.) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดยโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่หนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: Oggและราเด็ตสกีมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด วากเนอร์

ริชาร์ด วากเนอร์ (Richard Wagner; เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1813 เสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1883) เป็นหนึ่งในคีตกวีเอกชาวเยอรมัน ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 และยังเป็นนักทฤษฎีดนตรีที่เก่งกาจ ส่วนใหญ่แล้วผลงานของวากเนอร์เป็นที่รู้จักจากอุปรากรที่เขาแต่ง ซึ่งมักจะเป็นเรื่องราวโศกนาฏกรรมประกอบดนตรี อิทธิพลของวากเนอร์ในดนตรีตะวันตกนั้นมากมายมหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุปรากรที่เขาปฏิวัติรูปแบบโดยสิ้นเชิง Richard Wagner.

ใหม่!!: Oggและริชาร์ด วากเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูปที่มีทุกบ้าน

ลง รูปที่มีทุกบ้าน เป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ประพันธ์คำร้องโดย นิติพงษ์ ห่อนาค ทำนองโดย อภิไชย เย็นพูนสุข เรียบเรียงเสียงประสานโดย วีรภัทร์ อึ้งอัมพร และขับร้องโดย ธงไชย แมคอินไตย์ นิติพงษ์ ห่อนาค ได้เผยแพร่นี้ทางอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2550 และอนุญาตให้เผยแพร่ต่อได้ โดยไม่สงวนลิขสิทธิ์ ซึ่งมีกิจกรรมที่ก่อเกิดเป็นรูปธรรมให้คนไทยได้มีส่วนร่วม โดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ร่วมมือกับบริษัทจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ร่วมกันจัดขึ้น ที่มีทั้งภาพยนตร์โฆษณาทางทีวี บทเพลง และเว็บไซต.

ใหม่!!: Oggและรูปที่มีทุกบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบการบันทึกเสียง

นี่คือพัฒนาการของรูปแบบการบันทึกเสียงที่ใช้ในการบันทึกเสียงดนตรี และข้อมูลเสียงประเภทอื่น ๆ ทั้งในรูปแบบที่เป็นอุปกรณ์ และในรูปแบบของประเภทไฟล์/การเข้ารหัส เรียงตามลำดับเวลา (ปี ค.ศ.).

ใหม่!!: Oggและรูปแบบการบันทึกเสียง · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ใหม่!!: Oggและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ลมหนาว (เพลง)

หรือ Love in Spring เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 19 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและลมหนาว (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ลักกีสไตรก์ (เพลง)

"ลักกีสไตรก์" (Lucky Strike) เป็นเพลงของวงดนตรีอเมริกัน มารูนไฟฟ์ จากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สี่ โอเวอร์เอกซ์โพสด์ (2012) เพลงเขียนโดยแอดัม เลอวีน ร่วมกับไรอัน เท็ดเดอร์ และโนล ซานคาเนลลา ซึ่งทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ให้ด้วย "ลักกีสไตรก์" เป็นเพลงแนวฟังก์ที่รวมกับดั๊บสเตป และโซลร็อก ในด้านเนื้อร้อง บอกเล่าประเด็นเกี่ยวกับการร่วมเพศ เพลงได้รับคำวิจารณ์ด้านบวกจากนักวิจารณ์ซึ่งพบว่าเพลงติดหู และเรียกว่าเป็นหนึ่งในเพลงที่ดีที่สุดในอัลบั้ม โอเวอร์เอกซ์โพสด์ หลังจากออกจำหน่ายอัลบั้ม เนื่องจากยอดดาวน์โหลดที่สูง ทำให้เพลงขึ้นถึงอันดับที่สองในชาร์ตซิงเกิลของเกาหลีใต้ และอันดับเก้าบนชาร์ตบับบลิงอันเดอร์ฮอต 100 "ลักกีสไตรก์" ถูกบรรจุในรายชื่อเพลงสำหรับเล่นคอนเสิร์ต (set list) ในทัวร์คอนเสิร์ตทั่วโลกครั้งที่สี่ โอเวอร์เอกซ์โพสด์ทัวร์ (2012-13).

ใหม่!!: Oggและลักกีสไตรก์ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ลันด์เดอร์แบร์เกอ ลันด์อัมชโตรเมอ

ลงชาติของประเทศออสเตรียมีชื่อว่า ลันด์เดอร์แบร์เกอ ลันด์อัมชโตรเมอ (– แดนแห่งขุนเขา แดนริมฝั่งแม่น้ำ) ทำนองของเพลงนี้คือเพลง KV 623 "Freimaurerkantate" ผลงานชิ้นสุดท้ายที่สมบูรณ์ที่สุดของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท คีตกวีชื่อดังของออสเตรีย ซึ่งได้ประพันธ์ไว้เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2334 ก่อนที่เขาจะเสียชีวิตเพียง 19 วัน ต่อมาส่วนหนึ่งของบทเพลงนี้ได้ปรากฏอยู่ในผลงานชื่อ "Chain Song" ของโยฮันน์ โฮลเซอร์ (Johann Holzer) ซึ่งต่อมาทำนองเพลงนี้เองก็ได้นำมาใช้ทำนองของเพลงชาติออสเตรีย สำหรับเนื้อร้องนั้นเป็นผลงานของนักประพันธ์ชาวออสเตรียชื่อ พอลลา ฟอน เปรราโดวิช (Paula von Preradovic) เพลงนี้ได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติออสเตรียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: Oggและลันด์เดอร์แบร์เกอ ลันด์อัมชโตรเมอ · ดูเพิ่มเติม »

ลา กัมปาเนลลา

ลา กัมปาเนลลา (La campanella แปลว่า ระฆังใบเล็ก, The Little Bell) เป็นชื่อที่ใช้เรียกงานประพันธ์สำหรับบรรเลงเดี่ยวเปียโน ผลงานของฟรานซ์ ลิซท์ในปี..

ใหม่!!: Oggและลา กัมปาเนลลา · ดูเพิ่มเติม »

ลาพร็องตีซอร์ซีเย

ประกอบหนังสือของเกอเทอ ในปี 1882 ผลงานของ Ferdinand Barth (1842–1892) ลาพร็องตีซอร์ซีเย (L'apprenti sorcier; มีชื่อเต็มว่า The Sorcerer's Apprentice, Scherzo after a ballad by Goethe) เป็นซิมโฟนิกโพเอ็ม ผลงานประพันธ์ของปอล ดูว์กัสในปี..

ใหม่!!: Oggและลาพร็องตีซอร์ซีเย · ดูเพิ่มเติม »

ลากอม

ลากอม (lagom, อ่านว่า ลา-กอม) เป็นคำภาษาสวีเดน มีความหมายว่า "ไม่มากหรือไม่น้อยไป" "ไม่เยอะเกิน" ใช้สื่อถึงปริมาณที่ "พอดี"", saob.se.

ใหม่!!: Oggและลากอม · ดูเพิ่มเติม »

ลามาร์แซแยซ

''La Marseillaise'' (1907). ลามาร์แซแยซ (La Marseillaise, "เพลงแห่งเมืองมาร์แซย์") เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ประพันธ์คำร้องและทำนองโดย โกลด โฌแซ็ฟ รูเฌ เดอ ลีล เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2335 ที่เมืองสทราซบูร์ในแคว้นอาลซัส เดิมเพลงนี้มีชื่อว่า "Chant de guerre de l'Armée du Rhin" (แปลว่า "เพลงมาร์ชกองทัพลุ่มน้ำไรน์") เดอลีลได้อุทิศเพลงนี้ให้แก่นายทหารชาวแคว้นบาวาเรีย (อยู่ในประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน) ซึ่งเกิดในประเทศฝรั่งเศสผู้หนึ่ง คือจอมพลนีกอลา ลุคเนอร์ (Nicolas Luckner) เมื่อกองทหารจากเมืองมาร์แซย์ได้ขับร้องเพลงนี้ขณะเดินแถวทหารเข้ามายังกรุงปารีส ทำให้เพลงนี้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป และกลายเป็นเพลงปลุกใจในการร่วมปฏิวัติฝรั่งเศส ทั้งยังเป็นที่มาของชื่อเพลงลามาร์แซแยซดังปรากฏอยู่ในปัจจุบันด้วย สมัชชาแห่งชาติฝรั่งเศสได้ออกประกาศรับรองให้เพลงลามาร์แซแยซเป็นเพลงชาติฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2338 ต่อมาเพลงนี้ได้ถูกงดใช้ในช่วงรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1แห่งจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 และ พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 และมีการนำเพลงอื่นมาใช้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสแทนในระยะเวลาดังกล่าวแทน โดยรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ใช้เพลงชาติที่ชื่อว่า เวยองอูซาลูทเดอล็องปีร์ "Veillons au salut de l'Empiret"และ โดยรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 18 ใช้เพลงชาติที่ชื่อว่า เลอเรอทูร์เดส์แพร็งส์ฟร็องเซส์อาปารีส์ "Le Retour des Princes Frančais à Samid" หลังการปฏิวัติในปี พ.ศ. 2373 เพลงนี้ก็ได้กลับมาใช้เป็นเพลงชาติในระยะสั้น ๆ แต่ก็งดใช้อีกครั้งในสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ตราบจนกระทั่งฝรั่งเศสเข้าสู่สมัยสาธารณรัฐที่ 3 เพลงนี้จึงได้รับการรับรองให้เป็นเพลงชาติอย่างถาวรเมื่อ พ.ศ. 2422.

ใหม่!!: Oggและลามาร์แซแยซ · ดูเพิ่มเติม »

ลาดอนนาแอโมบีเล

ลาดอนนาแอโมบีเล (La donna è mobile; Woman is fickle, อิสตรีนี้ช่างแปรปรวน) เป็นอาเรียจากองก์ที่หนึ่ง ของอุปรากรเรื่อง รีโกเลตโต (Rigoletto) ผลงานในปี..

ใหม่!!: Oggและลาดอนนาแอโมบีเล · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven,; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบโทเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน ซิมโฟนีของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และ หมายเลข 5) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น.

ใหม่!!: Oggและลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน · ดูเพิ่มเติม »

วัยอลวน

วัยอลวน เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: Oggและวัยอลวน · ดูเพิ่มเติม »

วันออฟดีสไนตส์

"วันออฟดีสไนตส์" (7월 7일; One of These Nights) เป็นเพลงของวงเกิร์ลกรุปเกาหลีใต้ เรดเวลเวต เขียนโดย ซอ จี-อึม, ฮวัง ชัน-ฮี, แอนเดรียส โอเบิร์ก และมาเรีย มาร์คัส ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: Oggและวันออฟดีสไนตส์ · ดูเพิ่มเติม »

วันเลิฟ (เพลงอะระชิ)

"One Love" เป็นซิงเกิลที่ 22 ของของวงบอยแบนด์ อาราชิ ซิงเกิลวางจำหน่ายทั้งหมดสองรูปแบบ: แบบปกติบรรจุเพลงทั้งหมดของซิงเกิลไว้ รวมทั้งเวอร์ชันคาราโอเกะ, แบบ limited editions ได้บรรจุเพลงหลักพร้อมกับดีวีดีที่บรรจุมิวสิกวีดีโอ โดยเป็นครั้งแรกในผลงานของอาราชิที่ได้มีการรีมิกซ์เพลงประกอบซีรีส์ Hana Yori Dango เข้าไว้ด้วยกัน และถูกบรรจุอยู่ในเวอร์ชัน limited ภายหลังซิงเกิลนี้ได้มีการจัดจำหน่ายอีกรอบหลังจากที่ภาพยนตร์เรื่อง Hana Yori Dango Final ประสพความสำเส็จ โดยในการจำหน่ายครั้งใหม่นี้ได้เพิ่มบทพูดความยาว 2 นาที ของ โดเมียวจิ สึคาสะ พระเอกของซีรีส์ Hana Yori Dango ซึ่งแสดงโดย มัตซึโมโตะ จุน สมาชิกของอาร.

ใหม่!!: Oggและวันเลิฟ (เพลงอะระชิ) · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เทลล์ (อุปรากร)

วิลเลียม เทล (Guillaume Tell; Guglielmo Tell; William Tell) เป็นอุปรากรความยาว 4 องก์ ที่แต่งโดยโจอากีโน รอสซีนี (1792 – 1868) คีตกวีชาวอิตาลี ดัดแปลงจากบทละครในปี..

ใหม่!!: Oggและวิลเลียม เทลล์ (อุปรากร) · ดูเพิ่มเติม »

วิสเซิล (เพลงแบล็กพิงก์)

"วิสเซิล" (휘파람; Whistle) เป็นเพลงของวงเกิร์ลกรุปเกาหลีใต้ แบล็กพิงก์ เขียนโดย เท็ดดี พัก, เบกกา บูม และบี.ไอ จากวงไอคอน และผลิตโดยฟิวเจอร์ เบานซ์ เป็นซิงเกิลเปิดตัวจากซิงเกิลอัลบั้ม สแควร์วัน ร่วมกับเพลง "บูมบายาห์" โดยได้บันทึกเสียงทั้งในภาษาเกาหลีและญี่ปุ่น รูปแบบเกาหลีออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ใหม่!!: Oggและวิสเซิล (เพลงแบล็กพิงก์) · ดูเพิ่มเติม »

วิโอลา

วิโอลา เป็นเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องสายที่มีรูปร่างคล้ายไวโอลิน แต่มีขนาดที่ใหญ่กว่า นิยมเล่นใน วงออร์เคสตรา และ วงเครื่องสาย ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นหนึ่งในเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลิน อันประกอบไปด้วยไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส โดยวิโอลามีระดับเสียงต่ำกว่า ไวโอลิน แต่สูงว่าเชลโลและดับเบิล.

ใหม่!!: Oggและวิโอลา · ดูเพิ่มเติม »

วีอาร์เนเวอร์เอเวอร์เกตติงแบ็กทูเกเตอร์

"วีอาร์เนเวอร์เอเวอร์เกตติงแบ็กทูเกเตอร์" (We Are Never Ever Getting Back Together) เป็นเพลงของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ จากสตูดิโออัลบั้มที่สี่ เรด (ค.ศ. 2012) เพลงเขียนและโปรดิวซ์โดยแมกซ์ มาร์ติน และ เชลล์แบ็ก สวิฟต์มีส่วนเขียนเพลงนี้ด้วย เพลงปล่อยเป็นซิงเกิลเปิดตัวของอัลบั้มเรดในวันที่ 13 สิงหาคม..

ใหม่!!: Oggและวีอาร์เนเวอร์เอเวอร์เกตติงแบ็กทูเกเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศุกร์สัญลักษณ์

ลงพระราชนิพนธ์ ศุกร์สัญลักษณ์ หรือ เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๐ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและศุกร์สัญลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศีลธรรมทั้งห้า

ลง ศีลธรรมทั้งห้า หรือ เป็นเพลงที่ขับร้องโดยเพ็ญศรี พุ่มชูศรีขณะยังเป็นเด็กหญิงอยู่ เป็นเพลงแรกของเพ็ญศรี พุ่มชูศรีที่มีการบันทึกแผ่นเสียง คำร้อง-ทำนอง: ศิวะ วรนาฏ.

ใหม่!!: Oggและศีลธรรมทั้งห้า · ดูเพิ่มเติม »

สก็อต จอปลิน

ก็อต จอปลิน สก็อต จอปลิน (Scott Joplin) (พ.ศ. 2410 — 1 เมษายน พ.ศ. 2460) เป็นนักดนตรีและคีตกวีเพลงแร็กไทม์ ที่มีชื่อเสียงอย่างมาก และได้สร้างมาตรฐานไว้ให้สำหรับคนรุ่นหลัง.

ใหม่!!: Oggและสก็อต จอปลิน · ดูเพิ่มเติม »

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ผ.สมเกียรติ อ่อนวิมล เป็นประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำวิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก, ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท แปซิฟิก อินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น จำกัด อดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2543 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตนักสร้างสรรค์รายการข่าวและผู้ประกาศข่าวของหลายสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: Oggและสมเกียรติ อ่อนวิมล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: Oggและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: Oggและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สยามานุสสติ

ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สยามานุสสติ เป็นคำโคลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2461 และได้พระราชทานแก่ทหารอาสาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ต่อมาได้มีการนำโคลงนี้มาแต่งเป็นเพลงปลุกใจ ซึ่งประพันธ์ทำนองโดยนารถ ถาวรบุตร พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์โคลงสยามานุสสติมาจาก คำขวัญปลุกใจของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งที่ว่า "What stands if Freedom fall? Who dies if England live?".

ใหม่!!: Oggและสยามานุสสติ · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญพระบารมี

ป็นบทเพลงซึ่งบรรเลงเพื่อสรรเสริญพระบารมีแห่งพระมหากษัตริย์ไทย เคยใช้เป็นเพลงชาติของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2431 - 2475 นับเป็นเพลงชาติไทยฉบับที่ 3 ทำนองทางไทยโดยพระประดิษฐไพเราะ (มี ดุริยางกูร) เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและสรรเสริญพระบารมี · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์พาราลิมปิก

ัญลักษณ์พาราลิมปิก จะมีไอคอน, ธง, และอื่นๆ ที่ใช้ในคณะกรรมการพาราลิมปิกนานาชาติ สำหรับการส่งเสริมกีฬาพาราลิมปิก.

ใหม่!!: Oggและสัญลักษณ์พาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สายฝน (เพลงพระราชนิพนธ์)

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 3 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและสายฝน (เพลงพระราชนิพนธ์) · ดูเพิ่มเติม »

สายลม

ลงพระราชนิพนธ์ สายลม หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๕ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและสายลม · ดูเพิ่มเติม »

สิ้นรักสิ้นสุข

right สิ้นรักสิ้นสุข เป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ซึ่งประพันธ์ทำนองโดย หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ประพันธ์คำร้องโดย แก้ว อัจฉริยะกุล เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและสิ้นรักสิ้นสุข · ดูเพิ่มเติม »

สี่คิงส์

ี่คิงส์ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: Oggและสี่คิงส์ · ดูเพิ่มเติม »

สดุดีมหาราชา

ป็นเพลงที่เกิดจากการประพันธ์ทำนองและคำร้องร่วมกันโดย ชาลี อินทรวิจิตร, สมาน กาญจนะผลิน และสุรัฐ พุกกะเวส เพื่อประกอบภาพยนตร์เรื่อง "ลมหนาว" ของ ชรินทร์ นันทนาคร นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา, เพชรา เชาวราษฎร์ และอรัญญา นามวงศ์ เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและสดุดีมหาราชา · ดูเพิ่มเติม »

สดุดีอัสสัมชัญ

ลงสดุดีอัสสัมชัญ (Glorify Assumption) เป็นเพลงหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นเพลงที่ปลุกความเป็น “อัสสัมชัญ” ในบรรดานักเรียนให้พลุ่งพล่านในสายเลือด เป็นเพลงที่ถูกนำไปใช้เป็นเพลงประจำสถาบันในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย ที่มีนามว่าอัสสัมชัญหลายแห่ง เว้นแต่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ที่มีเพลงประจำโรงเรียนเป็นแบบเฉพาะหรือใช้เพลงสีแดงและขาวเป็นเพลงประจำโรงเรียน แต่ก็ยังคงใช้เพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงของโรงเรียนด้วย เช่น โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยใช้เพลงเกียรติศักดิ์ MC ซึ่งดัดแปลงเพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงใหม่ที่เข้ากับโรงเรียนมงฟอร์ต ใช้ในการประกวดผู้นำเชียร์ในงานกรีฑาสีของโรงเรียนทุกปี ที่มาของเพลงสดุดีอัสสัมชัญนั้น พบว่า ตั้งแต..

ใหม่!!: Oggและสดุดีอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

สตีวี วันเดอร์

ตีวี วันเดอร์ (Stevie Wonder มีชื่อตามเกิด Stevland Hardaway Judkins ภายหลังเปลี่ยนเป็น Stevland Hardaway Morris) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1950 เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักประพันธ์เพลง และโปรดิวเซอร์ดนตรี สตีวี วันเดอร์มีเพลงติดท็อปเท็น มากกว่า 30 เพลงในอเมริกา ได้รับรางวัลแกรมมี่ 22 ครั้ง ยังได้รับรางวัลออสการ์สาขาเพลงยอดเยี่ยม สตีวี วันเดอร์ตาบอดมาตั้งแต่เด็ก เขาเซ็นสัญญากับโมทาวน์ตั้งแต่อายุ 11 ปี และเริ่มแสดงและบันทึกเสียงกับค่ายเพลง โดยมีเพลงอันดับ 1 เพลงแรก Fingertips (Pt. 2) ตั้งแต่อายุ 13 ปี และมีเพลงอันดับ 1 ในอเมริการวม 9 เพลง มียอดขายอัลบั้มมากกว่า 100 ล้านชุด นอกจากนั้นเขายังเป็นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ให้กับศิลปินดังหลายๆ คน ตัวเขาสามารถเล่นดนตรีได้หลายชนิดเช่น กลอง,เบสกีตาร์,ออร์แกน,ฮาร์โมนิกา,เปียโน,เครื่องสังเคราะห์เสียง และอื่นๆ โดยเฉพาะเสียงฮาร์โมนิกาของเขาที่เป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: Oggและสตีวี วันเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สปากส์ฟลาย (เพลง)

"สปากส์ฟลาย" (Sparks Fly) เป็นเพลงของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ จากสตูดิโออัลบั้มที่สาม สปีกนาว (2010) เพลงเขียนและผลิตโดยสวิฟต์ และนาธาน แชปแมน เป็นผู้ช่วยผลิตด้วย สวิฟต์แต่งเพลงนี้ขณะอายุ 16 ปี ก่อนออกซิงเกิลแรก "ทิม แม็กกรอว์" เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและสปากส์ฟลาย (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

สปีกนาว (เพลง)

"สปีกนาว" (Speak Now) เป็นเพลงของนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ เพลงเขียนและผลิตโดยสวิฟต์ และนาธาน แชปแมน ออกเป็นซิงเกิลวิทยุในวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: Oggและสปีกนาว (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

สแตนด์แอนด์ซิงออฟแซมเบีย พราวด์แอนฟรี

แตนด์แอนด์ซิงออฟแซมเบีย พราวด์แอนฟรี (Stand and Sing of Zambia, Proud and Free Lumbanyeni Zambia) เป็นเพลงชาติของแซมเบี.

ใหม่!!: Oggและสแตนด์แอนด์ซิงออฟแซมเบีย พราวด์แอนฟรี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านคุ้งตะเภา

หมู่บ้านคุ้งตะเภา หรือ บ้านคุ้งตะเภา เดิมชื่อว่า "ทุ่งบ้านคุ้งตะเภา" เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นหมู่บ้านในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนที่เคยอยู่ในการปกครองของหัวเมืองพิชัยที่เก่าแก่ที่สุดหมู่บ้านหนึ่ง รองจากเมืองฝางสว่างคบุรีที่มีที่ตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนเช่นเดียวกัน หมู่บ้านคุ้งตะเภาเป็นชุมชนคนไทยดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ปลายเหนือสุดของวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน ตัวหมู่บ้านอยู่ติดริมแม่น้ำน่านฝั่งตะวันออก มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสองระดับ โดยพื้นที่ติดริมแม่น้ำน่านจะเป็นที่ระดับต่ำมีชั้นลดจากที่ราบปกติ เดิมตัวหมู่บ้านตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มชั้นลดดินตะกอนแม่น้ำพัดดังกล่าว แต่ในปัจจุบันบ้านเรือนส่วนใหญ่ได้ย้ายขึ้นมาตั้งอยู่บนที่ราบภาคกลางริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 โดยพื้นที่เกษตรกรรมของหมู่บ้านส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ทิศตะวันออกของหมู่บ้านและที่ราบลุ่มตะกอนแม่น้ำพัดริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกของหมู่บ้าน ชาวบ้านคุ้งตะเภาในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายกับหมู่บ้านชนบททั่วไปในแถบภาคกลางตอนบน โดยมีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีอนามัย 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมหลักคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีนายสมชาย สำเภาทอง เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านคุ้งต.

ใหม่!!: Oggและหมู่บ้านคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจ

หัวใจ เป็นอวัยวะกล้ามเนื้อซึ่งสูบเลือดทั่วหลอดเลือดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยการหดตัวเป็นจังหวะซ้ำ ๆ พบในสัตว์ทุกชนิดที่มีระบบไหลเวียน ซึ่งรวมสัตว์มีกระดูกสันหลังด้วย หัวใจสัตว์มีกระดูกสันหลังนั้นประกอบด้วยกล้ามเนื้อหัวใจและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเป็นหลัก กล้ามเนื้อหัวใจเป็นกล้ามเนื้อลายที่อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ พบเฉพาะที่หัวใจ และทำให้หัวใจสามารถสูบเลือดได้ หัวใจมนุษย์ปกติเต้น 72 ครั้งต่อนาที ซึ่งจะเต้นประมาณ 2,500 ล้านครั้งในช่วงอายุเฉลี่ย 66 ปี และสูบเลือดประมาณ 4.7-5.7 ลิตรต่อนาที หนักประมาณ 250 ถึง 300 กรัมในหญิง และ 300 ถึง 350 กรัมในชาย คำคุณศัพท์ cardiac มาจาก kardia ในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงหัวใจ หทัยวิทยาเป็นแขนงแพทย์เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคและความผิดปกติของหัวใ.

ใหม่!!: Oggและหัวใจ · ดูเพิ่มเติม »

หนักแผ่นดิน

ป็นเพลงที่แต่งเมื่อ..

ใหม่!!: Oggและหนักแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

ออร์แกน

ออร์แกน (Organ, กรีก: ὄργανον ออร์กานอน) เป็นเครื่องดนตรีสากล ออร์แกนมีประวัติในการประดิษฐ์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยโรมัน และมีความสำคัญควบคู่มากับศาสนาคริสต์เลยทีเดียว คำว่า Organ นั้น ก็มาจากภาษาละติน Organum ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า Hydraulis ต้นกำเนิดเสียงของออร์แกนมาจากลม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดหลายวิธีซึ่งในสมัยโบราณก็ต้องใช้แรงคนในการผลิตลม เมื่อลมถูกบังคับให้ไหลผ่านท่อที่มีขนาดต่างๆกันก็จะเกิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน ท่อที่ใช้ในการสร้างออร์แกนนั้น อาจจะเป็นไม้ หรือโลหะ ก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้มีเสียงที่แตกต่างกัน และออร์แกนหนึ่งเครื่อง สามารถทำเสียงต่าง ๆ ได้เท่า ๆ กับเครื่องดนตรีหลายชิ้นมารวมกัน ดังนั้น ออร์แกนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแนวทำนอง และแนวเดินเบส โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องดนตรีอื่นใด ดังนั้น ในสมัยก่อนนั้น ออร์แกนจึงถือเป็นเครื่องดนตรีที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีทั้งปวง ออร์แกนได้รับฉายาว่าเป็นราชาแห่งเครื่องดนตรีตะวันตก เนื่องจากมีความซับซ้อนในการประดิษฐ์ และขนาดที่ใหญ่ ออร์แกนที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ แอตแลนติกซิตีคอนเวนชันฮอล ที่เมืองแอตแลนติกซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ซี่งมีจำนวนไปป์ถึง 33,000 ไปป์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลม หมวดหมู่:ออร์แกน.

ใหม่!!: Oggและออร์แกน · ดูเพิ่มเติม »

ออร์เคสตราลสวีต (บาค)

ออร์เคสตราลสวีต (Orchestral Suites) หรือบางครั้งเรียกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า โอเวอร์เชอร์ (Ouvertures) จำนวน 4 ชิ้นของโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค มีรหัสแคตาล็อก BWV 1066–1069 เป็นผลงานประพันธ์ในช่วงปี..

ใหม่!!: Oggและออร์เคสตราลสวีต (บาค) · ดูเพิ่มเติม »

ออลอะเบาต์แดตเบส

"ออลอะเบาต์แดตเบส" (All About That Bass) เป็นเพลงของเมแกน เทรนเนอร์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน บรรจุอยู่ในอัลบั้ม ไทเทิล ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและออลอะเบาต์แดตเบส · ดูเพิ่มเติม »

ออลด์แลงไซน์

"ออลด์แลงไซน์" (Auld Lang Syne) เป็นบทกวีสกอตแลนด์ ในปี..

ใหม่!!: Oggและออลด์แลงไซน์ · ดูเพิ่มเติม »

ออลเทอร์นาทิฟร็อก

ออลเทอร์นาทิฟร็อก (alternative rock) ในบางครั้งอาจเรียกว่า ออลเทอร์นาทิฟ (alternative) หรือ ออลต์ร็อก (alt rock) เป็นแนวเพลงร็อกที่เกิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1990 คำว่าออลเทอร์นาทิฟถูกคิดขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1980 อธิบายถึงแนวเพลงได้รับแรงบันดาลใจจากพังก์ร็อก โดยอยู่ค่ายเพลงอิสระ ที่ไม่ได้อยู่ในกระแสนิยมในช่วงเวลานั้น ในความหมายทางด้านดนตรี ซึ่งเรียกสั้น ๆ ว่า "อินดี้" ออลเทอร์นาทิฟประกอบด้วยเพลงหลากหลายแนวรวมกันทั้งกรันจ์ บริตป็อป กอทิกร็อก และอินดี้ป็อป ที่ถูกรวมกันโดยลักษณะพื้นฐานของพังก์ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญของดนตรีออลเทอร์นาทิฟร็อกในทศวรรษที่ 1980 ออลเทอร์นาทิฟยุคแรก ๆ ถือกำเนิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา คริสต์ทศวรรษ 1970 ในนามของวงพังก์ร็อกคือวงเดอะ ราโมนส์ ก่อนที่จะมาเป็นออลเทอร์นาทิฟเต็มตัวและแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1980 โดยมีวงอาร์.อี.เอ็ม. และเรดฮ็อตชิลิเป็ปเปอร์ส ปลุกกระแสแนวเพลงนี้ จนปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 เข้าสู่คริสต์ทศวรรษ 1990 เป็นช่วงที่แนวเพลงออลเทอร์นาทิฟรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีวงดัง ๆ ระดับโลกเกิดขึ้นมากมาย เช่น เนอร์วานา โอเอซิส เรดิโอเฮด เดอะไวต์สไตรปส์ กรีนเดย์ มิวส์ ลิงคินพาร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: Oggและออลเทอร์นาทิฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

ออแดซิตี

250px Audacity (ออแดซิตี) เป็นซอฟต์แวร์เสรี ใช้สำหรับตัดต่อเสียง สนับสนุนแพลตฟอร์ม แม็ค วินโดวส์ และลินุกซ์ สามารถอัดเสียง อิมพอร์ต/เอกซ์พอร์ต แปลงไฟล์ไป-มา ได้หลายฟอร์แม็ต แก้ไข ตัตแต่ง วิเคราะห์ สนับสนุนไฟล์ในหลายรูปแบบรวมถึง WAV MP3 Ogg Vorbis และไฟล์รูปแบบอื่นๆ เริ่มพัฒนาเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543.

ใหม่!!: Oggและออแดซิตี · ดูเพิ่มเติม »

อะพอลโล 11

ัญลักษณ์โครงการอะพอลโล 11 ลูกเรืออะพอลโล่ 11 ประกอบด้วย นีล อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong) ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดริน (Adwin Aldrin) และ ไมเคิล คอลลินส์ (Michael Collins) อะพอลโล 11 (Apoll XI) เป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จขององค์การนาซา อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโดยจรวดแซทเทิร์น 5 (Saturn V) ที่ฐานยิงจรวจที่แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: Oggและอะพอลโล 11 · ดูเพิ่มเติม »

อะระชิ

อะระชิ เป็นกลุ่มศิลปินบอยแบนด์จากประเทศญี่ปุ่น ภายใต้สังกัดของบริษัท Johnny & Associates เปิดตัวที่ฮาวายในวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: Oggและอะระชิ · ดูเพิ่มเติม »

อะระชิ (เพลง)

"Arashi" (เขียนอีกแบบว่า A・RA・SHI) คือซิงเกิลแรกของศิลปินบอยแบนด์ อะระชิ โดนจัดจำหน่ายรูปแบบปกติและแบบจำนวนจำกัด โดยทั้งสองชนิดบรรจุเพลง 2 เพลง และเพลงบรรเลง แต่มีแค่เวอร์ชันจำนวนจำกัดจะแถมโปสเตอร.

ใหม่!!: Oggและอะระชิ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

อังโตนีอู การ์ลูช โชบิง

อังโตนีอู การ์ลูช บราซีเลย์รู จี อัลเมย์ดา โชบิง (Antônio Carlos Brasileiro de Almeida Jobim) หรือรู้จักกันดีในอีกชื่อนึงว่า ทอม โจบิม (Tom Jobim) เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1927 ที่รีโอเดจาเนโร - ตายเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1994 ที่นิวยอร์กซิตี เป็นนักแต่งเพลง นักร้อง นักเปียโนและกีตาร์ชาวบราซิล ผู้บุกเบิกแนวเพลงด้านบอสซาโนวาจนเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก เพลงที่มีชื่อเสียงที่สุดของโชบิง คือเพลง The Girl from Ipanema แต่งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1962 ขับร้องโดยอัสตรุด ชิลเบร์ตู และได้รับรางวัลแกรมมี เมื่อปี ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: Oggและอังโตนีอู การ์ลูช โชบิง · ดูเพิ่มเติม »

อันโตนีโอ วีวัลดี

thumb.

ใหม่!!: Oggและอันโตนีโอ วีวัลดี · ดูเพิ่มเติม »

อาทิตย์อับแสง

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 8 ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันพุธที่ 3 กุมภาพัน..

ใหม่!!: Oggและอาทิตย์อับแสง · ดูเพิ่มเติม »

อาเว มารีอา (บาค/กูโน)

อาเว มารีอา (Ave Maria) เป็นบทเพลงที่มีชื่อเสียงของชาร์ล กูโน คีตกวียุคโรแมนติคชาวฝรั่งเศสที่แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1859 โดยดัดแปลงซ้อนทำนอง เพรลูดหมายเลข 1 ในบันไดเสียง ซี เมเจอร์ (BWV 846) โดยโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ที่แต่งขึ้นเมื่อ 137 ปีก่อนหน้านั้นในปี ค.ศ. 1782 กูโนได้ดัดแปลงห้องดนตรีเล็กน้อยเพื่อให้ท่วงทำนองราบรื่นขึ้นกว่าเดิม และตั้งชื่อเพื่อเป็นการสดุดีพระแม่มารี อาเว มารีอา กลายเป็นดนตรีที่มีทำนองคุ้นหู มีการเรียบเรียงใหม่สำหรับบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีนานาชนิด ไม่ว่าจะเป็นไวโอลิน เปียโน กีตาร์ เชลโล หรือแม้กระทั่งทรอมโบน ดนตรีชิ้นนี้มักจะนิยมใช้บรรเลงในงานแต่งงานแบบคริสต์ศาสนา อาเว มารีอา ฉบับบาค/กูโน มักเป็นที่สับสนกับเพลง Ellens dritter Gesang หรือ Ellen's third song, D839, Op 52 no 6 ผลงานประพันธ์ที่มีชื่อเสียงในปี..

ใหม่!!: Oggและอาเว มารีอา (บาค/กูโน) · ดูเพิ่มเติม »

อิฟไอคูดเทลล์ยู

If I Could Tell You เป็นอัลบั้มลำดับที่ 12 ในดนตรีแนวนิวเอจของยานนี ในปี พ.ศ. 2543 หลังจากหยุดพักการทำงานไปสองปีEthnicity World Tour 2003–2004 - Official concert program If I Could Tell You เป็น Studio Album แรกในรอบเจ็ดปีที่ผ่านมา ในการทำผลงานเพลงของยานนี และได้รับคะแนนความนิยมจากการโหวตของนิตยสารบิลบอร์ด และติดอันดับ Top New Age Albums ในอันดับชาร์ตที่ 20 ของการจัดอันดับความนิยมของนิตยสารบิลบอร์ด ในปี พ.ศ. 2543 2 กันยายน พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: Oggและอิฟไอคูดเทลล์ยู · ดูเพิ่มเติม »

อิลกันโตเดลยีอีตาเลียนี

อิลกันโตเดลยีอีตาเลียนี (Il Canto degli Italiani) หรือ "เพลงแห่งชาวอิตาลี" เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอิตาลี เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวอิตาลีในชื่อ "อินโนดีมาเมลี" (Inno di Mameli - เพลงสรรเสริญของมาเมลี) อันเป็นการขนานนามตามชื่อผู้ประพันธ์เพลง และ "ฟราเตลลีดีตาเลีย" (Fratelli d'Italia - พี่น้องชาวอิตาลีทั้งหลาย) ซึ่งเรียกตามบทร้องวรรคเปิดของเพลงนี้ บทร้องของเพลงนี้ได้ประพันธ์โดยกอฟเฟรโด มาเมลี (Goffredo Mameli - ขณะนั้นยังเป็นนักศึกษาชาวเจนัวและมีอายุได้ 20 ปี) ในฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 1847 ที่เมืองเจนัว ท่ามกลางบรรยากาศในการต่อสู้ของประชาชนเพื่อการรวมชาติและการทำสงครามปลดแอกจากจักรวรรดิออสเตรีย อีกสองเดือนต่อมา มีเกเล โนวาโร (Michele Novaro) ซึ่งเป็นชาวเจนัวเช่นกัน ได้ประพันธ์ทำนองสำหรับบทร้องของมาเมลีขึ้นที่เมืองโตริโน เพลงดังกล่าวนี้ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายจากมหาชนท่ามกลางยุคแห่งการรวมชาติ (Risorgimento) นานนับทศวรรษ หลังการรวมชาติสำเร็จลงในปี ค.ศ. 1861 เพลงที่ได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติอิตาลีนั้นมิใช่เพลง "อิลกันโตเดลยีอีตาเลียนี" ซึ่งได้รับความนิยมจากมหาชน แต่เป็นเพลง "มาร์ชาเรอาเลดอร์ดีนันซา" (Marcia Reale d'Ordinanza - เพลงมาร์ชหลวงตามพระราชโองการ) เพลงดังกล่าวนี้เป็นเพลงสรรเสริญประจำราชวงศ์ซาวอย อันเป็นราชวงศ์ของกษัตริย์ผู้ปกครองอิตาลีหลังยุคการรวมชาติ และได้ใช้เป็นเพลงชาติอิตาลีสืบมาจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่ออิตาลีได้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองโดยการลงประชามติยกเลิกระบอบราชาธิปไตยและสถาปนาการปกครองระบอบสาธารณรัฐขึ้นแทนที่ โดยเพลง "อิลกันโตเดลยีอีตาเลียนี" ได้รับเลือกให้ใช้เป็นเพลงชาติของสาธารณรัฐอิตาลีเป็นการชั่วคราว เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1946 และอีกเกือบ 60 ปีให้หลัง เพลงนี้จึงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการตามกฎหมายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: Oggและอิลกันโตเดลยีอีตาเลียนี · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานดอกไม้

อุทยานดอกไม้ เป็นเพลงลูกกรุงของไทยที่มีเนื้อหากล่าวถึงพรรณไม้ดอกมากที่สุด 48 ชนิด แต่งคำร้องโดย สกนธ์ มิตรานนท์ แต่งทำนองโดย ชูศักดิ์ รัศมีโรจน์ ขับร้องโดย วงจันทร์ ไพโรจน์ เพลงนี้แต่งขึ้นใน พ.ศ. 2499 ภายหลังมีการนำเพลงนี้ไปเรียบเรียงเสียงประสานใหม่และขับร้องโดยศิลปินอื่นเช่น สุนารี ราชสีมา, อรวี สัจจานนท์ แต่เนื้อร้องและทำนองยังคงเดิม นอกจากนี้ เพลงที่มีพรรณไม้ดอกรองลงมาคือ มาลีแดนสรวง ซึ่งมีเพียง 32 ชนิด ขับร้องโดย มัณฑนา โมรากุล นักร้องในวงสุนทราภรณ์ และมีการแปลงเพลงเพื่อล้อเลียน อาทิ อุทยานผลไม้ ขับร้องโดย สุรพล สมบัติเจริญ และ อุทยานผี ขับร้องโดย มีศักดิ์ นาครัตน์ * ในเนื้อเพลงร้องว่า "จันทน์กระพ้อ" แต่คำที่ถูกต้องคือ "จันทน์กะพ้อ".

ใหม่!!: Oggและอุทยานดอกไม้ · ดูเพิ่มเติม »

อีนูดาอิงดือเป็งเด็งซียา

อีนูดาอิงดือเป็งเด็งซียา (Hino da Independência, "เพลงแห่งเอกราช") เป็นเพลงปลุกใจอย่างเป็นทางการของบราซิลตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: Oggและอีนูดาอิงดือเป็งเด็งซียา · ดูเพิ่มเติม »

อนุสติไทย

ป็นเพลงปลุกใจ จังหวะสโลว์-มาร์ช ประพันธ์คำร้องโดย แสงสุวรรณ ทำนองโดย เวส สุนทรจามร บรรเลงและขับร้องโดยวงสุนทราภรณ์ มีวรนุช อารีย์ เป็นผู้ร้องนำ ออกวางจำหน่ายเมื่อ..

ใหม่!!: Oggและอนุสติไทย · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาเดอะบิวติฟูล

อเมริกาเดอะบิวติฟูล เป็นเพลงปลุกใจในประเทศสหรัฐอเมริกา เนื้อเพลงที่เขียนโดย แคทเธอรี ลี เบตส์ และดนตรีแต่งโดยโบสถ์ออแกนและผู้กำกับ ซาเมียล เอ. วาร์ด เบทส์ แต่เดิมเขียนถ้อยคำเป็นบทกวี ไพค์ พิค ตีพิมพ์ครั้งแรกในวันที่ 4 กรกฎาคม ฉบับของนิตยสารโบสถ์ Congregationalist ในปี..

ใหม่!!: Oggและอเมริกาเดอะบิวติฟูล · ดูเพิ่มเติม »

ฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2

Main Theme from Friska ฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2 ในบันไดเสียง ซี-ชาร์ป ไมเนอร์ (Hungarian Rhapsody No.) ผลงานการประพันธ์ของฟรานซ์ ลิซท์ในปี..

ใหม่!!: Oggและฮังกาเรียนแรพโซดีหมายเลข 2 · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์มอนิก

ต่าง ๆ ของสายเครื่องดนตรีที่สั่นแล้วสร้างเสียงฮาร์มอนิก การเขียนโน้ตดนตรีสำหรับเสียงฮาร์มอนิกตามธรรมชาติของเชลโล อันแรกตามเสียงที่ได้ยินซึ่งสามัญกว่า และอันที่สองตามที่กดด้วยนิ้วซึ่งอ่านตามเพื่อเล่นได้ง่ายกว่า ฮาร์มอนิก (harmonic) เป็นสมาชิกอันใดอันหนึ่งก็ได้ของอนุกรมฮาร์มอนิก (harmonic series) ซึ่งเป็นอนุกรมแบบอนันต์และลู่ออก (divergent infinite series) ชื่อของมันมาจากแนวคิดเกี่ยวกับ overtone หรือฮาร์มอนิกที่เกิดในเครื่องดนตรี ซึ่งก็คือ ความยาวคลื่นของเสียง overtone จากสายเครื่องดนตรีหรือคอลัมน์อากาศในเครื่องดนตรี (เช่นในทูบา) ที่กำลังสั่น จะเป็นอนุพันธ์จากความยาวคลื่นมูลฐานของสายเครื่องดนตรี คำนี้ใช้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่มาจากประเทศตะวันตก รวมทั้งดนตรี ฟิสิกส์ สวนศาสตร์ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีวิทยุ และสาขาอื่น ๆ ซึ่งปกติจะใช้กับสัญญาณที่เกิดซ้ำ ๆ เช่นคลื่นรูปไซน์ ฮาร์มอนิกของคลื่นเช่นนี้ ก็คือคลื่นที่มีความถี่เป็นพหุคูณจำนวนเต็มของคลื่นดั้งเดิม โดยความถี่คลื่นดั้งเดิมจะเรียกว่า ความถี่มูลฐาน คลื่นดั้งเดิมนี้ก็เรียกได้ด้วยว่า ฮาร์มอนิกแรก โดยคลื่นที่มีความถี่สูงยิ่ง ๆ กว่านั้นจะเป็นฮาร์มอนิกที่สูงกว่า (higher harmonic) เนื่องจากฮาร์มอนิกทั้งหมดจะเป็นคาบตรงที่ความถี่มูลฐานด้วย ฮาร์มอนิกรวมกันทั้งหมดก็จะเป็นคาบที่ความถี่นั้นด้วย ยกตัวอย่างเช่น ถ้าความถี่มูลฐานอยู่ที่ 50 เฮิรตซ์ (Hz) ความถี่ของฮาร์มอนิกสูงกว่า 3 อันแรกก็จะอยู่ที่ 100 Hz (ฮาร์มอนิกที่สอง) 150 Hz (ฮาร์มอนิกที่สาม) 200 Hz (ฮาร์มอนิกที่สี่) และคลื่นอื่น ๆ ที่มีความถี่เป็นคาบที่ 50 Hz ด้วย ในดนตรี แนวคิดเกี่ยวกับฮาร์มอนิกจะใช้ในเครื่องดนตรีแบบสายและแบบเป่า เพื่อสร้างเสียงโดยเฉพาะเพื่อให้เกิดเสียงที่สูงกว่า และในเครื่องดนตรีแบบสาย เพื่อให้ได้คุณสมบัติของเสียงโดยเฉพาะที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า tone colour (น้ำเสียง) ในเครื่องดนตรีแบบสาย นักดนตรีจะเล่นฮาร์มอนิกต่าง ๆ โดยแตะ (แต่ไม่ได้กดลงที่สายอย่างเต็มที่) ตรงจุดใดจุดหนึ่งโดยเฉพาะบนสายในขณะที่สร้างเสียง ไม่ว่าจะโดยดีดสายหรือสีเป็นต้น ซึ่งก็จะสร้างเสียงฮาร์มอนิก โดยจะฟังเป็นเสียงทุ้มแหลมที่มีความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐานของสายนั้น.

ใหม่!!: Oggและฮาร์มอนิก · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวเมอเรสก์ส (ดโวชาค)

วเมอเรสก์ส โอปุส 101 (Humoresques; Humoresky, Op. 101 (B. 187)) เป็นชุดดนตรีฮิวเมอเรสก์ (แนวชวนขัน) จำนวน 8 ชิ้นที่แต่งโดยอานโตนิน ดโวชาค คีตกวีชาวเช็กระหว่างที่เขาเดินทางไปพักร้อนกับครอบครัวที่แคว้นโบฮีเมีย ในช่วงฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1894 ช่วงปี..

ใหม่!!: Oggและฮิวเมอเรสก์ส (ดโวชาค) · ดูเพิ่มเติม »

ฮีมนี อี ฟลามูริท

ีมนี อี ฟลามูริท (แอลเบเนีย: Hymni i Flamurit, แปลว่า "เพลงสรรเสริญธง") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐแอลเบเนีย ประพันธ์เนื้อร้องโดย อเล็กซานเดอร์ สตาฟเร เดรโนวา(Aleksander Stavre Drenova)นักประพันธ์ชาวแอลเบเนีย โดยตีพิมพ์ครั้งแรกในลักษณะบทกวีในหนังสือพิมพ์ Liri E snqipërisë ("เสรีภาพแห่งแอลเบเนีย") ที่กรุงโซเฟีย ประเทศบัลแกเรีย ในปี พ.ศ. 2455 ต่อมาได้พิมพ์รวมเล่มในหนังสือรวมผลงานการประพันธ์ของเดรโนวาชื่อ Ëndra e lotë ("ความฝันและน้ำตา") ซึ่งได้ตีพิมพ์ที่กรุงบูคาเรสต์ ประเทศแอลเบเนีย ส่วนทำนองเพลงชาติเป็นผลงานของนักประพันธ์ดนตรีชื่อ ชีเพรียน โปรุมเบสชู (Ciprian Porumbescu) ซึ่งเดิมทำนองเพลงนี้แต่งไว้สำหรับเพลง Pe-al hostrusteang e scris Unire (หรือ E scrispe tricolour unire).

ใหม่!!: Oggและฮีมนี อี ฟลามูริท · ดูเพิ่มเติม »

ฮีลเดอะเวิลด์

"ฮีลเดอะเวิลด์" (Heal the World) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกันไมเคิล แจ็กสัน จากอัลบั้ม''เดนเจอรัส'' ผลิตออกจำหน่ายเมื่อปี ค.ศ. 1991 โดยมิวสิกวิดีโอเป็นภาพของเด็กที่ต้องอาศัยอยู่อย่างลำบากในประเทศที่ทุกข์ทรมานจากความไม่สงบ นับเป็นหนึ่งในไม่กี่มิวสิกวิดีโอที่นักร้องไม่ปรากฏตัว และเป็นเพลงที่แจ็กสันแสดงทุกครั้งในคอนเสิร์ตเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์และฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ ในการแชททางอินเทอร์เน็ตกับแฟนเพลงปี.ศ 2001 แจ็กสันกล่าวว่า ฮีลเดอะเวิลด์ เป็นเพลงที่เขาภาคภูมิใจที่สุดที่ได้สร้าง นอกจากนี้เขายังก่อตั้งมูลนิธิ "ฮีลเดอะเวิลด์ฟาวเดชัน" องค์กรการกุศลที่มีเป้าหมายในการปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ให้แก่เด็กๆทั่วโลก องค์กรยังมีจุดมุ่งหมายที่จะสอนเด็กๆ ถึงวิธีในการช่วยเหลือผู้อื่น แนวคิดที่ว่า "ดีขึ้นเพื่อทุกคน" นี้ได้กลายมาเป็นหัวใจหลักสำหรับทัวร์คอนเสิร์ตเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์ ในสารคดี Living with Michael Jackson แจ็กสันกล่าวว่าเขาแต่งเพลงนี้ใต้ต้นไม้ Giving Tree ที่บ้านไร่เนเวอร์แลนด์ ไมเคิล แจ็กสันได้บริจาคเพลงนี้สำหรับการกุศล เพื่อรำลึกถึงเจมส์ บัลเกอร์ และเพื่อโรงเรียนสำหรับเด็กๆ ในเวลาที่ถ้าพวกเขาถูกรังแกหรือมีปัญหาในการเรียนรู้.

ใหม่!!: Oggและฮีลเดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ผมเป็นชาวเบอร์ลิน

"อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ในเบอร์ลินตะวันตก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและผมเป็นชาวเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ บีแซ

อร์ฌ บีแซ ฌอร์ฌ บีแซ (Georges Bizet,; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2381 – 3 มิถุนายน พ.ศ. 2418) คีตกวีชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: Oggและฌอร์ฌ บีแซ · ดูเพิ่มเติม »

ฌีมโนเปดี

ีมโนเปดี (Gymnopédies) เป็นผลงานประพันธ์สำหรับเปียโนจำนวน 3 ชิ้นที่แต่งโดยเอริก ซาตี คีตกวีชาวฝรั่งเศส เผยแพร่ครั้งแรกในปารีสเมื่อปี ค.ศ. 1888 ผลงานทั้งสามชิ้นเขียนขึ้นในจังหวะ 3/4 โดยมีธีมและโครงสร้างดนตรีร่วมกัน คือเน้นบรรยากาศและสภาพสิ่งแวดล้อม เป็นต้นแบบของดนตรีแอมเบียนต์ในปัจจุบัน ชื่อ "ฌีมโนเปดี" มีที่มาจากศัพท์ภาษากรีก γυμνοπαιδία ("gumnopaidia") มาจากคำว่า γυμνός (gymnos - "naked") และ παίς (pais - "child") หรือ παίζω (paizo - "play") เป็นชื่อเทศกาลเต้นรำเปลือยกายของนักรบสปาร์ตา เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล ในปี..

ใหม่!!: Oggและฌีมโนเปดี · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง มีแชล ฌาร์

็อง-มีแชล อ็องเดร ฌาร์ (Jean-Michel André Jarre) นักแต่งเพลง นักดนตรีชาวฝรั่งเศส ได้รับการยอมรับเป็นผู้บุกเบิกแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ นิวเอจ และแอมเบียนต์ มีการจัดการแสดงสดประกอบเอฟเฟกต์แสง สี เสียง เลเซอร์ พลุอย่างยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะการแสดงครั้งสำคัญในงานฉลอง 850 ปีของกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กันยายน..

ใหม่!!: Oggและฌ็อง มีแชล ฌาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอยทูเดอะเวิลด์

อยทูเดอะเวิลด์ หรือ พระทรงบังเกิด (คาทอลิก) หรือ ความสุขเปรมปรีดิ์มีแก่ชาวโลก (โปรเตสแตนต์) เป็นเพลงเทศกาลที่ได้รับความนิยมที่สุดในช่วงวันคริสต์มาส เนื้อเพลงภาษาอังกฤษถูกเขียนขึ้น โดย ไอแซค วัตต์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับช่วงครึ่งหลังของพระธรรมสดุดี บทที่ 98 ในพระคัมภีร์ไบเบิล และได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..1719 ในผลงานของ ไอแซค วัตต์ เนื้อหาพระธรรมสดุดีของเดวิดในส่วนนี้เป็นการสื่อเรื่องราวถึงพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาใหม่ และนำไปใช้ในการนมัสการของเหล่าคริสเตียน ไอแซค วัตต์ เขียนคำพูดไว้ว่า "จอยทูเดอะเวิลด์" เป็นเพลงนมัสการพระเกียรติและชัยชนะของพระคริสต์ และเพื่อการรับเสด็จการกลับมาอีกครั้งของพระคริสต์ในวันพิพากษาโลก ซึ่งเพลงจอยทูเดอะเวิลด์ได้รับการขนานนามจากชาวอิสราเอลว่าเป็นเพลงที่แสดงถึงความชื่นชมยินดี ที่พระคริสต์ได้นำหนทางที่จะได้คืนดีกับพระเป็นเจ้ามาให้.

ใหม่!!: Oggและจอยทูเดอะเวิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล

อร์จ ฟริเดอริก แฮนเดิล ค.ศ. 1733 จอร์จ ฟริดริก (หรือฟริเดอริก) แฮนเดิล (George Frideric/Frederick Handel) เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: Oggและจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล · ดูเพิ่มเติม »

จัสต์แดนซ์

ัสต์แดนซ์ (Just Dance) เป็นเพลงที่ 1 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า, เรดวัน และ เอค่อน, และผลิตโดย เรดวัน ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: Oggและจัสต์แดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: Oggและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จากยอดดอย

ป็นเพลงที่มีเนื้อหาให้กำลังใจทหารที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ชายแดน เมื่อครั้งต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชเสาวนีย์ให้ พันโท ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช และ แมนรัตน์ ศรีกรานนท์ ประพันธ์คำร้องและทำนองถวาย เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันทั่วไปเมื่อ จรัล มโนเพ็ชร ขอพระราชทานพระราชานุญาต นำมาขับร้องในอัลบั้ม "จากยอดดอย" เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและจากยอดดอย · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโม ปุชชีนี

กโม ปุชชีนี จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองลูคคา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อุปรากรที่โด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย และ ทอสก้า ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924).

ใหม่!!: Oggและจาโกโม ปุชชีนี · ดูเพิ่มเติม »

จูเซปเป แวร์ดี

Verdi จูเซปเป ฟอร์ตูนีโน ฟรันเชสโก แวร์ดี (Giuseppe Verdi) เป็นคีตกวีชาวอิตาลี เกิดเมื่อวันที่10 ตุลาคม พ.ศ. 2356 (ค.ศ. 1813) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) โด่งดังจากอุปรากรเรื่อง ลา ทราเวียตตา ไอด้า โอเทลโล ผลงานของเขาได้รับความนิยมอย่างสูงเมื่อเขายังมีชีวิตอยู่ และต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน แวร์ดีเกิดที่หมู่บ้าน Le Roncole ในอำเภอตาโร ซึ่งขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ต ในปี พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) เขาได้ย้ายถิ่นฐานไปอยู่ที่เมืองบุสเชโต ที่ซึ่งเขาได้เรียนดนตรีกับเฟอร์ดินานโด โปรแวร์สิ เขาได้ประพันธ์ซิมโฟนี ขึ้นมาบทหนึ่งจากเพลงโหมโรงของอุปรากรเรื่อง กัลบกแห่งเมืองเซวิลล์ (Il barbiere di Siviglia) ของ จิโออัคคิโน รอสสินี จากนั้นก็ได้ย้ายไปอยู่ที่นครมิลาน เพื่อสมัครเข้าเรียนที่วิทยาลัยดนตรีแต่ก็ถูกปฏิเสธ เขาจึงเรียนแบบส่วนตัวกับวินเซนโซ ลาวินยา ผลงานประพันธ์อุปรากรเรื่องแรกของเขาคือ Oberto, conte di San Bonifacio (เปิดการแสดงครั้งแรกที่กรุงมิลาน เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2382) ตามด้วยเรื่อง Un giorno di regno (ซึ่งเป็นความพยายามประพันธ์อุปรากรชวนหัวเพียงครั้งเดียว ซึ่งมีเพียง Falstaff อีกเรื่องในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขา) แต่เขาประสบความสำเร็จครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) จากเรื่อง Nabucco ที่ได้เปิดแสดงที่โรงละครลา สกาล่า ในนครมิลาน โดยมีนักแสดงนำได้แก่จูเซปปินา สเตร็ปโปนี ร้องเสียงโซปราโน ในบทของอาบิไก นักร้องสาวได้กลายเป็นภรรยาน้อยของแวร์ดี เขาได้แต่งงานกับหล่อนในอีกหลายปีให้หลัง ภายหลังการเสียชีวิตของภรรยาของเขา หลังจากที่อุปรากรเรื่อง I Lombardi alla prima crociata (เปิดแสดงครั้งแรกที่นครมิลาน เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386) ที่มีเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การเมือง เรื่องErnani ก็ประสบความสำเร็จในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซเช่นกัน ในปีต่อมา อุปรากรเรื่อง Giovanna d'Arco และ La Forza del Destino ก็ตอกย้ำความโด่งดังของแวร์ดี แต่เขาเห็นว่าการแสดงงานของเขาที่โรงละครลา สกาล่านั้นยังไม่เข้าขั้น เป็นเหตุให้เขาปฏิเสธการเปิดแสดงอุปรากรเรื่องต่อ ๆ มาในมิลาน อันได้แก่เรื่อง Atilla, Alzira และ แมคเบ็ท ในได้ถูกนำออกแสดงในเมืองต่าง ๆ ทั่ว ประเทศอิตาลี ส่วนเรื่อง I Masnadieri นั้นได้ถูกประพันธ์ขึ้นที่กรุงลอนดอน ในขณะที่นครมิลาน พ่ายแพ้และถูกจักรวรรดิออสเตรียเข้ายึดครอง แวร์ดีได้ประพันธ์อุปรากรเรื่อง Il Corsaro, La Battaglia di Legnano และ Luisa Miller รวมทั้งเรื่อง Manon Lescaut ที่แต่งไม่จบ หลังจากข่าวอื้อฉาวเกี่ยวกับบทประพันธ์เรื่อง Stiffelio ในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) เรื่อง Rigoletto ก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้นในการเปิดแสดงที่โรงละครลา เฟนิกซ์ ในนครเวนีซ ในปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) เขาประสบความสำเร็จครั้งสำคัญอีกครั้งจากเรื่องIl Trovatore ที่โรงละครอพอลโลในกรุงโรม แต่การเปิดการแสดงภาคภาษาฝรั่งเศสในนครเวนีซไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก อุปรากรเรื่องอื่น ๆ ที่ประพันธ์ขึ้นในช่วงนี้ ได้แก่ งูพิษแห่งเกาะซิซิลี (เปิดแสดงที่กรุงปารีส) Aroldo (งานที่สร้างขึ้นมาจากเรื่อง Stiffelioเดิม) และเรื่อง Simon Boccanegra กับ Un ballo in maschera (ที่ถูกห้ามนำออกแสดง) แวร์ดีได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างมากในการรวมชาติของประเทศอิตาลี (เขาได้ประพันธ์บทเพลง Inno delle Nazioni ซึ่งได้รวมเอาเพลงชาติต่าง ๆ ในยุโรปไว้ด้วยกัน เช่น เพลง Fratelli d'Italia Marseillaise และ God Save the King ในปี พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) และได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งวุฒิสมาชิก จากนั้นก็ได้นำผลงานเก่ามาแก้ไขเล็กน้อย จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2409 (ค.ศ. 1866) เมื่อDon Carlos ได้ถูกนำออกแสดงครั้งแรกที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2415 (ค.ศ. 1872) เมื่อเขานำเรื่องไอด้า ออกแสดงที่โรงละครลา สกาล่าก็ประสบความสำเร็จอย่างท่วมท้น เขาได้ประพันธ์ให้แก่ผู้สำเร็จราชการแห่งอียิปต์กับเนื่องในโอกาสพิธีเปิดโรงละครแห่งใหม่ในกรุงไคโร และสำหรับการเปิดคลองสุเอซ ผลงานของแวร์ดีมีความเป็นชาตินิยมของชาวอิตาลีอยู่ในตัว (เป็นต้นว่าเพลงชาวยิวสำหรับกลุ่มนักร้องประสานเสียงขับร้องในเรื่อง Nabucco ที่มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า Va Pensiero นั้น ได้รับการเสนอให้เป็นเพลงชาติอิตาลีมาอย่างสม่ำเสมอ โดยไม่ได้มีความหมายในเชิงเหยียดเชื้อชาติ) เป็นที่น่าประหลาดใจ เมื่อมีคนพบว่าชื่อของเขา Verdi เป็นตัวอักษรย่อของคำว่า Vittorio Emanuele Re D’Italia (วิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กษัตริย์แห่งอิตาลี) ในช่วงเวลาที่ชาวเมืองมิลาน (ซึ่งยังตกอยู่ภายใต้การปกครองของออสเตรีย) ได้เริ่มหันมาสนับสนุนความพยายามรวมชาติอิตาลีของวิคเตอร์ เอ็มมานูเอล กลุ่มแนวร่วมหลบหนีเข้าเมืองได้เริ่มคบคิดที่จะให้กษัตริย์ Sardaigne บุกมิลาน เนื่องจากการกดขี่ของชาวออสเตรียนั้นรุนแรงเกินไป กลุ่มคนเหล่านี้ได้เริ่มการปลุกระดมที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า « Viva VERDI » (« V.E.R.D.I. จงเจริญ ») แวร์ดีทราบเรื่องการนำชื่อของเขาไปใช้ ซึ่งโดยหลักแล้วเขาควรจะห้าม แต่เขาก็ไม่ได้ห้าม เรื่องราวอื่น ๆ ที่เกี่ยวพันกับการเมืองของแวร์ดีได้ถูกนำเสนอในบทอุปรากรเรื่อง I Lombardi แวร์ดีเสียชีวิตอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1901) ที่นครมิลาน หลังจากการก่อสร้างคฤหาสน์ Casa di Riposo เสร็จสิ้น (เขาตั้งใจให้เป็นที่พักชั่วคราวของเหล่าศิลปินตกยาก) พีธีศพของเขาจัดขึ้นอย่างอลังการ ผู้เข้าร่วมราว 250,000 คนได้มาแสดงความคารวะต่อปูชนียบุคคลผู้หนึ่งของวงการดนตรีอิตาลี.

ใหม่!!: Oggและจูเซปเป แวร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

จีเซลล์

ีเซลล์ (Giselle) เป็นบัลเลต์ความยาว 2 องก์ ออกแบบท่าเต้นโดยฌอง คอราลลี (Jean Coralli, 1779-1854) และชูลส์ เพอโรต์ (Jules Perrot, 1810-1892) ประกอบดนตรีที่แต่งโดยอดอล์เฟ แอดัม (Adolphe Adam, 1803-1856) คำร้องโดยชูลส์-อองรี เวอร์นอย เดอ แซงต์-จอร์จส (Jules-Henri Vernoy de Saint-Georges, 1799-1875) ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากบทกวีของไฮน์ริช ไฮน์ กวีชาวเยอรมันคนสำคัญ และจากผลงานของวิกตอร์ อูโก กวีชาวฝรั่งเศส บัลเลต์เรื่องนี้ออกแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและจีเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรายอะเกน

ทรายอะเกน (Try Again) เป็นซิงเกิลที่ 40 ของไม คุรากิ ออกจำหน่ายวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: Oggและทรายอะเกน · ดูเพิ่มเติม »

ทริสทานอุนท์อิโซลเดอ

ทริสทานกับอิโซลเดอ การแสดงในปี 1865 ทริสทาน อุนท์ อิโซลเดอ (Tristan und Isolde) เป็นอุปรากรภาษาเยอรมันความยาว 3 องก์ แต่งคำร้องและทำนองโดยริชาร์ด วากเนอร์ ดัดแปลงมาจากตำนานในยุคกลางเรื่อง ทริสทาน ของก็อตฟรีด ฟอน สตราสบูร์ก เนื้อเรื่องกล่าวถึงเรื่องราวในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เกี่ยวกับความรักต้องห้ามของ ทริสทาน อัศวินหนุ่ม กับอิโซล เจ้าสาวของกษัตริย์มาร์กแห่งคอร์นวอลล์ผู้เป็นลุง เป็นตำนานเคลต์ที่เล่าขานกันยุโรป และคาดว่ามีอิทธิพลต่อเรื่องราวเชิงโรแมนซ์ของลันซล็อตกับกุยนิเวียร์ ในเรื่องตำนานกษัตริย์อาเธอร์ วากเนอร์ประพันธ์เรื่องนี้โดยได้รับอิทธิพลมาจากเรื่องส่วนตัว เกี่ยวกับกับความผูกพันเชิงชู้สาวกับมาทิลดา เวสเซนดองค์ (Mathilde Wesendonck, ค.ศ. 1828 – 1902) ภรรยาของออตโต เวสเซนดองค์ พ่อค้าผ้าไหมผู้สนับสนุนผลงานของวากเนอร์ ในขณะที่ตัววากเนอร์ก็ยังสมรสอยู่กับมินนา (Wilhelmine "Minna" Planer, ค.ศ. 1809 - 1866) ภรรยาคนแรก ต่อมาชีวิตสมรสของมินนากับวากเนอร์ก็จบลงเมื่อเธอค้นพบจดหมายรักที่วากเนอร์เขียนถึงมาทิลดา เธอตัดสินใจแยกกันอยู่กับวากเนอร์ในปี..

ใหม่!!: Oggและทริสทานอุนท์อิโซลเดอ · ดูเพิ่มเติม »

ทรูธ์/คะเซะโนะมุโกเอะ

ปก Limited A ปก Limited B ทรูธ์/คะเซะโนะมุโกเอะ ซิงเกิลที่ 23 ของวงบอยแบนด์ อาราชิ ซิงเกิลวางจำหน่ายทั้งหมดสามรูปแบบ: แบบปกติบรรจุเพลงทั้งหมดของซิงเกิลไว้ รวมทั้งเวอร์ชันคาราโอเกะ, แบบ limited editions 2 แบบ โดยแถมมิวสิกวิดีโอเพลงหน้าเอของแบบนั้น.

ใหม่!!: Oggและทรูธ์/คะเซะโนะมุโกเอะ · ดูเพิ่มเติม »

ทรีบิวต์ (อัลบั้มยานนี)

Tribute บริเวณพระราชวังต้องห้าม ประเทศจีน Tribute บริเวณทัชมาฮาล ประเทศอินเดีย ทรีบิวต์ (Tribute) เป็นอัลบั้มและวีดิทัศน์บันทึกการแสดงสดของยานนี ในดนตรีแนวนิวเอจ ถ่ายทำและบันทึกการแสดงที่ทัชมาฮาลในประเทศอินเดีย และพระราชวังต้องห้ามในประเทศจีน ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ทรีบิวต์เป็นอัลบั้มเพลงในรูปแบบแพคเก็ตอัลบั้ม ออกวางจำหน่ายในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ความยาว 67:13 นาที โดย Virgin Records ทรีบิวต์ เป็นอัลบั้มและบันทึกการแสดงสดของยานนีในบริเวณทัชมาฮาลและพระราชวังต้องห้าม ซึ่งต่อมาภายหลังได้นำการแสดงทั้งสองแห่ง มาตัดต่อและรวมรวมเป็นอัลบั้ม Tribute.

ใหม่!!: Oggและทรีบิวต์ (อัลบั้มยานนี) · ดูเพิ่มเติม »

ทหารพระนเรศวร

ป็นเพลงปลุกใจ ประพันธ์ทำนองโดย ท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ออกจำหน่ายเมื่อปี..

ใหม่!!: Oggและทหารพระนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565)

หน้าแรกของสำเนาโน้ตดนตรีโดยโยฮันน์ ริงค์ ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์, BWV 565 (Toccata and Fugue in D minor, BWV 565) เป็นบทประพันธ์สำหรับบรรเลงด้วยออร์แกน ที่สันนิษฐานว่าแต่งโดยโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: Oggและทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565) · ดูเพิ่มเติม »

ทาวิสุพลีบา

"ทาวิสุเพลบา" (ภาษาจอร์เจีย: თავისუფლება) เป็นชื่อเพลงชาติของสาธารณรัฐจอร์เจียในปัจจุบัน เพลงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 พร้อมกับธงชาติใหม่ซึ่งเรียกชื่อว่า "ธงห้ากางเขน" และตราแผ่นดินแบบใหม่ โดยการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดนี้เกิดขึ้นหลังจากมีการโค่นล้มรัฐบาลจอร์เจียชุดเก่าโดยปราศจากการนองเลือดในปีนั้น ทำนองเพลงมาจากอุปรากรจอร์เจียเรื่อง "เอบซาลอบและเอเตรี" (Abesalom da Eteri) และเรื่อง "รัตติกาล" (Daisi) ซึ่งเป็นผลงาน ซากาเรีย ปาลิอาชวิลี นักประพันธ์ชาวจอร์เจีย (ზაქარია ფალიაშვილი, Zakaria Paliashvili, พ.ศ. 2414 - พ.ศ. 2476) โดยอิโอเซป เกชากมัดเซ (იოსებ კეჭაყმაძე, Ioseb Kechakmadze) เป็นผู้ดัดแปลงทำนองเพื่อใช้เป็นเพลงชาติ ส่วนเนื้อร้องประพันธ์โดย ดาวิด มากราดเซ (David Magradze, დავით მაღრაძე).

ใหม่!!: Oggและทาวิสุพลีบา · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญของเรียม

''แผลเก่า'' ผลงานประพันธ์ของไม้ เมืองเดิม ที่ต่อมาได้สร้างเป็นภาพยนตร์และละครหลายครั้ง แผ่นเสียงเพลง ''ขวัญของเรียม'' ขับร้องโดยเพ็ญศรี พุ่มชูศรี ขวัญของเรียม หรือ ขวัญเรียม เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง แผลเก่า (พ.ศ. 2483) ประพันธ์คำร้องและทำนองโดยพรานบูรพ์ (จวงจันทร์ จันทร์คณา) ศิลปินคณะละครจันทโรภาส เสียงร้องที่ถูกบันทึกแผ่นเสียงแรกเป็นของส่งศรี จันทรประภา (หรือ ส่งศรี ยอห์นสัน) ซึ่งแสดงเป็น เรียม คู่กับสมพงษ์ จันทรประภา ที่รับบทเป็น ขวัญบูรพา อารัมภีร.

ใหม่!!: Oggและขวัญของเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ของขวัญจากก้อนดิน

ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ เพลงของขวัญจากก้อนดิน เป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 จัดทำโดยบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) แต่งโดยนิติพงษ์ ห่อนาค ขับร้องโดย ธงไชย แมคอินไตย์ โดยผู้ประพันธ์เพลง ตลอดจนผู้เรียบเรียงคำร้องทำนอง และผู้ขับร้อง ยินดีให้นำเพลงดังกล่าวไปแจกจ่าย ดาวน์โหลด ทำซ้ำ ขับร้องใหม่ ด้วยเจตนาที่ดีโดยไม่ต้องขออนุญาตทั้งสิ้น รวมถึงรายการโทรทัศน์และสื่อทุกสื่อไม่ต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร เพลงนี้ได้แรงบันดาลใจจากพระนาม "ภูมิพลอดุลยเดช" ซึ่งแปลว่า มีกำลังในแผ่นดินจนมิอาจชั่งได้ เนื้อหาในเพลงจึงสื่อถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า ทรงเป็นกำลังของแผ่นดินไทย อันเป็นศูนย์รวมใจของคนไทยทั้งขาติ โดยเพลงดังกล่าวเป็นเพลงเทิดพระเกียรติเพลงหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างสูงมากจากชาวไท.

ใหม่!!: Oggและของขวัญจากก้อนดิน · ดูเพิ่มเติม »

ขอเชิญท่านผู้วางใจ

ทำนองเพลงเริ่มต้น "ขอเชิญท่านผู้วางใจ" ขอเชิญท่านผู้วางใจ เป็นเพลงเทศกาลคริสต์มาส ซึ่งมีผู้แต่งเนื้อร้องจากหลายท่าน รวมทั้ง จอห์น ฟรานซิส เว..

ใหม่!!: Oggและขอเชิญท่านผู้วางใจ · ดูเพิ่มเติม »

ดวงใจกับความรัก

หรือ เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 6 ใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ได้พระราชนิพนธ์เมื่่อวันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: Oggและดวงใจกับความรัก · ดูเพิ่มเติม »

ดอกพุดตาน (เพลง)

อกพุดตาน เป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ประพันธ์คำร้องโดยชอุ่ม ปัญจพรรค์ ทำนองโดยสมพงษ์ ทิพยกลิน ขับร้องโดยพูนศรี เจริญพงษ์ เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและดอกพุดตาน (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ดอกคูน (เพลง)

ลง"ดอกคูน" แต่งเมื่อ ปี พ.ศ. 2515 คำร้องและทำนองโดย เวียรชัย พรหมสาขา ณ สกลนคร ขับร้องโดย เล็ก นิรมล หรือ นิรมล ทองสอดแสง (ผู้มีน้ำเสียงเหมือน สวลี ผกาพันธ์) ใช้เป็นเพลงประกอบละครโทรทัศน์ (ช่อง 5 ขาว-ดำ ขอนแก่น) ต่อมาได้ส่งเพลงนี้เข้าประกวดตามโครงการส่งเสริมนักร้องนักประพันธ์เพลง จัดโดยศูนย์คนตรีวาทินี เมื่อปี พ.ศ. 2527 ได้รับรางวัลที่ 2 (รางวัลที่ 1 คือเพลง สื่อรัก ของ สมชาย พรปรีชา) และศูนย์ดนตรีวาทินีได้ทำการบันทึกเป็นแผ่นเสียงขับร้องโดย ชื่นชม ยมสังข์ รับข้อมูลจาก "http://th.wikisource.org/wiki/ดอกคูน".

ใหม่!!: Oggและดอกคูน (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ดิสอิสอิต (เพลงไมเคิล แจ็กสัน)

"ดิสอิสอิต" (This Is It) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน เขียนโดยแจ็กสันและนักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดงชาวแคนาดา พอล แองคา ในผลงานสตูดิโออัลบั้มดิสอิสอิต ออกวางจำหน่ายในวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: Oggและดิสอิสอิต (เพลงไมเคิล แจ็กสัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดิสโก้

ก้ (Disco) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่ง สาขาย่อยของดนตรีแดนซ์ซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ที่ผสมผสานแนวฟังก์กับโซลเข้าด้วยกัน ดิสโก้ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วยยุคคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ตอนกลางถึงปลาย ศิลปินแนวดิสโก้ที่ได้รับความนิยมในยุคนั้น เช่น ดอนนา ซัมเมอร์, เดอะแจ็กสันไฟฟ์, แบร์รี ไวต์, บีจีส์, บอนนี เอ็ม. และแอ็บบ้า เป็นต้น ดิสโก้ได้ลดความนิยมไปในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980.

ใหม่!!: Oggและดิสโก้ · ดูเพิ่มเติม »

ดิซซี กิลเลสพี

อห์น เบิร์คส "ดิซซี" กิลเลสพี (21 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - 6 มกราคม ค.ศ. 1993) นักทรัมเป็ต หัวหน้าวง นักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน กิลเลซพี เป็นนักดนตรีคนสำคัญ ผู้นำดนตรีแจ๊ซอเมริกันเข้าสู่ยุคบีบ็อพ และโมเดิร์นแจ๊ซ ในช่วงทศวรรษ 1940 ควบคู่กับชาร์ลี พาร์กเกอร์ นอกการเล่นทรัมเป็ตแล้ว ดิซซี กิลเลสพี ยังมีความสามารถในการร้องเพลง เขาสามารถสแคต สลับกับการเล่นอิมโพรไวซ์ ทรัมเป็ตส่วนตัวของกิลเลสพี มีลักษณะพิเศษต่างจากทรัมเป็ตธรรมดาคือ ส่วนของปากแตรจะทำมุมทแยง 45 องศา ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1953 เสียงของทรัมเป็ตจะเพี้ยนไปเล็กน้อย แต่กิลเลสพีชอบเสียงที่เพี้ยนไปนี้ และใช้ทรัมเป็ตอันนี้ตลอดมา ผู้ชมการแสดงจะเห็นภาพกิลเลสพีเล่นทรัมเป็ตรูปร่างแปลกๆ กักลมไว้ในแก้มจนป่องสุด จนเป็นภาพที่คุ้นตา ดิซซี กิลเลสพี ถ่ายเมื่อปี 1988 ในปี ค.ศ. 1964 กิลเลสพีสมัครลงเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาแข่งกับลินดอน บี จอห์นสัน และแบร์รี โกลด์วอเทอร์ โดยมีนโยบายด้านcivil rights และถอนทหารออกจากสงครามเวียดนาม เขาประกาศจะเปลี่ยนชื่อทำเนียบขาว เป็น "ทำเนียบน้ำเงิน" (The Blues House) แต่งตั้งไมล์ส เดวิสให้เป็นผู้อำนวยการซีไอเอ รวมถึงคนอื่นๆ เช่น เรย์ ชาร์ลส และมัลคอล์ม เอ็กซ์ ให้มีตำแหน่งบริหาร กิลเลสพี เสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1993 ด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน ด้วยวัย 75 ปี วงดนตรี ดิซซี กิลเลสพี ออลสตาร์ บิ๊กแบนด์ ซึ่งประกอบด้วยนักดนตรีที่เคยร่วมงานกับกิลเลสพี ยังรวมวงและเล่นอยู่จนถึงปัจจุบัน และเข้ามาแสดงในประเทศไทย ในมหกรรมดนตรีแจ๊สเทิดพระเกียรติ 2549 Jazz Royale Festival จัดแสดงที่กรุงเทพ พัทยา เชียงใหม่ และภูเก็ต ระหว่างวันที่ 9 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: Oggและดิซซี กิลเลสพี · ดูเพิ่มเติม »

ดิเอนเตอร์เทนเนอร์

อนเตอร์เทนเนอร์ (The Entertainer, a rag time two step) เป็นผลงานประพันธ์ดนตรีแบบแร็กไทม์ สำหรับบรรเลงด้วยเปียโน ผลงานของสก็อต จอปลินในปี..

ใหม่!!: Oggและดิเอนเตอร์เทนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดุจบิดามารดร

ลงพระราชนิพนธ์ ดุจบิดามารดร เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประพันธ์ทำนองโดยท่านผู้หญิงพวงร้อย อภัยวงศ์ ขับร้องโดยสวลี ผกาพันธ์ และสันติ ลุนเผ่ บรรเลงโดยวงดุริยางค์ทหารเรือ.

ใหม่!!: Oggและดุจบิดามารดร · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีแอมเบียนต์

นตรีแอมเบียนต์ เป็นแนวเพลงที่เน้นเรื่องของเสียงมากกว่าตัวโน้ต เน้นบรรยากาศ สภาพสิ่งแวดล้อม ในธรรมชาติ แอมเบียนต์เกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นการนำสไตล์เพลงหลาย ๆ อย่างมารวมกัน ไม่ว่าจะเป็นแนวแจ๊ซ, อิเล็กทรอนิกส์, นิวเอจ, ร็อค แอนด์ โรล,ดนตรีคลาสสิก, เร็กเก้, เวิลด์มิวสิก หรือแม้กระทั่งเสียงทั่ว ๆ ไป (Noise) ไบรอัน อีโน่ (สมาชิกวง Roxy Music และโปรดิวเซอร์ของ U2 กับ เดวิด โบวี่) ให้คำนิยามดนตรีแอมเบียนต์ โดยเขียนนิยามดนตรีในอัลบั้มของเขาอัลบั้มชื่อ Ambient 1: Music for Airports ในปี 1978 ดนตรีแอมเบียนต์ เป็นดนตรีที่ไม่ได้เรียกร้องความสนใจ มันเหมือนเสียงบรรยากาศในสกอร์ประกอบหนังที่ไม่มีใครสังเกต เหมือนเสียงเพลงเบาๆ ในลิฟต์ที่ไม่มีใครใส่ใจ หรือเสียงซาวด์เอ็ฟเฟกต์ตามคลื่นวิทยุ ได้ซ่อนตัวเป็นเหมือนชั้นบรรยาก.

ใหม่!!: Oggและดนตรีแอมเบียนต์ · ดูเพิ่มเติม »

คริส เจริโค

ริสโตเฟอร์ คีท เออร์วิน (Christopher Keith Irvine) เกิดวันที่ 9 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: Oggและคริส เจริโค · ดูเพิ่มเติม »

คอปเปเลีย

Giuseppina Bozzachi รับบทเป็นสวอนฮิลด์ เป็นคนแรก เมื่อปี 1870 คอปเปเลีย (Coppélia) เป็นบัลเลต์ชวนหัวความยาว 3 องก์ ออกแบบท่าเต้นโดยอาร์เทอร์ แซงต์-ลีออง (Arthur Saint-Léon, 1821-1870) ประกอบดนตรีที่แต่งโดยลีโอ ดีลิบีส ประพันธ์คำร้องโดยแซงต์-ลีออง กับชาลส์ นุตตีเยร์ (Charles-Louis-Étienne Nuitter, 1828-1899) ดัดแปลงจากเรื่องสั้นภาษาเยอรมันสองเรื่องของอี. ที. เอ. ฮอฟมานน์ คือเรื่อง Der Sandmann (The Sandman) และ Die Puppe (The Doll) บัลลเต์เรื่องนี้ออกแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: Oggและคอปเปเลีย · ดูเพิ่มเติม »

คานท์ยูเอเวอร์ซี

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร (ในหลวง รัชกาลที่ ๙) อันดับที่ ๒๒ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและคานท์ยูเอเวอร์ซี · ดูเพิ่มเติม »

คำหวาน

ำหวาน (หรือ) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 10 ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพัน..

ใหม่!!: Oggและคำหวาน · ดูเพิ่มเติม »

คีย์สทูอิเมจิเนชัน

ีย์สทูอิเมจิเนชัน (Keys To Imagination) เป็นอัลบั้มลำดับที่ 2 ของยานนี ในดนตรีแนวนิวเอจ ในปี พ.ศ. 2529 ภายใต้การควบคุมดูแลของ ไปรเวตมิวสิก.

ใหม่!!: Oggและคีย์สทูอิเมจิเนชัน · ดูเพิ่มเติม »

คีตราชนิพนธ์ บทเพลงในดวงใจราษฎร์

ีตราชนิพนธ์ บทเพลงในดวงใจราษฎร์ เป็นโครงการภาพยนตร์สั้นโครงการพิเศษที่ร่วมมือกันระหว่างสองค่ายภาพยนตร์และสองเอกชน โดยมีบุญรอด บริวเวอร์รี่ และ สิงห์ คอร์ปอเรชัน เป็นผู้สนับสนุนหลัก โครงการดังกล่าวเป็นการจัดทำในวาระมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้แรงบันดาลใจจากพระอัจฉริยภาพทางด้านดนตรี ถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์สั้นสี่เรื่องสี่ความหมายสะท้อนชีวิตต่างวัย ภาพยนตร์ดังกล่าวเข้าฉายในประเทศไทยครั้งแรกวันที่ 7-10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: Oggและคีตราชนิพนธ์ บทเพลงในดวงใจราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505

แผนที่ฝรั่งเศส ฉบับที่กัมพูชาส่งให้ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศใช้พิจารณา คดีปราสาทพระวิหาร เป็นความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรกัมพูชากับราชอาณาจักรไทย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2501 จากปัญหาการอ้างสิทธิเหนือบริเวณปราสาทพระวิหาร ซึ่งตั้งอยู่ที่ชายแดนไทยด้านอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และชายแดนกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร เกิดจากการที่ทั้งไทยและกัมพูชา ถือแผนที่ปักปันเขตแดนตามแนวสันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ทำให้เกิดปัญหาพื้นที่ทับซ้อนของทั้งสองฝ่ายในบริเวณที่เป็นที่ตั้งของตัวปราสาท โดยทั้งฝ่ายกัมพูชาและฝ่ายไทยได้ยินยอมให้มีการพิจารณาปัญหาดังกล่าวขึ้นที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2502 คดีนี้ศาลโลกได้ตัดสินให้ตัวปราสาทพระวิหารตกเป็นของกัมพูชา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ด้วยคะแนนเสียง 9 ต่อ 3 ท่ามกลางความไม่พอใจของฝ่ายไทย ซึ่งเห็นว่าศาลโลกตัดสินคดีนี้อย่างไม่ยุติธรรม อย่างไรก็ตาม การตัดสินคดีครั้งนี้ไม่ได้แก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาในบริเวณดังกล่าวให้หมดไป และยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังต่อมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: Oggและคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

คนึงครวญ

right คนึงครวญ เป็นเพลงของวงสุนทราภรณ์ ซึ่งประพันธ์ทำนองโดย หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ประพันธ์คำร้องโดย แก้ว อัจฉริยะกุล ขับร้องครั้งแรกโดย เพ็ญศรี พุ่มชูศรี และได้รับการประพันธ์คำร้องเป็นภาษาอังกฤษ ชื่อเพลง My Heart's Calling You โดยสดใส วานิชวัฒนา (รองศาสตราจารย์สดใส พันธุมโกมล).

ใหม่!!: Oggและคนึงครวญ · ดูเพิ่มเติม »

ค่ำแล้ว

ำแล้ว หรือ Lullaby เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๔ พระราชนิพนธ์เมื่อเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: Oggและค่ำแล้ว · ดูเพิ่มเติม »

งูหางกระดิ่ง

งูหางกระดิ่ง (Rattlesnakes) เป็นชื่อสามัญของงูพิษจำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์งูแมวเซา (Viperidae) จัดอยู่ใน 2 สกุล คือ Crotalus และ Sistrurus ในวงศ์ย่อย Crotalinae (Crotalus มาจากภาษากรีก มีความหมายว่า "Castanet" ส่วนคำว่า Sistrurus นั้นเป็นภาษาละตินที่มีความหมายในภาษากรีกว่า "Tail rattler" และมีความหมายตามรากศัพท์เดิมว่า "เครื่องดนตรี") งูหางกระดิ่ง มีลักษณะเด่น คือ เกล็ดที่ปลายหางที่เป็นสารประกอบเคอราติน ที่เป็นอวัยวะที่สามารถทำให้เกิดเสียงได้ โดยเสียงนั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนถี่ ๆ ของปล้องเกล็ดเป็นข้อ ๆ ที่หาง ซึ่งปล้องเกล็ดนี้พัฒนามาจากเกล็ดหางส่วนปลายนั่นเอง ทุกครั้งที่มีการลอกคราบปล้องเกล็ดนี้ก็จะเพิ่มจำนวนขึ้นด้วย 1 ปล้องต่อการลอกคราบ 1 ครั้ง การลอกคราบนั้นอาจเกิดขึ้นหลายครั้งใน 1 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับอาหารที่ได้รับและอัตราการเติบโต สำหรับลูกงูที่เกิดใหม่นั้นจะมีปล้องเกล็ดที่หาง 1 ปล้อง ซึ่งยังไม่สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ แต่เมื่อผ่านการลอกคราบครั้งแรกไปแล้วก็สามารถสั่นให้เกิดเสียงได้ การสั่นให้เกิดเสียงนั้นก็เพื่อเป็นการข่มขู่เมื่อพบศัตรูเข้ามาใกล้นั่นเองหน้า 410, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดย วีรยุทธ์ เลาหะิจินดา (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 งูหางกระดิ่ง ปัจจุบันพบกว่า 30 ชนิด ทุกชนิดพบได้ในทวีปอเมริกาเหนือจนถึงอเมริกากลาง เช่น เม็กซิโก โดยมากจะอาศัยและหากินในที่ ๆ แห้งแล้ง เช่น ทะเลทราย และหากินบนพื้นดินมากกว่าจะขึ้นต้นไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน โดยใช้การตรวจจับคลื่นความร้อนจากรังสีอินฟาเรดจากตัวเหยื่อด้วยอวัยวะรับคลื่นความร้อนที่เป็นแอ่งระหว่างช่องเปิดจมูกกับตา เป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทำให้มนุษย์ที่ถูกกัดเสียชีวิตได้ สำหรับภูมิภาคอื่นที่ไม่มีงูหางกระดิ่ง แต่ก็มีงูบางชนิดในวงศ์เดีัยวกันนี้ ที่เกล็ดตามลำตัวสามารถเสียดสีทำให้เกิดเสียงดังได้เพื่อขู่ศัตรู เช่น งูพิษเกล็ดเลื่อย (Echis carinatus) ในประเทศอินเดีย เป็นต้น.

ใหม่!!: Oggและงูหางกระดิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลคุ้งตะเภา

ตำบลคุ้งตะเภา เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ตำบลคุ้งตะเภาเป็นตำบลขนาดใหญ่ที่มีประวัติความเป็นมายาวนานกว่าสองร้อยปี เดิมการปกครองของตำบลคุ้งตะเภาขึ้นอยู่กับตำบลท่าเสา อำเภอบางโพ (อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน) ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2490 จึงได้แยกการปกครองจากตำบลท่าเสามาตั้งเป็นตำบลใหม่ ปัจจุบันแบ่งหน่วยการปกครองเป็นหมู่บ้าน 6 หมู่บ้าน มีประชากร 8,735 คน เป็นชาย 4,265 คน หญิง 4,470 คน ประชากรตำบลคุ้งตะเภาส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีศาสนสถานในเขตตำบล 7 แห่ง สถานีอนามัยประจำตำบล 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 6 โรง มีแหล่งน้ำอุปโภคบริโภคที่สำคัญคือ แม่น้ำน่าน เส้นทางคมนาคมหลักคือ ถนนสายเอเชีย (ทางหลวงหมายเลข 11) ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบัน นายไพทูรย์ พรหมน้อย เป็นกำนันตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งในปัจจุบันตำบลคุ้งตะเภามีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับ เทศบาลตำบล มีพื้นที่ตลอดทั้งตำบลคุ้งต.

ใหม่!!: Oggและตำบลคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2

ซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2 (Samsung Galaxy Note II) คือสมาร์ตโฟนระบบจอสัมผัส และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ที่พัฒนาโดย ซัมซุง อิเล็คทรอนิคส์ ซึ่งเป็นรุ่นที่ต่อมาจากรุ่น ซัมซุง กาแลคซี โน้ต โดยเปิดตัวเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2555 โดยมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เวอร์ชัน 4.1 "เจลลี บีน" เป็นมาตรฐาน.

ใหม่!!: Oggและซัมซุง กาแลคซี โน้ต 2 · ดูเพิ่มเติม »

ซานตาลูชีอา

ซานตาลูชีอา (Santa Lucia) เป็นเพลงพื้นเมืองภาษานาโปลี ซึ่งได้รับการแปลงเนื้อร้องเป็นภาษาอิตาลี โดยเตโอโดโร กอตตราอู (Teodoro Cottrau; 1827–1879) ในปี ค.ศ. 1849 ที่เมืองเนเปิลส์ เนื้อร้องบรรยายถึงทัศนียภาพอันงดงามในอ่าวเนเปิลส์ ด้านหน้าย่านชุมชนบอร์โกซานตาลูชีอา คนเรือเชื้อเชิญให้ผู้คนลงเรือเพื่อชมความงามของท้องทะเลยามพระอาทิตย์ตก เพลงนี้ถูกนำไปขับร้องในภาษาต่าง ๆ มากมาย เช่นที่ขับร้องโดยเอนริโก คารูโซ, มาริโอ แลนซา และเอลวิส เพรสลีย์ ในสหรัฐอเมริกา เป็นเพลงขับร้องสรรเสริญในเทศกาลนักบุญลูซีอา (Saint Lucy) ในสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เว.

ใหม่!!: Oggและซานตาลูชีอา · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนี

ซิมโฟนี (Symphony) เป็นดนตรีประเภทหนึ่ง เป็นดนตรีประกอบเพิ่มเติมในดนตรีคลาสสิกตะวันตก ซึ่งต้องบรรเลงเกือบตลอดเวลาสำหรับวงดนตรี ซิมโฟนีมักจะมีเครื่องดนตรีอย่างน้อยหนึ่งชนิดมาประกอบด้วยตามหลักการโซนาตา วงดนตรีที่บรรเลงดนตรีแบบซิมโฟนีนั้นเรียกว่า วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ซึ่งในวงจะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีครบทั้งสี่ชนิด ตัวอย่างเพลงซิมโฟนี หมวดหมู่:ดนตรีคลาสสิก.

ใหม่!!: Oggและซิมโฟนี · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)

ซิมโฟนีหมายเลข 40 ในบันไดเสียง จี ไมเนอร์ (Symphony No.) ผลงานประพันธ์ของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทในปี..

ใหม่!!: Oggและซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 5 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Symphony No. 5 in C Minor) ของเบโทเฟิน เป็นผลงานที่เขาประพันธ์ขึ้นในช่วง ค.ศ. 1804-1808 โอปุส 67 (Opus 67) ซิมโฟนีบทนี้นับว่าเป็นหนึ่งในงานดนตรีคลาสสิกที่ได้รับความนิยมสูงสุด และรู้จักกันแพร่หลายที่สุด รวมทั้งถูกนำออกแสดงและได้รับการบันทึกเสียงมากที่สุดบทหนึ่ง ซิมโฟนีบทนี้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักอย่างรวดเร็ว หลังจากนำออกแสดงครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1808 ในเวลานั้น เอินสท์ เธโอดอร์ อมาดิอุส ฮอฟมันน์ (Ernst Theodor Amadeus Hoffmann) ได้บรรยายเอาไว้ว่า "นับเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นสำคัญที่สุดแห่งยุค" บทเพลงนี้ขึ้นต้นด้วยตัวโน้ตหลักเพียง 4 พยางค์ เนื่องจากโน้ตหลัก 4 ตัวของเพลงคล้ายกับ(คือ จุด จุด จุด ขีด) ที่ตรงกับอักษรโรมัน V โน้ตหลักนี้จึงใช้เป็นเครื่องหมายของคำว่า "victory" (ชัยชนะ) ในพิธีเปิดการออกอากาศสถานีวิทยุบีบีซี (BBC) ของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นความคิดของวิลเลียม สตีเฟนสัน (William Stephenson).

ใหม่!!: Oggและซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 6 (เบโทเฟน)

น้ตดนตรีต้นฉบับลายมือเบโทเฟน ซิมโฟนีหมายเลข 6 ในบันไดเสียง เอฟ เมเจอร์ (Symphony No. 6 in F major) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ เดอะ ปาสโตราล (The Pastoral) `หรือ ปาสโตราล ซิมโฟนี (Pastoral Symphony) เป็นผลงานที่เบโทเฟนเริ่มแต่งเมื่อราว..

ใหม่!!: Oggและซิมโฟนีหมายเลข 6 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟน)

น้ตดนตรีต้นฉบับของเบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 9 ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (Symphony No. 9 in D minor) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน รู้จักกันในชื่อ คอรัล ซิมโฟนี (Choral Symphony) เป็นผลงานซิมโฟนีชิ้นสุดท้ายที่เบโทเฟินแต่งได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์ เริ่มแต่งเมื่อราว..

ใหม่!!: Oggและซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเวอร์แชร์

ซิลเวอร์แชร์ เป็นวงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากออสเตรเลีย แรกเริ่มรวมตัวกันในชื่อวง อินโนเซนต์คริมินอลส์ (Innocent Criminals) ที่นิวคาสเซิล นิวเซาธ์เวลส์ ในปี ค.ศ. 1992 โดยมีสมาชิกตั้งแต่เริ่มก่อนตั้งวงคือ ดาเนียล จอห์นส (ร้องนำและกีตาร์), คริส โจนนาว (กีตาร์เบส) และ เบน จิลลีส์ (กลอง) วงประสบความสำเร็จกลางปี..

ใหม่!!: Oggและซิลเวอร์แชร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซุอิตแบร์กามัสก์

น้ตดนตรีท่อน "Clair de lune," จากมูฟเมนต์ที่สามของ ''Suite bergamasque'' ซุอิตแบร์กามัสก์ (Suite bergamasque) เป็นสวีตสำหรับบรรเลงด้วยเปียโนที่แต่งโดยโกลด เดอบูว์ซี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: Oggและซุอิตแบร์กามัสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย

ซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย (Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย) เป็นภาพยนตร์ไทย เรื่องราวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเด็กวัยรุ่น 3 คน ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปี ที่ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่เปลี่ยนไป ภาพยนตร์เรื่องนี้ กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร และเข้าฉาย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: Oggและซีซันส์เชนจ์ เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2007

กีฬาซีเกมส์ 2007 เป็นการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ ครั้งที่ 24 ซึ่งจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 การจัดการแข่งขันครั้งนี้ ถือเป็นหนึ่งในการเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช กีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 24 ถือเป็นการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันครั้งที่ 6 ของประเทศไท.

ใหม่!!: Oggและซีเกมส์ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต

ซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต (Secret of my heart) เป็นซิงเกิลลำดับที่ 3 ของไม คุรากิ มีรหัสซีดี GZCA-1030 ออกจำหน่ายวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2543 ใช้เป็นเพลงประกอบอะนิเมะ เรื่องยอดนักสืบจิ๋วโคนัน.

ใหม่!!: Oggและซีเคร็ตออฟมายฮาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน

ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน (Der Ring des Nibelungen; The Ring of the Nibelung) เป็นปกรณัมชุดของริชาร์ด วากเนอร์ คีตกวีชาวเยอร์มัน ที่ใช้เวลาแต่งถึง 26 ปี ตั้งแต..

ใหม่!!: Oggและปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน · ดูเพิ่มเติม »

ปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนีย

ปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนีย (Патриотическая Песня, Patrioticheskaya Pesnya; คำแปลในภาษาอังกฤษ: "A Patriotic Song" หรืออาจแปลเป็นชื่อภาษาไทยได้ว่า "เพลงของผู้รักชาติ") เป็นเพลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (Russian SFSR) และสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2543 คำแปลของชื่อเพลงนี้ ยังสามารถหมายถึงเพลงชาติเกาหลีเหนือและเพลงชาติเกาหลีใต้ได้ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: Oggและปาตรีโอตีเชสกายาเปสเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ปาติโมกข์

ระสงฆ์สวดปาติโมกข์ในอุโบสถ ปาติโมกข์ หมายถึง คัมภีร์ที่รวมวินัยของสงฆ์ 227 ข้อ คัมภีร์ที่ประมวลพุทธบัญญัติอันทรงตั้งขึ้นเป็นพุทธอาณา มีพุทธานุญาต ให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ ทุกกึ่งเดือน เรียกกันว่า สงฆ์ทำอุโบสถ บทปาติโมกข์เหล่านี้ปรากฏอยู่ในพระวินัยปิฎก หมวดสุตตวิภังค์ มีพุทธานุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อได้ เมื่อมีเหตุจำเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ.

ใหม่!!: Oggและปาติโมกข์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี

ปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี (Пётр Ильи́ч Чайко́вский; Pyotr Ilyich Tchaikovsky) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ปีเตอร์ อิลิช ไชคอฟสกี เป็นคีตกวีชาวรัสเซีย เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2383 (ค.ศ. 1840) ที่เมืองโวทคินสค์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ที่ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ไชคอฟสกีเกิดในครอบครัวผู้มีอันจะกิน ชีวิตของเขาเต็มไปด้วยความขัดแย้งระหว่างความหรูหราและการอดมื้อกินมื้อ ข่าวอื้อฉาว และความต้องการเป็นที่ยอมรับ เขาได้รับการศึกษาจากวิทยาลัยดนตรีแห่งนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ภายใต้การดูแลของอันทอน รูบินสไตน์ จากนั้นถูกเรียกให้ไปเป็นครูสอนวิชาเรียบเรียงเสียงประสานให้แก่น้องชายของรูบินสไตน์ที่กรุงมอสโก ที่มอสโกนี่เองที่เขาได้ประพันธ์ผลงานสำคัญหลายชิ้น เป็นต้นว่าซิมโฟนีหมายเลขหนึ่ง ชื่อ ความฝันในเหมันตฤดู เขาสมรสในปี พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ด้วยความมุ่งมั่นที่จะรักษาความขัดแย้งภายในตนว่าเขาเป็นพวกรักร่วมเพศ แต่ความล้มเหลวของชีวิตแต่งงาน ที่เป็นที่โจษจันว่าอยู่กันอย่างไร้ความรักกับเจ้าสาวที่เป็นศิษย์ของเขาเอง ทำให้เขาเกือบฆ่าตัวตายสำเร็จ อารมณ์ของเขามั่นคงขึ้นในปี พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880) เมื่อเขาได้ออกเดินทางไปทั่วทวีปยุโรป ประเทศอิตาลีได้สร้างแรงบันดาลใจให้เขาประพันธ์ผลงานหลายชิ้น รวมทั้งบทเพลงชื่อ คราพริชิโอ อิตาเลียน (capriccio italien) เขาประสบความสำเร็จหลายครั้งและได้พบปะกับคีตกวีเลื่องชื่อร่วมสมัย เป็นต้นว่า โยฮันเนส บราห์ม แอนโทนิน ดโวชาค ฯลฯ เขาเดินทางไปถึงสหรัฐอเมริกาเพื่อเปิดการแสดง ไชคอฟสกีเสียชีวิตในปีพ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ด้วยอหิวาตกโรคแต่บางกระแสกล่าวว่าเขาถูกบังคับให้ดื่มยาพิษฆ่าตัวตาย จากข้อหารักร่วมเพศ เพลงของเขาเป็นสะพานเชื่อมระหว่างดนตรีตะวันตกกับดนตรีรัสเซีย ด้วยการนำเสนอแบบร่วมสมัย ซึ่งรวมถึงคีตกวีโมเดสต์ มูสซอร์กสกี และ กลุ่มคีตกวีทั้งห้า ซึ่งเขาได้สร้างมิตรภาพกับพวกเขาเหล่านั้นไว้ด้ว.

ใหม่!!: Oggและปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

นการากู

ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์. เนอการากู (โรมัน: Negaraku, ยาวี: نڬاراكو, แปลว่า "แผ่นดินของข้า") เป็นเพลงชาติของสหพันธรัฐมาเลเซีย เพลงนี้ได้รับเลือกให้เป็นเพลงชาติมาเลเชียเมื่อสหพันธรัฐมาลายาได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2500 ทำนองเพลงนี้เดิมใช้เป็นเพลงสรรเสริญประจำรัฐเประก์ ซึ่งเพลงนี้ได้หยิบยืมทำนองมาจากเพลงฝรั่งเศสที่มีชื่อว่า "ลา โรซาลี" (La Rosalie) อีกชั้นหนึ่ง ผู้ประพันธ์ทำนองเพลงนี้คือ ปีแยร์-ฌอง เดอ เบรังเยร์ (Pierre-Jean de Béranger) ชาวฝรั่งเศสผู้มีชีวิตอยู่ระหว่างปี..

ใหม่!!: Oggและนการากู · ดูเพิ่มเติม »

นกแก้วคาคาโป

นกแก้วคาคาโป (เมารี: kākāpō) เป็นภาษามาวรี มีความหมายว่า "นกแก้วกลางคืน" เป็นนกที่อยู่ในวงศ์ Strigopidae มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Strigops habroptilus นกแก้วคาคาโป บ้างก็เรียกว่า "นกแก้วฮูก" ซึ่งเป็นนกแก้วที่บินไม่ได้ที่พบในนิวซีแลนด์เท่านั้น ถือเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของวิวัฒนาการบนเกาะโดดเดี่ยว ทำให้มีรูปลักษณ์พิเศษ โดยบรรพบุรุษร่วมของนกแก้วคาคาโปและนกในสกุล Nestor ในวงศ์ใหญ่เดียวกัน คือ วงศ์ Strigopoidea ได้แยกไปอยู่ต่างหากจากนกแก้วชนิดอื่น ๆ หลังจากนิวซีแลนด์แยกตัวออกจากทวีปกอนด์วานา เมื่อประมาณ 82 ล้านปีก่อน จากนั้นอีก 12 ล้านปีต่อมาหรือประมาณ 70 ล้านปีก่อน นกแก้วคาคาโปจึงแยกออกจากนกสกุล Nestor ชัดเจน จากสภาพแวดล้อมที่ไม่มีสัตว์นักล่าบนเกาะนิวซีแลนด์ ทำให้นกแก้วคาคาโปมีวิวัฒนาการเป็นนกแก้วชนิดเดียวในโลกที่บินไม่ได้ และยังครองสถิติอีกหลายอย่าง คือเป็นนกแก้วที่มีน้ำหนักมากที่สุดในโลก มีขนาดตัวระหว่าง 59-64 เซนติเมตร และหนักถึง 4 กิโลกรัม นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่ามันเป็นนกแก้วที่มีอายุยืนที่สุดด้วย โดยมีสถิติพบอายุยืนที่สุดถึง 100 ปี อีกทั้งเป็นนกแก้วชนิดเดียวในโลกที่หากินตอนกลางคืน และมีระบบการผสมพันธุ์ที่ตัวผู้จะอยู่ในอาณาเขตหรือรังของตัวเองและส่งเสียงเรียกตัวเมีย ซึ่งมีเสียงร้องคล้ายเสียงกบและจะร้องติดต่อกันนานถึง 3 เดือน วันละ 8 ชั่วโมง และเสียงร้องจะได้ยินไปไกลถึง 5 กิโลเมตร.

ใหม่!!: Oggและนกแก้วคาคาโป · ดูเพิ่มเติม »

นครราช

นครราช (នគររាជ นครราช) เป็นชื่อของเพลงชาติกัมพูชาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ มีความหมายว่า "เมืองของพระเจ้าแผ่นดิน" ทำนองของเพลงประพันธ์ขึ้นโดยอาศัยทำนองของเพลงเขมรโบราณที่มีชื่อเดียวกันเมื่อ พ.ศ. 2481 โดยพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสุรามฤต (เมื่อครั้งยังเป็นกรมขุนวิสุทธิ์ขัตติยวงศ์นโรดมสุรามฤต) ร่วมกันกับครูเพลงชาวฝรั่งเศส 2 คน คือ F. Perruchot และ J. Jekyll ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้น ภายหลังการราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุเสร็จสิ้นไปได้ไม่เกิน 3 เดือน (ราชาภิเษกเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) และสำเร็จเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 โดยสมเด็จพระมหาสุเมธาธิบดี (ชวน ณาต โชตญาโณ) สมเด็จพระสังฆราชในคณะสงฆ์มหานิกาย แต่ครั้งยังเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เพลงนครราชเริ่มใช้เป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2484 ในฐานะเพลงสรรเสริญพระบารมี (Royal anthem) และเริ่มใช้เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อประเทศกัมพูชาประกาศเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2496 ต่อมาใน พ.ศ. 2512 เมื่อนายพลลน นลล้มรัฐบาลของสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุ และสถาปนาสาธารณรัฐเขมรขึ้นแทนที่ เพลงนครราชจึงถูกยกเลิกฐานะของเพลงชาติไป ต่อมาเมื่อรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรล่มสลายในปี..

ใหม่!!: Oggและนครราช · ดูเพิ่มเติม »

แบลงก์สเปซ

"แบลงก์สเปซ" (Blank Space) เป็นเพลงของนักร้อง นักร้องเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ จากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ห้า 1989 (2014) เพลงเขียนโดยสวิฟต์ แมกซ์ มาร์ติน และเชลล์แบ็ก เพลงออกจำหน่ายทางคลื่นวิทยุเพลงร่วมสมัยโดยสังกัดรีพับลิกเรเคิดส์ ในวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: Oggและแบลงก์สเปซ · ดูเพิ่มเติม »

แก้วตาขวัญใจ

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๒ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและแก้วตาขวัญใจ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์วีอาร์

แวร์วีอาร์ (Where We Are) คืออัลบั้มลำดับที่ 10 ของเวสท์ไลฟ์ วงบอยแบนด์ชาวไอริช มีกำหนดการออกจำหน่ายในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ในสหราชอาณาจักรและแอฟริกาใต้ และในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ในยุโรป อัลบั้ม แวร์วีอาร์ ได้ใช้เพลง "วอตอะเบาต์นาว" เพลงเดิมของวง Daughtry เป็นซิงเกิลแรก ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ในรูปแบบดิจิตอลดาวน์โหลดและในรูปแบบซีดีในวันถัดมา มิวสิกวิดีโอ เพลง "วอตอะเบาต์นาว" ปฐมทัศน์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ผ่านเว็บไซต์อย่างเป็นทางการของเวสท์ไลฟ์และสถานีโทรทัศน์ดนตรีในสหราชอาณาจักร เวสท์ไลฟ์ประชาสัมพันธ์อัลบั้ม แวร์วีอาร์ ผ่านรายการ เอ็กซ์แฟกเตอร์ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับอัลบั้มในรายการ เดอะวันโชว์ ในวันที่ 30 ตุลาคมhttp://www.westlife.com/news/2009/10/22/westlife_on_tv_2.

ใหม่!!: Oggและแวร์วีอาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แวนเจลิส

อีแวนเจลอส โอดิซซีซ์ พาพาธานาซโซ (Evangelos Odysseas Papathanassiou กรีก: Ευάγγελος Οδυσσέας Παπαθανασίου) (เกิด 29 มีนาคม ค.ศ. 1943 -) นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวกรีก มีผลงานในแนวดนตรีอีเลกโทรนิก นิวเอจ โพรเกรสซีฟร็อก แอมเบียนต์ โดยใช้ชื่อในการแสดงว่า แวนเจลิส (Vangelis กร่อนมาจากชื่อ Evangelos; อ่านว่า /vænˈgɛlɨs/) ผลงานของแวนเจลิสที่มีชื่อเสียง คือดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Chariots of Fire (ชื่อไทย: เกียรติยศแห่งชัยชนะ) ในปี..

ใหม่!!: Oggและแวนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

แว่ว

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๑ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองและคำร้องภาษาอังกฤษพร้อมกันใน..

ใหม่!!: Oggและแว่ว · ดูเพิ่มเติม »

แสงเทียน

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์เพลงแรก ทรงพระราชนิพนธ์ในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: Oggและแสงเทียน · ดูเพิ่มเติม »

แสงเดือน

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๗ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นใน..

ใหม่!!: Oggและแสงเดือน · ดูเพิ่มเติม »

แอพพลอส (เพลง)

แอพพลอส เป็นซิงเกิลของนักร้องอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้มที่ 3 ของเธอ อาร์ตป็อป(2013) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ DJ White Shadow ซึ่งเป็นเพลงเปิดตัวอัลบั้มอย่างเป็นทางการ ที่ปล่อยออกมาอย่างเป็นทางการทั่วโลกในวันที่ 12 สิงหาคม 2556 โดยตามจริงแล้วกาก้าได้ประกาศก่อนหน้านี้ว่า ซิงเกิลจะปล่อยอย่างเป็นทางการในวันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดยค่ายอินเตอร์สโคป แต่เนื่องจากมีผู้เจาะข้อมูลของกาก้า พยายามดึงเพลงนี้ออกมาทีละท่อน จนกาก้าตัดสินใจปล่อยเพลงก่อนกำหนดหนึ่งอาทิตย์เพื่อหลีกเลี่ยงผู้ที่เจาะข้อมูลดังกล่าว.

ใหม่!!: Oggและแอพพลอส (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ออนจีสตริง

แอร์ออนจีสตริง เป็นงานดนตรีสำหรับบรรเลงด้วยเครื่องสายและไวโอลิน เรียบเรียงโดยออกุสต์ วิลเฮล์ม ดัดแปลงจากมูฟเมนต์ที่สองของ Aria สวีตสำหรับออร์เคสตราหมายเลข 3 ในบันไดเสียง ดี เมเจอร์ (BWV 1068) ของโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ที่แต่งขึ้นสำหรับเจ้าชายลีโอโปลด์แห่งอันฮาลท์-เคอเทิน ระหว่างปี..

ใหม่!!: Oggและแอร์ออนจีสตริง · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาล

เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..

ใหม่!!: Oggและแองเตอร์นาซิอองนาล · ดูเพิ่มเติม »

แฮนส์ออลโอเวอร์ (เพลงมารูนไฟฟ์)

"แฮนส์ออลโอเวอร์" (Hands All Over) เป็นเพลงของวงดนตรีอเมริกัน มารูนไฟฟ์ จากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สามที่มีชื่อเดียวกัน เพลงเขียนโดยแอดัม เลอวีน เจสซี คาร์ไมเคิล แซม ฟาร์ราร์ ขณะที่กระบวนการผลิตดำเนินการโดยโรเบิร์ต จอห์น "มัตต์" แลง "แฮนส์ออลโอเวอร์" เป็นเพลงแนวฟังก์เมทัลและร็อก มีเครื่องดนตรีประกอบด้วยโทนอิเล็กทรอนิกส์ กลอง กีตาร์ เปียโน และเครื่องตี ร่วมกับเสียงร้องเบื้องหลังที่หนักแน่น เนื้อเพลงพูดถึงความเซ็กซี่ เพลงได้รับคำวิจารณ์ทั่วไปในด้านบวก นักวิจารณ์บางคนบอกว่าเป็นเพลงที่ดีที่สุดในอัลบั้ม เพลงถูกนำไปเปรียบเทียบกับเพลงของพรินซ์ ไนน์อินช์เนลส์ และที่โดดเด่นคือวงดนตรีอังกฤษ เดฟเล็ปเพิร์ด หลังจากออกอัลบั้ม "แฮนส์ออลโอเวอร์" เปิดตัวที่ชาร์ตหลายชาร์ตในประเทศเกาหลีใต้และสเปน เพลงขึ้นอันดับที่ 20 บนแกออนชาร์ต และอันดับที่ 38 บนชาร์ตซิงเกิลของสเปน ตามลำดับ มิวสิกวิดีโอถ่ายทำโดยดอน ไทเลอร์ เผยแพร่วันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: Oggและแฮนส์ออลโอเวอร์ (เพลงมารูนไฟฟ์) · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินของเรา (เพลงพระราชนิพนธ์)

(Alexandra) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 34 ทรงพระราชนิพนธ์โอกาสที่เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเคนท์ สหราชอาณาจักร เสด็จเยือนประเทศไทย ใน..

ใหม่!!: Oggและแผ่นดินของเรา (เพลงพระราชนิพนธ์) · ดูเพิ่มเติม »

แด่ทหารหาญในสมรภูมิ

ป็นเพลงปลุกใจที่ประพันธ์ขึ้นในปี..

ใหม่!!: Oggและแด่ทหารหาญในสมรภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

แคลริเน็ตคอนแชร์โต (โมซาร์ท)

K.622‐1 แคลริเน็ตคอนแชร์โต ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (Clarinet concerto in A major, K. 622) ผลงานประพันธ์ของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท เป็นคอนแชร์โตสำหรับแคลริเน็ต ที่โมซาร์ทแต่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: Oggและแคลริเน็ตคอนแชร์โต (โมซาร์ท) · ดูเพิ่มเติม »

แคลนนาด

แคลนนาด เป็นวงดนตรีไอริช จากเมือง Gweedore, County Donegal ประเทศไอร์แลนด์ เล่นดนตรีในแนวโฟล์ก เคลติก ป็อปร็อก และนิวเอจ ร้องเพลงในภาษาอังกฤษ ละติน โมฮิแกน แกลิก ในสำเนียงไอริช มียอดขายผลงานกว่า 15 ล้านชุดทั่วโลก (ข้อมูลปี 2008) และยังคว้ารางวัลแกรมมี่ ในปี 1998 อีกด้วย ชื่อ Clannad มาจากคำว่า Clann As Dobhar หมายความว่า 'the family from Dore' (ครอบครัวจากเมือง Dobhair).

ใหม่!!: Oggและแคลนนาด · ดูเพิ่มเติม »

แคนอนของพาเคลเบล

น้ตเพลง Pachelbel's Canon ช่วงเริ่มต้น กานอง เอิง ดี (Kanon und Gigue für 3 Violinen mit Generalbaß) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ แคนอนของพาเคลเบล (Pachelbel's Canon) หรือ แคนอน ในบันไดเสียง ดี เมเจอร์ ตามสำเนียงการอ่านในภาษาอังกฤษ (Canon in D major) (PWC 37, T. 337, PC 358) เป็นผลงานประพันธ์ดนตรีบาโรกที่มีชื่อเสียงที่สุดของโยฮันน์ พาเคลเบล คีตกวีชาวเยอรมัน สกอร์ดนตรีดั้งเดิมแต่งขึ้นสำหรับบรรเลงแบบแคนอน (Kanon) ด้วยไวโอลินสามตัว โดยมีการเดินเสียงเบสด้วยเครื่องดนตรีเช่นเชลโล ดับเบิลเบส หรือบาซซูน จับคู่กับจังหวะแบบกิกา (gigue) ในระดับเสียงเดียวกัน ไวโอลินทั้งสามตัวเล่นด้วยโน้ตและจังหวะเดียวกัน แต่เริ่มต้นบรรเลงไม่พร้อมกัน โดยห่างกัน 4 ห้องเสียงไล่ตามกันไป และประสานออกมาเป็นเพลง ต้นฉบับผลงานชิ้นนี้สูญหายไปหลายปีเช่นเดียวกับผลงานชิ้นอื่นๆ ของพาเคลเบลและศิลปินคนอื่นในศตวรรษที่ 17 เพิ่งถูกค้นพบในศตวรรษที่ 20 และเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1919 โดยกุสตาฟ เบกมานน์ ได้รับการบันทึกเสียงเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: Oggและแคนอนของพาเคลเบล · ดูเพิ่มเติม »

แซดบัตทรู

"แซดบัตทรู" (Sad but True) เป็นเพลงของวงดนตรีเฮฟวีเมทัลชาวอเมริกา เมทัลลิกา ออกจำหน่ายในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: Oggและแซดบัตทรู · ดูเพิ่มเติม »

แซ็งฟอนีฟ็องตัสติก

ียนแฮร์เรียต สมิทสัน ขณะรับบทเป็น โอฟีเลีย แซ็งฟอนีฟ็องตัสติก: เอปิซอดเดอลาวีดูว์นาร์ติสต...อ็องแซ็งก์ปาร์ตี (Symphonie Fantastique: Épisode de la vie d'un Artiste...en cinq parties) หรือมักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า แซ็งฟอนีฟ็องตัสติก (Symphonie fantastique) เป็นโปรแกรมซิมโฟนีที่แต่งโดยแอ็กตอร์ แบร์ลีโยซ คีตกวีคนสำคัญของฝรั่งเศส ในปี..

ใหม่!!: Oggและแซ็งฟอนีฟ็องตัสติก · ดูเพิ่มเติม »

ใกล้รุ่ง

หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 4 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและใกล้รุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ใกล้ปีใหม่

ลงใกล้ปีใหม่ และ เพลงอาลัยปีเก่า เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงในช่วงเทศกาลปีใหม่ โดยวงดนตรีลีลาศของกรมโฆษณาการ (สุนทราภรณ์) ประพันธ์ทำนองโดยเอื้อ สุนทรสนาน ในจังหวะบีกิน ประพันธ์คำร้องโดยพรพิรุณ เพลงใกล้ปีใหม่ ขับร้องโดยจิตราภรณ์ บุญญขันธ์ ส่วนเพลงอาลัยปีเก่า ขับร้องโดยพรศุลี วิชเวช ทั้งสองเพลงใช้ทำนองเดียวกัน.

ใหม่!!: Oggและใกล้ปีใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ในดวงใจนิรันดร์

(Still on My Mind) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๗ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและในดวงใจนิรันดร์ · ดูเพิ่มเติม »

โกลด เดอบูว์ซี

กลด เดอบูว์ซี ที่วิลลาเมดิจิ กรุงโรม ค.ศ. 1885 เดอบูว์ซีคือคนกลางแถวบน ใส่เสื้อคลุมสีขาว โกลด-อาชีล เดอบูว์ซี (Claude-Achille Debussy) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล และเสียชีวิตที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918).

ใหม่!!: Oggและโกลด เดอบูว์ซี · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ พาเคลเบล

ันน์ พาเคลเบล (Johann Pachelbel 1 กันยายน พ.ศ. 2196 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2249) เป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นคีตกวีและนักเล่นออร์แกนที่สำคัญคนหนึ่งในช่วงกลางของยุคบารอค ชาวเยอรมัน ผลงานที่เป็นที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีคือ Canon in D.

ใหม่!!: Oggและโยฮันน์ พาเคลเบล · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: Oggและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โรร์ (เพลง)

"โรร์" (Roar) เป็นเพลงของเคที เพร์รี นักร้องอเมริกัน จากสตูดิโออัลบั้มชุดที่สี่ ปริซึม (ค.ศ. 2013) ปล่อยทางสถานีวิทยุเป็นซิงเกิลเปิดตัวอัลบั้มในวันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: Oggและโรร์ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

รคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive pulmonary disease, COPD, chronic obstructive lung disease, COLD, chronic obstructive airway disease, COAD) เป็นโรคปอดอุดกั้นที่มีลักษณะเฉพาะคือความบกพร่องอย่างเรื้อรังในการไหลผ่านของอากาศของระบบทางเดินหายใจ --> และมักจะแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไป --> อาการที่พบบ่อยได้แก่ เหนื่อย ไอ และ มีเสมหะ ผู้ป่วยหลอดลมอักเสบเรื้อรังส่วนใหญ่จะมี COPD ด้วย สาเหตุพบบ่อยที่สุดของ COPD คือการสูบบุหรี่ สาเหตุอื่นๆ ที่มีบทบาทบ้างแต่น้อยกว่าการสูบบุหรี่ได้แก่ มลพิษทางอากาศ และ พันธุกรรม เป็นต้น สาเหตุของมลพิษทางอากาศที่พบบ่อยในประเทศที่กำลังพัฒนาอีกอย่างหนึ่งได้แก่ อากาศเสียจากการทำอาหารหรือควันไฟ การสัมผัสสิ่งระคายเคืองเหล่านี้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบขึ้นในเนื้อปอด ทำให้หลอดลมฝอยตีบลงและการแตกตัวของเนื้อเยื้อปอด เรียกว่า ถุงลมโป่งพอง อังกฤษ:emphysema การวินิจฉัยนั้นใช้พื้นฐานของความสามารถในการไหลผ่านของอากาศด้วยการตรวจวัดโดย การทดสอบการทำงานของปอด โดยมีความแตกต่างจากโรคหอบหืด คือ การลดลงของปริมาณอากาศที่ไหลผ่านด้วยการให้ยานั้นไม่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ COPD สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงของสาเหตุของโรคที่ทราบ ซึ่งรวมถึงการลดปริมาณการสูบบุหรี่และการปรับปรุงคุณภาพของอากาศทั้งภายในและภายนอก การรักษา COPD ได้แก่: การเลิกสูบบุหรี่ การฉีดวัคซีน การฟื้นฟูสภาพ และการพ่นสูดยาขยายหลอดลมบ่อยๆ และการใช้ยาสเตียรอยด์ บางคนอาจได้รับประโยชน์จากการบำบัดด้วยออกซิเจนระยะยาวหรือการปลูกถ่ายปอด ในกลุ่มผู้ที่มีการทรุดลงอย่างเฉียบพลันช่วงหนึ่ง การเพิ่มยาที่ใช้รักษาและการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลอาจเป็นสิ่งจำเป็น ในทั่วโลกมีผู้ที่ป่วยด้วย COPD จำนวน 329 ล้านคนหรือเกือบ 5% ของจำนวนประชากร ในปี..

ใหม่!!: Oggและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น

รงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นโรงเรียนประจำหมู่บ้านหาดเสือเต้น ตั้งอยู่ที่ บ้านหาดเสือเต้น ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เป็นสถานศึกษารางวัลโรงเรียนพระราชทานในระดับประถมศึกษา ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น เดิมชื่อว่า "โรงเรียนบ้านงิ้วงาม 2" เปิดทำการเรียนการสอนครั้งแรกในปี พ.ศ. 2496 โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดหาดเสือเต้นเป็นสถานที่เรียน (ได้อาศัยเรียนอยู่ที่วัดหาดเสือเต้นจนถึง พ.ศ. 2512 จึงย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบัน) ปัจจุบันโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นเปิดทำการเรียนการสอนเป็น 3 ระดับชั้น คือระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีนายอุดม รัตนสังข์ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้นคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: Oggและโรงเรียนบ้านหาดเสือเต้น · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา

ราดามงฟอร์ต เดลโรซาริโอ อธิการนักสร้างของยุคลงหลักปักฐาน โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา (Assumption College Sriracha; อักษรย่อ: อสช, ACS) ก่อตั้งโดย ภราดาเทโอฟาน (ชิน บุณยานันทน์) วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1944 (พ.ศ. 2487) และเป็นอันดับที่ 5 ใน 14 สถาบันของคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ปัจจุบันเปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เปิดสอนในระบบสหศึกษา รับทั้งนักเรียนประจำและไป-กลั.

ใหม่!!: Oggและโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเมืองพลพิทยาคม

รงเรียนเมืองพลพิทยาคม (Muangphonpittayakom School) อักษรย่อ (ม.พ.ค.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภท เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัด ตั้งอยู่ เลขที่ 123 ถนนเมืองพล-แวงน้อย ตำบลลอมคอม อำเภอพล จังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: Oggและโรงเรียนเมืองพลพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรเมโอและจูเลียต (ไชคอฟสกี)

รเมโอและจูเลียต เป็นผลงานสำหรับบรรเลงด้วยวงออร์เคสตรา ของปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี ดัดแปลงจากบทละครโศกนาฏกรรมโรเมโอและจูเลียตของวิลเลียม เชกสเปียร์ ผลงานชิ้นนี้ไม่มีหมายเลขโอปุส ไชคอฟสกีได้ระบุว่าผลงานนี้ชิ้นนี้เป็น "Overture-Fantasia" ไชคอฟสกีเริ่มประพันธ์งานชิ้นนี้ตามคำแนะนำของมิลลี บาลากิเรฟ (1837 – 1910) คีตกวีและผู้อำนวยเพลงชาวรัสเซีย ซึ่งเคยวิพากษ์วิจารณ์ผลงานของไชคอฟสกี Fatum, Op.

ใหม่!!: Oggและโรเมโอและจูเลียต (ไชคอฟสกี) · ดูเพิ่มเติม »

โลนเรนเจอร์

ลย์ตัน มัวร์ รับบทเป็นโลนเรนเจอร์ในภาพยนตร์ปี 1956 โลนเรนเจอร์ (Lone Ranger; มือปราบคนสุดท้าย) เป็นตัวละครที่มีชื่อเสียงตัวหนึ่งในวัฒนธรรมสมัยนิยมของสหรัฐอเมริกา เป็นอดีตเท็กซัสเรนเจอร์ (มือปราบของรัฐเท็กซัส) ที่สวมหน้ากากอำพรางใบหน้า กับคู่หู อินเดียนแดงชื่อ "ตอนโต" ร่วมกันต่อสู้กับความอยุติธรรมในยุคอเมริกันโอลด์เวสต์ ตัวละครนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1933 ที่ดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน ทางละครวิทยุที่ออกอากาศต่อเนื่องกันถึง 2,956 ตอน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: Oggและโลนเรนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: Oggและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โอแคนาดา

อแคนาดา หรือ โอกานาดา เป็นเพลงชาติของประเทศแคนาดา ประพันธ์ทำนองโดย กาลิซา ลาวาลเล (Calixa Lavallée) เมื่อ ค.ศ. 1880 เพื่อใช้เป็นเพลงปลุกใจสำหรับการเฉลิมฉลองวันแซงต์-ฌ็อง-บาปตีสต์ในปีนั้น (Saint-Jean-Baptiste Day) เนื้อร้องเดิมแต่งเป็นภาษาฝรั่งเศสโดย เซอร์อดอล์ฟ บาซีล รูทิเอร์ (Sir Adolphe Basile Routhier) เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและโอแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: Oggและโขน · ดูเพิ่มเติม »

โดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวี

หน้าจอตอนเปิดโดราเอมอนฉบับทีวีของนิปปอนเทเลวิชัน โดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวี (Doraemon television series) เป็นภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2516 ทางนิปปอนเทเลวิชัน แต่ยังไม่เป็นที่รู้จักนัก จนต่อมาปี พ.ศ. 2522 ทีวีอาซาฮีทำให้การ์ตูนทีวีนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ออกอากาศไปทั้งหมด 1,049 ตอน ออกฉายตอนสุดท้ายเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2548 หลังจากนั้นมีการสร้างการ์ตูนทีวีชุดนี้เพิ่มเติมโดยมีทีมนักพากย์ชุดใหม่ เพื่อเป็นการฉลองการครบรอบของโดราเอมอนเริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: Oggและโดราเอมอนฉบับการ์ตูนทีวี · ดูเพิ่มเติม »

โป๊กเกอร์เฟส

ป๊กเกอร์เฟส (Poker Face) เป็นเพลงที่ 2 โดยศิลปินและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เลดี้ กาก้า จากสตูดิโออัลบั้ม เดอะเฟม (2008) เขียนโดย เลดี้ กาก้า และ เรดวัน, และผลิตโดย เรดวัน ถูกปล่อยทั่วโลกวันที่ 23 กันยายน..

ใหม่!!: Oggและโป๊กเกอร์เฟส · ดูเพิ่มเติม »

ไฟลท์ออฟเดอะบัมเบิลบี

ฟลท์ออฟเดอะบัมเบิลบี (Flight of the Bumblebee) เป็นท่อนออร์เคสตราอินเทอร์ลูด จากผลงานประพันธ์ของนิโคไล ริมสกี-คอร์ซาคอฟ เป็นท่อนบรรเลงสั้นๆ ปิดท้ายองก์ที่ 3 ของโอเปร่าเรื่อง The Tale of Tsar Saltan (Сказка о царе Салтане, Skazka o Tsare Saltane) ที่ริมสกี-คอร์ซาคอฟแต่งขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: Oggและไฟลท์ออฟเดอะบัมเบิลบี · ดูเพิ่มเติม »

ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์

Ride of the Valkyries ภาพประกอบโดย อาร์เทอร์ แรกแฮม ไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ (Ride of the Valkyries; Walkürenritt หรือ Ritt der Walküren) เป็นชิ้นงานดนตรีจากช่วงต้นขององก์ที่สาม จากอุปรากรเรื่อง Die Walküre (The Valkyrie) อุปรากรเรื่องที่สองในชุด ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน ปกรณัมชุดของริชาร์ด วากเนอร์ วากเนอร์เริ่มแต่งทำนองท่อนนี้ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: Oggและไรด์ออฟเดอะวาลคิรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไร้เดือน

ลงพระราชนิพนธ์ ไร้เดือน หรือ ไร้จันทร์ หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๙ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองและคำร้องภาษาอังกฤษพร้อมกันใน..

ใหม่!!: Oggและไร้เดือน · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลิน

วโอลิน เป็นเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดเสียงระดับเสียงสูงในกลุ่มเครื่องดนตรีคลาสสิกประเภทเครื่องสาย (String instruments) ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลินที่เล็กที่สุด อันประกอบไปด้วย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และ ดับเบิลเบส เมื่อนำทั้งหมดมาเล่นร่วมกันแล้วจะเรียกว่า วงเครื่องสาย(string) ซึ่งเป็นตระกูลเครื่องดนตรีหลักของ วงออร์เคสตร.

ใหม่!!: Oggและไวโอลิน · ดูเพิ่มเติม »

ไวโอลินคอนแชร์โต (เมนเดลโซห์น)

ฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น เฟอร์ดินานด์ เดวิด ไวโอลินคอนแชร์โต ในบันไดเสียง อี ไมเนอร์ (Violin Concerto in E minor, Op.) เป็นผลงานประพันธ์ชิ้นใหญ่สำหรับบรรเลงด้วยวงออร์เคสตรา ชิ้นสุดท้ายของเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น เป็นคอนแชร์โตสำหรับไวโอลินชิ้นหนึ่งที่ได้รับความนิยม และนำมาบรรเลงบ่อยครั้งที่สุด เมนเดลโซห์นเริ่มแต่งคอนแชร์โตบทนี้ในปี..

ใหม่!!: Oggและไวโอลินคอนแชร์โต (เมนเดลโซห์น) · ดูเพิ่มเติม »

ไอ (อาการ)

อาการไอเป็นปฏิกิริยาตอบสนองอย่างหนึ่งของร่างกายที่มีขึ้นเพื่อกำจัดสารคัดหลั่ง สิ่งระคายเคือง สารแปลกปลอมอื่นๆ และจุลชีพออกจากทางเดินหายใจขนาดใหญ่ รีเฟลกซ์การไอประกอบด้วยสามระยะ ได้แก่ การหายใจเข้า การหายใจออกอย่างแรง ต้านกับกล่องเสียงที่ปิดอยู่ และการปล่อยอากาศออกจากปอดอย่างรวดเร็วพร้อมกันกับการเปิดกล่องเสียง ส่วนใหญ่มักทำให้เกิดเสียงไอร่วมด้วยเสมอ การไออาจเกิดจากความตั้งใจของคนคนนั้นเองหรือเกิดขึ้นเองโดยไม่ได้ตั้งใจก็ได้ หากมีอาการไอบ่อยครั้งมักบ่งชี้ว่ามีสาเหตุจากโรคบางอย่าง ไวรัสและแบคทีเรียหลายชนิดได้รับประโยชน์เชิงวิวัฒนาการจากการกระตุ้นให้โฮสต์มีอาการไอ ซึ่งจะช่วยแพร่กระจายเชื้อไปยังโฮสต์ใหม่ ส่วนใหญ่การไอมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อทางเดินหายใจแต่ก็อาจเกิดจากการสำลัก การสูบบุหรี่ มลพิษทางอากาศ โรคหอบหืด โรคกรดไหลย้อน เสมหะไหลลงคอ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง หัวใจล้มเหลว และยาบางชนิดเช่น ACE inhibitor การรักษามักรักษาที่สาเหตุ เช่น เลิกบุหรี่ หยุดใช้ยา ACE inhibitor ผู้ป่วยบางรายอาจมีความกังวลว่าจะเป็นโรคร้ายแรง ซึ่งบางครั้งการให้ข้อมูลเพื่อให้เกิดความสบายใจก็เป็นการเพียงพอ มักมีการสั่งยาแก้ไออย่าง codeine หรือ dextromethorphan อยู่บ่อยครั้ง แต่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีผลช่วยไม่มากนัก การรักษาอย่างอื่นมักรักษาที่การอักเสบของทางเดินหายใจหรือการกระตุ้นให้มีการขับเสมหะ เนื่องจากการไอเป็นการตอบสนองตามธรรมชาติของร่างกายที่มีเพื่อป้องกันร่างกาย การยับยั้งอาการไอจึงอาจมีผลเสีย โดยเฉพาะหากอาการไอนั้นเป็นอาการไอแบบมีเสมห.

ใหม่!!: Oggและไอ (อาการ) · ดูเพิ่มเติม »

ไอก็อตยู (ไอฟีลกู๊ด)

อก็อตยู (ไอฟีลกู๊ด) (I Got You (I Feel Good)) เป็นเพลงของนักร้องชาวอเมริกัน เจมส์ บราวน์ บันทึกเสียง และออกจำหน่ายในปี..

ใหม่!!: Oggและไอก็อตยู (ไอฟีลกู๊ด) · ดูเพิ่มเติม »

ไอนูว์ยูเวอร์ทรับเบิล

(I Knew You were Trouble) เป็นเพลงของนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ จากสตูดิโออัลบั้มที่สี่ เรด (2012) เพลงออกจำหน่ายวันที่ 9 ตุลาคม..

ใหม่!!: Oggและไอนูว์ยูเวอร์ทรับเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีก

ซเรเนดหมายเลข 13 สำหรับเครื่องสาย ในบันไดเสียง จี เมเจอร์ (Serenade No.) เป็นเซเรเนดที่แต่งโดยโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทเมื่อปี ค.ศ. 1787 ผลงานชิ้นนี้เป็นที่รู้จักในชื่อ ไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีก (Eine kleine Nachtmusik; แปลว่า "a little serenade") แต่งขึ้นสำหรับวงดนตรีแชมเบอร์ที่ประกอบด้วยไวโอลิน 2 ตัว, วิโอลา, เชลโล และดับเบิลเบส แต่มักจะใช้บรรเลงโดยวงออร์เคสตรา Holoman, D. Kern (1992) Evenings with the orchestra: a Norton companion for concertgoers.

ใหม่!!: Oggและไอเนอไคลเนอนาคท์มูซีก · ดูเพิ่มเติม »

ไฮบริดทีโอรี

ริดทีโอรี เป็นอัลบั้มเปิดตัว ของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยวอร์เนอร์บราเธอร์สเรเคิดส์ เป็นอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จในเชิงการค้า ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ สำหรับยอดจำหน่ายกว่า 10 ล้านชุดเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2553 เข้าสู่อันดับสองใน''บิลบอร์ด'' 200 และอยู่ในอันดับต้นๆ ในชาร์ตอื่นๆ ทั่วโลก โดยสามารถทะยานเข้าสู่ ท็อป 20 ของบิลบอร์ด ได้ในสัปดาห์แรก อัลบั้มนี้ได้บันทึกที่สตูดิโอเอ็นอาร์จีเรเคิดดิงส์ ในนอร์ทฮอลลีวูด รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมี ดอน กิลมอร์ เป็นโปรดิวเซอร์ เนื้อหาของเพลงในอัลบั้มส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาและประสบการณ์ในช่วงวัยรุ่นของนักร้องนำของวง เชสเตอร์ เบนนิงตัน ชื่ออัลบั้ม ไฮบริดทีโอรี เป็นชื่อที่หยิบยกจากชื่อเดิมของวง เนื่องจากได้มีการเปลี่ยนชื่อวงเป็น ลิงคินพาร์ค ซึ่งชื่ออัลบั้ม ไฮบริดทีโอรี หมายความว่า 'ทฤษฎีลูกผสม' แสดงถึงแนวคิดในการผสมผสานแนวเพลง การนำแนวเพลงหลายๆ แนวเพลงมารวมเข้าด้วยกัน ได้แก่ อัลเทอร์เนทีฟเมทัล นูเมทัล ป็อป ฮิปฮอป อัลเทอร์เนทีฟ และเพิ่มโปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่งเสียง ช่วยเพิ่มรูปแบบเสียงที่มีความแปลกใหม่ ทำให้เป็นแนวเพลงที่ไม่ซ้ำแบบใคร เพลงที่ปล่อยออกมาเป็นซิงเกิล ในอัลบั้มนี้ มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ "วันสเต็ปโคลสเซอร์", "ครอว์ลิง", "เปเปอร์คัต" และ "อินดิเอ็นด์" ทั้งหมดนั้นเป็นเพลงเปิดตัวของลิงคินพาร์กที่ได้รับความนิยม โดยเฉพาะเพลง "อินดิเอ็นด์" เป็นเพลงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในสี่เพลงนี้ นอกจากเพลงที่เป็นซิงเกิลอย่างเพลงอื่นๆ ในอัลบั้มก็ได้รับความสำเร็จเช่นเดียวกัน เช่น "รันอะเวย์" "พอยส์ออฟออทอริตี" รวมถึงเพลงที่อยู่ในโบนัสแทร็กและไม่ได้ออกเป็นซิงเกิลอย่างเพลง "มายดีเซมเบอร์" ด้วย เพลงในอัลบั้มยังเป็นเพลงเด่นในสถานีวิทยุเพลงอัลเทอร์เนทีฟร็อกอีกด้วย ในงานประกาศผลรางวัลแกรมมี ครั้งที่ 44 ไฮบริดทีโอรี ได้เสนอชื่อเข้าชิงในสาขาอัลบั้มเพลงร็อกยอดเยี่ยม อัลบั้มนี้ติดอันดับที่ 11 ใน 200 อัลบั้มฮอตแห่งทศวรรษ ของบิลบอร์ด ฉบับพิเศษของอัลบั้มนี้ออกจำหน่ายในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2545 ไฮบริดทีโอรีจำหน่ายได้ 27 ล้านชุดทั่วโลก ภายในหนึ่งปีครึ่งหลังจากออกจำหน่ายครั้งแรก ซึ่งทำให้เป็นอัลบั้มเปิดตัวที่มียอดจำหน่ายสูงสุดแห่งศตวรรษที่ 21 ลิงคินพาร์กได้ทำการแสดงสดโดยเล่นเพลงทั้งหมดในอัลบั้มนี้ครบเป็นครั้งแรกที่งานดาวน์โหลดเฟสติวัล ในวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: Oggและไฮบริดทีโอรี · ดูเพิ่มเติม »

ไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์

ล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ เป็นชื่อของเพลงชาติจักรวรรดิเยอรมันอย่างไม่เป็นทางการ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2414 ถึง พ.ศ. 2461 รวมระยะเวลา 47 ปี เดิมเพลงนี้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรปรัสเซีย แต่ท่วงทำนองเพลงนั้นคล้ายคลึงกับเพลงก็อดเซฟเดอะควีน ซึ่งด้วยเหตุผลดังกล่าวทั้ง 2 ข้อนี่เอง ทำให้บทเพลงนี้เป็นที่ได้รับความนิยมในบางมณฑลของเยอรมนี แต่อย่างไรก็ตาม เพลงนี้กลับไม่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาตินิยมเยอรมัน และไม่ได้รับการยอมรับจากบรรดารัฐเยอรมันตอนใต้ เช่น รัฐบาวาเรีย รัฐเวือร์ทเทมแบร์ก เป็นต้น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดิเยอรมันได้ล่มสลายลง และมีการสถาปนาสาธารณรัฐไวมาร์ขึ้นมาแทนที่ จึงได้มีการยกเลิกเพลงชาติเดิม และให้ใช้เพลง "ดาสลีดแดร์ดอยท์เชน" เป็นเพลงชาติใหม่ของเยอรมนีแทน อนึ่ง เพลง "Die Wacht am Rhein" เป็นเพลงสรรเสริญ (hymn) อีกเพลงหนึ่งที่มีการใช้ในจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งควรนับว่าเป็นเพลงชาติเยอรมนีอีกเพลงหนึ่งในยุคนั้นด้ว.

ใหม่!!: Oggและไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโอรามา (อัลบั้ม)

อรามา (Diorama) คือสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 4 ของซิลเวอร์แชร์ วงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจากออสเตรเลีย ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2545 โดยค่ายอีเลเว็น อัลบั้มนี้เป็นผลงานการโปรดิวซ์ร่วมกันของดาเนียล จอห์นส และเดวิด บอตทริลล์ ในขณะที่เดวิดทำงานให้กับอัลบั้มต่างๆ ของวงดนตรีอื่นๆ ทำให้ ไดโอรามา สร้างชื่อเสียงการเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับจอห์นส นักร้องนำของวงเป็นครั้งแรก จอห์นสประพันธ์บทเพลงส่วนใหญ่ในอัลบั้มนี้โดยใช้เปียโน แทนที่ปกติเขาจะใช้กีตาร์ ในระหว่างที่วงพักร้อนยาว 12 เดือนภายหลังการออกอัลบั้ม นีออนบอลรูม อัลบั้มสตูดิโอชุดล่าสุดของพวกเขาในขณะนั้น ซิลเวอร์แชร์ทำงานร่วมกับแวน ไดก์ พาร์กสในอัลบั้ม ไดโอรามา อัลบั้มนี้บรรจุเพลงที่ใช้ดนตรีออร์เคสตรา และแนวเพาเวอร์บัลลาด ซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงงานด้านดนตรีของพวกเขาในอดีตซึ่งใช้กีตาร์เป็น เครื่องดนตรีหลัก ชื่ออัลบั้มนี้ต้องการสื่อถึงความหมายว่า "โลกซึ่งอยู่ภายในโลก" โดยมีซิงเกิลจากอัลบั้มนี้กว่า 5 ซิงเกิล ประกอบไปด้วย "เดอะเกรเทสวิว", "วิทเอาต์ยู", "เลิฟยัวร์ไลฟ์", "อะครอสเดอะไนต์", และ "อาฟเตอร์ออลดีสเยียร์ส" โดยมีเพียงเพลง "อาฟเตอร์ออลดีสเยียร์ส" เท่านั้นที่ออกเผยแพร่ในรูปแบบซิงเกิลวิทยุ โดยเพลงนี้ขึ้นลำดับในชาร์ตเออาร์ไอเอ ไดโอรามา ประสบความสำเร็จในอันดับบนชาร์ต แต่การวิพากษ์วิจารณ์กลับเป็นไปในทางตรงข้าม ไม่เหมือนกับอัลบั้มก่อนๆของพวกเขา อัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ตอัลบั้มของสมาพันธ์อุตสาหกรรมดนตรีแห่งออสเตรเลีย อัลบั้มนี้ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำขาว 3 แผ่นจากเออาร์ไอเอ สำหรับยอดขายกว่า 210,000 ชุด และได้รับรางวัลเออาร์ไอเอกว่า 5 รางวัล ในปี พ.ศ. 2545 และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเออาร์ไอเอในปี..

ใหม่!!: Oggและไดโอรามา (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

ไนท์ออนบาลด์เมาเทน

นท์ออนบาลด์เมาเทน (Night on Bald Mountain หรือ Night on Bare Mountain) เป็นผลงานประพันธ์ของโมเดสต์ มุสซอร์กสกี (1839-1881) คีตกวีชาวรัสเซีย โดยได้รับอิทธิพลมาจากบทกวี และตำนานเกี่ยวกับมนต์ดำของแม่มด มุสซอร์กสกีเขียนงานดนตรีชิ้นนี้เสร็จเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและไนท์ออนบาลด์เมาเทน · ดูเพิ่มเติม »

เชลโล

วิโอลอนเชลโล (Violoncello) หรือเรียกทั่วไปว่า เชลโล (Cello) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย นิยมเล่นใน วงออร์เคสตราและ วงเครื่องสาย ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากโลกตะวันตก เป็นหนึ่งในเครื่องดนตรีตระกูลไวโอลิน อันประกอบไปด้วยไวโอลิน, วิโอล่า, เชลโล และ ดับเบิลเบส เชลโลเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายที่ได้รับความนิยมเช่นเดียวกับไวโอลิน มีโน้ตเพลงที่เขียนไว้สำหรับเชลโลโดยเฉพาะอยู่หลายบทเพลง แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม ถึงอย่างไรก็ตามยังมีการเล่นเชลโลกับดนตรีประเภทแจ๊ส บลูส์ ป๊อป ร็อก ฯลฯ.

ใหม่!!: Oggและเชลโล · ดูเพิ่มเติม »

เชเนวเมร์ลาอูครายีนา

นวเมร์ลาอูครายีนา (Ще не вмерла Українa "ยูเครนยังไม่สูญสิ้น") เป็นเพลงชาติของยูเครน ประกาศใช้อย่างเป็นทางการภายหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตเมื่อ พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: Oggและเชเนวเมร์ลาอูครายีนา · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดริก ชอแป็ง

ฟรเดริก ชอแป็ง เฟรเดริก ฟร็องซัว ชอแป็ง (Frédéric François Chopin) หรือ ฟรือแดรึก ฟรันต์ซีเชก ชอแป็ง (Fryderyk Franciszek Chopin บางครั้งสะกดว่า Szopen) เป็นคีตกวีชาวโปแลนด์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2353 (ค.ศ. 1810) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2392 (ค.ศ. 1849) จากวัณโรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ ชื่อที่บิดามารดาของเขาตั้งให้คือ "Fryderyk Franciszek Chopin" ต่อมาได้หันมาใช้ชื่อเป็นภาษาฝรั่งเศสเมื่อเขาได้ตัดสินใจจากประเทศบ้านเกิดเป็นการถาวรเพื่อมุ่งหน้าสู่กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: Oggและเฟรเดริก ชอแป็ง · ดูเพิ่มเติม »

เฟียร์เลส (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์)

"เฟียร์เลส" (Fearless) เป็นเพลงแนวคันทรีป็อปของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ เพลงเขียนโดยสวิฟต์ ร่วมกับลิซ โรส และฮิลลารี ลินด์ซีย์ และผลิตโดยนาธาน แชปแมน "เฟียร์เลส" ออกจำหน่ายวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: Oggและเฟียร์เลส (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์) · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติบราซิล

ลงชาติบราซิล (Hino Nacional Brasileiro) เป็นเพลงที่เรียบเรียงโดย ฟรานซิสโก มานูเอล (Francisco Manuel) มีท่วงทำนองที่เป็นการสรรเสริญและปลุกใจ ซึ่งถือว่าเป็นเพลงประจำชาติก่อนที่จะได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ ได้มีการเปลี่ยนแปลงมากมายแต่ก็มิได้ทำให้ความหมายบิดเบือนไป โดยให้มีระดับเสียงที่นุ่มนวล เดิมเรียบเรียงโดยวงออร์เคสตราของกองทัพ ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งของในรูปแบบของ โอโซริโอ ดุ๊ค เอสตราดา (Osorio Duque Estrada) ในปี พ.ศ. 2435 ประวัติความเป็นมาของเพลงชาตินี้เป็นเรื่องที่โต้เถียงกัน แต่รูปแบบที่เชื่อถือได้คือที่เรียบเรียงโดยนักเรียบเรียงเสียงประสานที่มีชื่อเสียงชาวบราซิล คือ อัลเบอร์โต นีโบมูซีโน (Alberto Nepomuceno) ซึ่งเป็นผู้เขียนในปีเดียวกัน (พ.ศ. 2384) บางทีอาจเป็นช่วงสูงสุดในอาชีพของเขา ฟรานซิสโก มานูเอลได้เรียบเรียงเพลงชาติเพื่อเฉลิมฉลองการครองราชย์ของจักรพรรดิ์พระองค์ที่สองของบราซิล ซึ่งแสดงตนเป็นผู้เรียบเรียงเสียงประสานที่ยิ่งใหญ่ในงานของเขาซึ่งยังคงปลุกใจคนในชาติมาจนกระทั่งทุกวันนี้ คำพิพากษาฉบับที่ 15671 วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2465 ได้พัฒนาจากเนื้อเพลงของ โอโซริโอ ดุ๊ค เอสตราด้า ซึ่งเขียนไว้ในปี พ.ศ. 2452 ซึ่งเป็นรูปแบบแรก กฎหมายเลขที่ 259 ของวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2479 ได้ระบุให้รูปแบบของ ลีโอพอลโด ไมเกซ (Leopoldo Miguez) มากับการเล่นดนตรีของวงออเคสตร้า และรูปแบบที่เรียงเรียงโดย ร้อยโทอันโตนิโอ ปินโต จูเนียร์ (Lt. Antonio Pinto Junior) ของกองดับเพลิงกลาง ใช้เล่นกับวงโยธวาทิตด้วยคีย์ บีแฟลต และในที่สุดรูปแบบที่เขียนโดย อัลเบอร์โต นีโปมูซีโน ก้เป็นแม่แบบที่นำมาใช้ร้อง.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติกัวเตมาลา

ลงชาติกัวเตมาลา (Himno Nacional de Guatemala) ประพันธ์บทร้องโดย โจเซ่ จัวควิน ปาลมา (1844–1911) และ เรียบเรียงทำนองโดย ราฟาเอล อัลวาเรซ โอวัลเล.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมองโกเลีย

ลงชาติมองโกเลีย (Монгол улсын төрийн дуулал) เป็นบทเพลงซึ่งประพันธ์ทำนองโดยบิเลจีน ดามดินซูเรน (Bilegiin Damdinsüren, พ.ศ. 2462 - 2534) และลุฟซานยามส์ มูร์ดอร์จ (Luvsanjyamts Murdorj (พ.ศ. 2458 - 2539) เนื้อร้องโดย เซนดีน ดามดินซูเรน (Tsendiin Damdinsüren, พ.ศ. 2451 - 2531) ตลอดสมัยระบอบคอมมิวนิสต์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มองโกเลียมีการเปลี่ยนแปลงเพลงชาติหลายครั้ง เพลงแรกสุดคือ แองเตอร์นาซิอองนาล ("Монгол Интернационал" "Mongol Intyörnatsional") เนื้อร้องโดย Sonombalshiryn Bujannemech และ ทำนองโดย Magsarshawyn Durgarshaw. ใช้ระหว่างปี พ.ศ. 2467 - 2493 ต่อมาจึงเปลี่ยนเพลงใหม่ใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2493 - 2505 และภายหลังก็ได้แก้ไขเพลงชาติอีกครั้ง โดยใช้ในระหว่างปี พ.ศ. 2505 - 2534 โดยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ซึ่งเป็นปีที่มองโกเลียมีการปฏิวัติประชาธิปไตย เพลงชาติมองโกเลียที่มีการใช้นั้นได้คงเนื้อร้องส่วนใหญ่ของเพลงชาติฉบับปี พ.ศ. 2493 ไว้ แต่มีการยกเนื้อร้องบทที่ 2 ซึ่งมีเนื้อหายกย่องผู้นำของสหภาพโซเวียตและมองโกเลียออกเสีย (กล่าวถึง เลนิน, สตาลิน, ชุคบาตาร์, และ ชอยบาลซาน) ในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 รัฐสภาแห่งมองโกเลียได้รับรองเนื้อร้องที่แก้ไขเพิ่มเติมให้มีเนื้อหาสรรเสริญเจงกิสข่าน จักรพรรดิมองโกลผู้ยิ่งใหญ่ เนื่องในโอกาสครบรอบ 800 ปีแห่งการสถาปนาจักรวรรดิมองโกล.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติรัสเซีย

ลงชาติสหพันธรัฐรัสเซีย (Государственный гимн Российской Федерации) หรือ เพลงสรรเสริญสหพันธรัฐรัสเซีย เป็นชื่อของเพลงชาติอย่างเป็นทางการของรัสเซีย องค์ประกอบทางดนตรีและเนื้อร้องของเพลงได้รับดัดแปลงมาจากเพลงชาติสหภาพโซเวียต ประพันธ์โดย อเล็กซันเดอร์ อเล็กซันดรอฟ และผู้แต่งบทร้อง เซียร์เกย์ มิฮัลคอฟ และกาบรีล เอล-เรกิสตัน เพลงชาติโซเวียตใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1944 โดยแทน "แองเตอร์นาซิอองนาล" ด้วยเพลงที่เน้นรัสเซียเป็นศูนย์กลางมากขึ้น เพลงชาติดังกล่าวถูกแก้ไขใน ค.ศ. 1956 เพื่อลบเนื้อร้องที่อ้างถึงอดีตผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน เพลงดังกล่าวถูกแก้ไขอีกครั้งใน ค.ศ. 1977 เพื่อนำเนื้อร้องใหม่ที่เขียนโดยมิฮัลคอฟ รัสเซียมองหาเพลงชาติใหม่ใน ค.ศ. 1990 เพื่อเริ่มต้นใหม่หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต เพลง "ปาทริโอติเชสกายา เปสนยา" ที่ไม่มีเนื้อร้อง ประพันธ์โดย มิฮาอิล กลินคา ซึ่งรับมาอย่างเป็นทางการใน..

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสหภาพโซเวียต

Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye! (Славься, Отечество наше свободное!; Slav’sya, Otechestvo nashe svobodnoye!, แปล "Be glorious, our free Fatherland!"), หรือมีชื่อที่รู้จักอย่างเป็นทางการคือ "เพลงชาติสหภาพโซเวียต" (r) เป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตประกาศใช้อย่างเป็นทางการในวันที่ 15 มีนาคม 1944 ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หลังการปฏิวัติสังคมนิยมในรัสเซียโดยพวกบอลเชวิคเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 (พ.ศ. 2460) ในปีต่อมา ได้มีการใช้เพลง L'Internationale (หรือในภาษาอังกฤษ The Internationale) ซึ่งเพลงประจำของการปฏิวัติสังคมนิยมสากลเป็นเพลงชาติรัสเซีย เนื้อร้องฉบับภาษารัสเซียเป็นผลงานแปลของ อาร์คาดี้ ยาคอฟเลวิช ก็อตส์ เมื่อปี ค.ศ. 1902 (พ.ศ. 2445) เพลงนี้ได้ใช้เป็นเพลงชาติสหภาพโซเวียตที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) และใช้ต่อมาจนถึงปี ค.ศ. 1944 (พ.ศ. 2487) จากนั้นมีการใช้เพลงชาติใหม่ ที่ประพันธ์ทำนองโดย อเล็กซานเดอร์ อเล็กซานดรอฟ และประพันธ์เนื้อร้องโดย เซอร์เกย์ มิคาลกอฟ และ จี.แอล. เรจิสตาน ก่อนที่เพลงนี้จะได้ใช้เป็นเพลงชาติสหภาพโซเวียต ทำนองของเพลงนี้เคยถูกใช้ในงานหลายชิ้นของอเล็กซานดรอฟ ครั้งแรกได้ใช้เป็นเพลงประจำพรรคบอลเชวิคใน ค.ศ. 1938 (พ.ศ. 2481) และเมื่อ องค์การคอมมิวนิสต์สากล หรือโคมินเทิร์นสลายตัวไปในปี ค.ศ. 1943 (พ.ศ. 2486) ผู้นำประเทศมองว่าเพลงชาติใหม่ของสหภาพโซเวียต สมควรเข้ามาแทนที่เพลง L'Internationale ซึ่งตามประวัติแล้วเกี่ยวข้องกับขบวนการคอมมิวนิสต์สากลมากกว่า โจเซฟ สตาลิน ผู้นำประเทศในยุคนั้นจึงตัดสินใจเลือกเอาทำนองที่อเล็กซานดรอฟประพันธ์ มาใช้เป็นทำนองเพลงชาติฉบับใหม่ ส่วนคำร้องที่ร่วมประพันธ์โดย มิคาลกอฟ และ แอล.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (Державний гімн Української Радянської Соціалістичної Республіки - Deržavný himn Ukrajinśkoji Radjanśkoji Socialistyčnoji Respubliky) เป็นเพลงชาติของประเทศยูเครนสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต (ในชื่อ "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน").

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (гімн Беларуская Савецкая Сацыялістычная Рэспубліка, гимн Белорусской Советской Социалистической Республики) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศเบลารุสสมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต (ในชื่อ "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย") ประพันธ์เนื้อร้องโดยมิคาเอล คลีโมวิช (Michael Klimovich) ทำนองโดยเนสตาร์ ซาคาโลวสกี (Nestar Sakalowski) เมื่อปี พ.ศ. 2487 แต่ได้ใช้เป็นเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียจริงในปี พ.ศ. 2498 จนถึงปี..

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย

ลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย (Eesti Nõukogude Sotsialistliku Vabariigi hümn) เป็นเพลงชาติของเอสโตเนีย สมัยอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน

ลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ГИМН РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН O`zbekiston Respublikasining Davlat Madhiyasi) ที่ใช้ในปัจจุบันนี้เริ่มใช้เมื่อประเทศได้รับเอกราชจากสหภาพโซเวียตภายหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 โดยนำทำนองเพลงนี้มาจากเพลงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก ซึ่งประพันธ์โดย มูตาล บูร์ฮานอฟ (Mutal Burhanov) และใช้ในช่วงที่อุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต แต่เนื้อร้องได้ประพันธ์ขึ้นใหม่โดยอับดุลลา อาริปอฟ (Abdulla Aripov).

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติสาธารณรัฐอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติอาร์เจนตินา

ลงชาติอาร์เจนตินา (Himno Nacional Argentino) เป็นเพลงชาติของอาร์เจนตินา เนื้อร้อง ประพันธ์โดย Vicente López y Planes, และ เรียบเรียงทำนองโดย Blas Parera.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติอาร์เจนตินา · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติปานามา

ลงชาติปานามา (Himno Nacional de Panamá) มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "เพลงสดุดีแห่งคอคอด" (Himno Istmeño) เพราะที่ตั้งของประเทศปานามาเป็นส่วนคอคอดที่สุดที่เชื่อมระหว่างทวีปอเมริกาเหนือกับทวีปอเมริกาใต้ไว้ ประพันธ์เนื้อร้องโดย ดร.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติปานามา · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติเม็กซิโก

ลงชาติเม็กซิโก (Himno Nacional Mexicano) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1943 (พ.ศ. 2486) เนื้อร้องของเพลงนี้ เป็นบทกวีที่กล่าวถึงชัยชนะของชาวเม็กซิโกในสงครามอันรุนแรง และสัจจะวาจาของพวกเขาที่จะพิทักษ์บ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง ซึ่งได้ประพันธ์ขึ้นโดยกวีชื่อ ฟรันซิสโก กอนซาเลซ โบกาเนกรา (Francisco González Bocanegra) เมื่อปี (ค.ศ. 1853) (พ.ศ. 2396) ต่อมาไคย์เม นูโน (Jaime Nunó) จึงได้เรียบเรียงดนตรีประกอบบทกวีของกอนซาเลซในปี ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) ผลงานดังกล่าวนี้ได้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติครั้งแรกในวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1854 ประกอบด้วยบทร้องทั้งหมด 10 บท และท่อนแยกประสานเสียงอีก 1 บท ส่วนของเนื้อร้องนั้นได้มีการแก้ไขหลายครั้งเนื่องจากความผันผวนทางการเมือง จนกระทั่งเมื่อมีการรับรองเพลงนี้เป็นเพลงชาติเม็กซิโกอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1943 (พ.ศ. 2486) เนื้อร้องเพลงชาติที่บังคับใช้จึงไม่มีการแก้ไขดัดแปลงใดๆ อีกเลย ในบางครั้ง จะมีการเรียกชื่อเพลงชาติเม็กซิโกอย่างไม่เป็นทางการว่า "Mexicanos, al grito de guerra" (ชาวเม็กซิโกทั้งหลาย, ท่ามกลางเสียงโห่ร้องของสงคราม) ซึ่งชื่อดังกล่าวนี้มาจากวรรคแรกในเนื้อร้องท่อนประสานเสียงของเพลงนี้.

ใหม่!!: Oggและเพลงชาติเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ลงพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชปรีชาญาณในเรื่องของดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองเพลงตั้งแต่ยังทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช รวมบทเพลงพระราชนิพนธ์ทั้งสิ้น 48 เพลง เพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนอง และคำร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เอง มี 5 เพลง คือ "Echo", "Still on My Mind", "Old-Fashioned Melody", "No Moon" และ "Dream Island" นอกจากนี้ มีเพลงที่ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นภายหลังใส่ในคำร้องที่มีผู้ประพันธ์ไว้แล้ว คือ ความฝันอันสูงสุด เราสู้ และ รัก ผู้ที่โปรดเกล้าฯ ให้แต่งคำร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มีหลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์, ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงนพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา, นายจำนงราชกิจ (จรัล บุณยรัตพันธุ์), ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ม.ล.ประพันธ์สนิทวงศ์ และท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นต้น ในยุคแรก หลังจากที่เพลงพระราชนิพนธ์มีทำนองและคำร้องสมบูรณ์แล้ว จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ครูเอื้อ สุนทรสนาน นำไปบรรเลงในวงดนตรีกรมโฆษณาการหรือวงกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อให้แพร่หลายทั่วไป และโดยพระองค์ท่านเองทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรี วง อ.ส. วันศุกร์ ออกอากาศ ปรากฏว่าหลายเพลงกลายเป็นเพลงยอดนิยมทั้งในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในระยะหลังพระองค์มีพระราชกรณียกิจมากมาย ทำให้พระองค์ทรงไม่มีเวลาที่จะทรงพระราชนิพนธ์เพลงใหม่ๆออกมา เพลงสุดท้ายที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ออกมาคือเพลง "เมนูไข่" เป็นเพลงแนวสนุกสนาน เนื้อร้องโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษาแด่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

เพลงมหาชัย

ลงมหาชัย เป็นเพลงเกียรติยศสำหรับพระบรมวงศ์ สมเด็จพระบรมราชชนนี ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ นายกรัฐมนตรี ใช้เป็นเพลงเดินธงในพิธีการสำคัญทางทหาร และใช้บรรเลงในการอวยพร.

ใหม่!!: Oggและเพลงมหาชัย · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์เพิลเรน (อัลบั้ม)

อร์เพิลเรน เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 6 ของพรินซ์ และเป็นครั้งแรกที่มีวงดนตรีเดอะเดอะรีโวลูชั่น มาร้องร่วม และเป็นอัลบั้มซาวน์แทร็คในภาพยนตร์ชื่อเดียวกันในปี ค.ศ. 1984 วางจำหน่ายในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1984 สังกัดค่ายวอร์เนอร์บราเธอร์สเรเคิดส์ ยอดขายได้ 22 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้กลายเป็นอัลบั้มซาวน์แทร็คที่ 6 ที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาล "เพอร์เพิลเรน" ถูกจัดอันดับตามปกติในหมู่อัลบั้มที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ดนตรี และได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นผลงานชิ้นโบแดงของพรินซ์ นิตยสารไทม์ จัดอันดับที่ 15 เป็นอัลบั้มที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลในปี ค.ศ. 1993 และถูกจัดอันดับที่ 18 อัลบั้มร็อคเอนโรลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลของ VH1 นิตยสารโรลลิงสโตนจัดอันดับที่ 2 ที่มียอดขายสูงสุดในยุค 1980 และอันดับที่ 76 ของ 500 อัลบั้มที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล 2 ซิงเกิลแรกจากอัลบั้มเพอร์เพิลเรน "When Doves Cry" และ"Let's Go Crazy" ติดท็อปชาร์ตในสหรัฐอเมริกา และกลายเป็นเพลงฮิตไปทั่วโลก ในเพลงเพอร์เพิลเรน ได้ติดอันดับที่ 2 จากบิลบอร์ดฮอต 100 อัลบั้มนี้ได้รับบันทึกแผ่นเสียงทองคำขาวจาก สมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา (RIAA) กว่า 13 แผ่น ในปี ค.ศ. 2007 นักตัดต่อของนิตยสารVanity Fair ได้ติดป้ายกำกับว่าเป็นสุดยอดอัลบั้มซาวแทร็คตลอดกาล และนิตยสาร Tempo ไดยกย่องเป็นอัลบั้มที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลในยุค 1980 อันดับที่ 1000 ในนิตยสารเอนเตอร์เทนเมนต์วีกลี ฉบับวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2008 ระบุไว้ เพอร์เพิลเรน เป็นอันดับ 1 ในท็อป 100 สุดยอดอัลบั้มตลอด 25 ปี ในปี ค.ศ. 2013 นิตยสารยังได้ระบุไว้ว่าเป็นอัลบั้มอันดับที่ 2 จาก 100 อัลบั้มที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา ในปี ค.ศ. 2012 นิตยสาร Slant ได้ระบุอันดับที่ 2 ไว้ว่าเป็นสุดยอดอัลบั้มแห่งยุค 1980 รองจากอัลบั้มของไมเคิล แจ็กสัน ทริลเลอร์ ในปีเดียวกันอัลบั้มถูกเพิ่มลงในNational Recording Registry ของหอสมุดรัฐสภา ในรายชื่อของการบันทึกเสียงไว้เป็นประวัติศาสตร์วัฒนธรรม หรือมีความสำคัญทางความสุนทรี.

ใหม่!!: Oggและเพอร์เพิลเรน (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: Oggและเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · ดูเพิ่มเติม »

เกาะในฝัน

ลงพระราชนิพนธ์ เกาะในฝัน หรือ เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๐ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองและคำร้องภาษาอังกฤษพร้อมกันใน..

ใหม่!!: Oggและเกาะในฝัน · ดูเพิ่มเติม »

เกียรติศักดิ์ทหารเสือ

แขนมอบถวายทรงธรรม์ เทอดหล้า (ภาพประกอบจาก ดุสิตสมิต) เกียรติศักดิ์ทหารเสือ เป็นเพลงประกอบละครเวทีเรื่อง "เกียรติศักดิ์ทหารเสือ" ของ ศักดิ์เกษม หุตาคม หรือ "อิงอร" เมื่อประมาณ..

ใหม่!!: Oggและเกียรติศักดิ์ทหารเสือ · ดูเพิ่มเติม »

เมื่อโสมส่อง

หรือ I Never Dream เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๘ ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและเมื่อโสมส่อง · ดูเพิ่มเติม »

เมนูไข่

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 48 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 เพื่อพระราชทานเป็นของขวัญวันพระราชสมภพครบ 72 พรรษา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ด้วยทรงรำลึกได้ว่า สมเด็จพระเชษฐภคินีโปรดเสวยพระกระยาหารที่ทำจากไข่ เป็นแรงบันดาลพระราชหฤทัย ให้ทรงพระราชนิพนธ์ กอปรกับทรงพบโคลงสี่ "เมนูไข่" ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระราชนิพนธ์ไว้เมื่อ พ.ศ. 2518 ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้พลเรือตรี หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช นำไปแยกและเรียบเรียงเสียงประสาน เพื่อให้วง อ.ส. วันศุกร์ นำออกบรรเลงและขับร้องในงานพระราชทานเลี้ยงฉลองสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ณ ศาลาดุสิตาลัย เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: Oggและเมนูไข่ · ดูเพิ่มเติม »

เยส

(Yes) เป็นวงดนตรีร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: Oggและเยส · ดูเพิ่มเติม »

เรา-เหล่าราบ 21

กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองค์ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ หรือ We-Infantry Regiment 21 เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๕ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองขึ้นในปี..

ใหม่!!: Oggและเรา-เหล่าราบ 21 · ดูเพิ่มเติม »

เราสู้

ลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 44 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: Oggและเราสู้ · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ (ภาพยนตร์)

รือนแพ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2504 ร่วมทุนสร้างระหว่าง บริษัทอัศวินภาพยนตร์ กับ บริษัทชอว์บราเดอร์สแห่งฮ่องกง ระบบถ่ายทำด้วย 35 มม.ซูเปอร์ซีเนสโคป สีอิสแมนต์ เสียงพากย์ในฟิล์ม กำกับโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล หรือพระนาม ภาณุพันธ์ และ เวตาล ร่วมกับ ครูเนรมิต นักแสดงนำประกอบด้วยนักแสดงไทย และนักแสดงฮ่องกง เพลงประกอบภาพยนตร์ที่ยังมีชื่อเสียงอยู่จนถึงทุกวันนี้ คือเพลง เรือนแพ ประพันธ์คำร้องโดย ชาลี อินทรวิจิตร ทำนองโดย สง่า อารัมภีร ขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร ถือได้ว่าเป็นเพลงประจำตัวของชรินทร์ เลยทีเดียว ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2504 ที่ศาลาเฉลิมไทย ต้อนรับปีใหม่ปี พ.ศ. 2505 และได้นำกลับมาฉายอีกครั้ง ในปี พ.ศ. 2506 สร้างใหม่ครั้งที่สองเมื่อ พ.ศ. 2532 ผลิตโดย ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ภาพยนตร์เรื่องนี้ ประสบความสำเร็จอย่างมากทั้งรายได้และรางวัล จากพิธีมอบรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505 ประกาศผลอย่างเป็นทางการ ณ สวนอัมพร เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 คือรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้แสดงนำฝ่ายชายยอดเยี่ยม ผู้แสดงประกอบฝ่ายชายยอดเยี่ยม รางวัลออกแบบและสร้างฉากยอดเยี่ยม และรางวัลบันทึกเสียงยอดเยี่ยม ต่อมา เสด็จพระองค์ชายใหญ่ทรงประทานบทภาพยนตร์ให้นำมาเรียบเรียงดัดแปลงเป็นนวนิยายครั้งแรก ตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ ณ บ้านวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: Oggและเรือนแพ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ (เพลง)

ใบปิดภาพยนตร์ เรือนแพ (2504) ปกแผ่นเสียง เพลงเรือนแพ เพลง เรือนแพ เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง เรือนแพ ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและเรือนแพ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟสตอรี (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์)

"เลิฟสตอรี" (Love Story) เป็นเพลงของนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เทย์เลอร์ สวิฟต์ เพลงเขียนโดยสวิฟต์ และผลิตโดยนาธาน แชปแมน ร่วมกับสวิฟต์ เพลงออกจำหน่ายในวันที่ 12 กันยายน..

ใหม่!!: Oggและเลิฟสตอรี (เพลงเทย์เลอร์ สวิฟต์) · ดูเพิ่มเติม »

เวนจอห์นนีคัมส์แมร์ชิงโฮม

ปกแผ่นเพลงในปี พ.ศ. 2406 เพทริค กิลมอร์ เวนจอห์นนีคัมส์แมร์ชิงโฮม (When Johnny Comes Marching Home) เป็นเพลงที่เป็นที่นิยมมากเพลงหนึ่ง ที่ถูกแต่งขึ้นมาในช่วงสงครามกลางเมืองอเมริกา ซึ่งในปีที่แต่งเพลงนี้ขึ้นมานั้น สงครามได้ดำเนินมาประมาณ 2 ปีแล้ว เพลงนี้แต่งขึ้นมาในปี ค.ศ. 1863 แต่งโดย แพทริค กิลมอร์ (Patrick Gilmore) ซึ่งอยู่ฝ่ายสหรัฐอเมริกา (ฝ่ายเหนือ) โดยกิลมอร์แต่งเพลงนี้ให้กับ แอนนี กิลมอร์ พี่น้องของเขา มีเนื้อหาเกี่ยวกับการกลับมาอย่างปลอดภัยของคู่หมั้นของแอนนี กิลมอร์จากสงครามกลางเมือง.

ใหม่!!: Oggและเวนจอห์นนีคัมส์แมร์ชิงโฮม · ดูเพิ่มเติม »

เวนโดฟส์คราย

วนโดฟส์คราย (When Doves Cry) เป็นเพลงของพรินซ์ ในปี..

ใหม่!!: Oggและเวนโดฟส์คราย · ดูเพิ่มเติม »

เสือเฒ่า

ือเฒ่า เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: Oggและเสือเฒ่า · ดูเพิ่มเติม »

เห่าดง

ห่าดง เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: Oggและเห่าดง · ดูเพิ่มเติม »

เอมี ไวน์เฮาส์

อมี เจด ไวน์เฮาส์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1983 - เสียชีวิต 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011) นักร้องแนวโซลชาวอังกฤษ และนักแต่งเพลงแจ๊ส อัลบั้มชุดแรกของเธอออกในปี 2003 ชื่อชุด Frank ได้ถูกเสนอชื่อรางวัลเมอร์คิวรีไพรซ์ และเธอได้รับรางวัลไอวอร์ โนเวลโล ในปี 2004 สำหรับซิงเกิลเปิดตัวของเธอ "Stronger than Me" และอีกครั้งหนึ่งในเดือน พฤษภาคม 2007 กับซิงเกิลแรกจากอัลบั้มในปี 2006 Back to Black ในเพลง "Rehab" และต่อมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ยังได้รับรางวัลบริทอวอร์ด สาขาศิลปินหญิงที่ดีที่สุดของเกาะอังกฤษ นอกจากนั้นยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส ปี 2007 อีกด้วย ในปี 2007 เธอชนะได้รับรางวัลแกรมมี สาขาเพลงแห่งปี ในเพลง rehab สาขาบันทึกเสียงแห่งปี ทางด้านชีวิตส่วนตัว เธอได้เข้าพิธีแต่งงานกับแฟนหนุ่ม เบลค ฟิดเลอร์ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2007 เกี่ยวกับสุขภาพเธอเป็นโรคซึมเศร้า มีปัญหาติดยาและติดเหล้า เธอเคยถูกจับกุมข้อหาครอบครองยาเสพติด พร้อมกับเบลก ฟิล์ดเดอร์-ซิวิล สามีของเธอ และในช่วงปลายปี 2007 โดนจับอีกครั้งเนื่องจากข้อหาทำร้ายร่างกายสามี แต่ทั้งสองคดีจบไปตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ทั้งคู่ได้แยกทางกันในเวลาต่อมา ก่อนไวน์เฮาส์จะเสียชีวิต ที่รายงานว่าเธอคบหาอยู่กับเรก แทรวิสส์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ แต่เพิ่งเลิกรากันก่อนหน้านั้นประมาณหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เธอเศร้าเสียใจ ดื่มสุราและเสพยาอย่างหนักจนเสียชีวิต.

ใหม่!!: Oggและเอมี ไวน์เฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลเลนส์ดริทเทอร์เกซัง

อลเลน ดักลาส "The Lady of the Lake" กับลันซล็อต จากผลงานของอัลเฟรด เทนนีสัน บารอนเทนนีสันที่ 1 เอลเลนส์ดริทเทอร์เกซัง (Ellens dritter Gesang) หรือ เอลเลนส์เทิร์ดซอง (Ellen's third song, D839, Op.) เป็นงานประพันธ์ชิ้นหนึ่งที่เป็นที่นิยมของฟรันซ์ ชูแบร์ท แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1825 มักเรียกกันว่าเป็น "อาเว มารีอา ฉบับชูแบร์ท" ทั้งที่ในความเป็นจริงนั้นชูแบร์ทไม่ได้ประพันธ์เพลงนี้เพื่อสดุดีพระแม่มารี ชูแบร์ทประพันธ์งานชิ้นนี้เพื่อประกอบโคลงภาษาเยอรมัน Das Fräulein vom See: Ein Gedicht in sechs Gesängen von Walter Scott.

ใหม่!!: Oggและเอลเลนส์ดริทเทอร์เกซัง · ดูเพิ่มเติม »

เอทูดในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์

อทูด โอปุสที่ 10 หมายเลข 12 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Étude Op. 10, No. 12 in C minor "Revolutionary ") ผลงานของเฟรเดริก ฟรองซัวส์ โชแปง คีตกวีชาวโปแลนด์ สำหรับบรรเลงเดี่ยวเปียโน เป็นผลงานชิ้นที่ 12 ในชุดแรกจากสามชุด จากเอทูดทั้งหมดที่เขาแต่งไว้ 27 ชิ้น โดยอุทิศผลงานชิ้นนี้ให้กับฟรานซ์ ลิซท์ เพื่อนสนิทของเขา โชแปงแต่งผลงานชิ้นนี้เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและเอทูดในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิด กริก

อ็ดเวิด ฮากรัป กริก (ออกเสียงนอร์เวย์: ɛdʋɑɖ ˈhɑːɡərʉp ˈɡrɪɡ, ออกเสียงอังกฤษ: Edvard Hagerup Grieg เอ็ดวาร์ด ฮากรัป กรีก) เป็นคีตกวี และนักเปียโน ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นบุคลากรทางดนตรีที่ทรงอิทธิพลในยุคโรแมนติก หลายบทเพลงคลาสสิกของเขาล้วนเคยผ่านหูสาธารณชนทั่วโลกมาแล้ว เขาสามารถทำให้ดนตรีโฟล์กของนอร์เวย์ ก้าวขึ้นมาอยู่ในดนตรีระดับแถวหน้าของโลก บทเพลงที่โด่งดังที่สุดของเขาคือ In the Hall of the Mountain King ซึ่งล้วนเคยผ่านหูผู้คนทั่วโลกมาแล้ว.

ใหม่!!: Oggและเอ็ดเวิด กริก · ดูเพิ่มเติม »

เทวาพาคู่ฝัน

(Dream of Love Dream of You) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๙ ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อวันจันทร์ที่ 7 กุมภาพัน..

ใหม่!!: Oggและเทวาพาคู่ฝัน · ดูเพิ่มเติม »

เทเลโฟน

"เทเลโฟน" (Telephone) คือซิงเกิลที่สองของเลดี้ กาก้า ศิลปินชาวอเมริกันจากสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของเธอ เดอะเฟมมอนสเตอร์ โดยร่วมงานขับร้องกับบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอารืแอนด์บีชาวอเมริกัน เดิมนั้นกาก้าประพันธ์เพลง "เทเลโฟน" ขึ้นเพื่อให้บริตนีย์ สเปียรส์ หากทว่ามิได้เป็นไปตามแผนการดังกล่าว กาก้าจึงนำเพลงนี้มาขับร้องเพลงเอง โดยร่วมกับบียอเซ่ แรงบันดาลใจหลักของการประพันธ์เพลงนี้คือความกลัวต่อภาวะหายใจไม่ออกของกาก้า เนื้อเพลงเป็นการพรรณนาเกี่ยวกับผู้ร้องเพลงเป็นผู้ที่ชื่นชอบการเต้นในฟลอร์มากกว่าการตอบโทรศัพท์คนที่รัก กาก้าอธิบายว่า telephone ในเนื้อเพลงนั้นเป็นบุคคลที่มีอยู่จริง ซึ่งคอยบอกให้เธอทำงานหนักขึ้น ดนตรีของบทเพลงประกอบด้วยบริดจ์, เวิร์ส-แรปที่ขยายออก และบทส่งท้ายที่ขาดการเชื่อมต่อกับบทเพลง โนวส์ร่วมขับร้องในส่วนท่อนกลางของเพลง ซึ่งเป็นในช่วงที่บทประพันธ์ต้องขับร้องอย่างรวดเร็วพร้อมเสียงดับเบิลบีตส์ "เทเลโฟน" ได้รับคำชื่นชมจากนักวิจารณ์แนวร่วมสมัยทั่วไป ซึ่งกล่าวว่าเป็นเพลงที่โดดเด่นจากอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ มีคำวิจารณ์ที่เปรียบเทียบเพลงนี้กับ "จัสแดนส์" ซิงเกิลแรกของเธอ ซิงเกิลนี้ออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลที่สองของอัลบั้มและขึ้นชาร์ตดิจิตอลดาวน์โหลดในหลายประเทศ ตามหลังการออกจำหน่ายอัลบั้มในสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, แคนาดา, ไอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์, นิวซีแลนด์, สวีเดน, ฮังการี และสหราชอาณาจักร กาก้าเคยขับร้องเพลงนี้ในรูปแบบอคูสติกร่วมกับเพลง "แดนส์อินเดอะดาร์ก" ในงานประกาศรางวัลบริตประจำปี ค.ศ. 2010เพื่อรำลึกถึงอเล็กซานเดอร์ แม็กควีน และเพลงนี้ยังอยู่ในรายชื่อเพลงในการจัดคอนเสิร์ตเดอะมอนสเตอร์บอลทัวร์ในยุโรป กาก้าอธิบายมิวสิกวิดีโอว่าจะเป็นเรื่องราวตามต่อจากมิวสิกวิดีโอเพลง "ปาปารัสซี่" ซึ่งถ่ายทำเป็นลักษณะภาพยนตร์สั้น โดยกาก้าจะอยู่ในคุกและได้รับการประกันตัวโดยบียอนเซ่ พวกเธอไปยังร้านอาหารเล็กๆซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเหตุการณ์ซึ่งทั้งสองได้ฆ่าแขกของร้านทั้งหมด ในตอนจบกาก้าและบียอนเซ่หลบหนีจากตำรวจ และคาราวะต่อเควนติน แทแรนติโนและภาพยนตร์ของเขาเรื่อง คิลบิล ในปี..

ใหม่!!: Oggและเทเลโฟน · ดูเพิ่มเติม »

เดอร์ เออร์ เอ็ท ยินดิจท์ แลนด์

อร์ เออร์ เอ็ท ยินดิจท์ แลนด์ (หมายถึง "แผ่นดินอันสวยงาม") เป็นชื่อของเพลงชาติของราชอาณาจักรเดนมาร์ก เพลงนี้ใช้บรรเลงในโอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวกับชาติโดยทั่วไป และบรรเลงร่วมกับเพลงสรรเสริญพระบารมีของเดนมาร์กที่มีชื่อว่า "Kong Christian" ในวาระต่างๆ ที่เกี่ยวของกับพระมหากษัตริย์ โดยปกติแล้วมักใช้ขับร้องด้วยบทร้องบทที่ 1 และสามวรรคสุดท้ายในบทที่ 4 ของเพลงนี้ บทร้องของเพลง Der er et yndigt land ประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1819 โดย Adam Gottlob Oehlenschläger เมื่อมีการตีพิมพ์บทร้องดังกล่าวครั้งแรกมีความยาวของเนื้อหาทั้งสิ้น 12 บท ภายหลังได้ย่อความลงเหลือเพียงบทที่ 1 บทที่ 3 บทที่ 5 และบทที่ 12 ในการจัดพิมพ์ครั้งต่อมา สำหรับทำนองเพลงประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1835 โดย Hans Ernst Krøyer ซึ่งต่อมาได้มีผู้ประพันธ์ทำนองสำหรับเพลง Der er et yndigt land ขึ้นใหม่ 2 ทำนองโดย Thomas Laub และ Carl Nielsen แต่ทั้งสองทำนองนี้ไม่ได้รับการยอมรับและเป็นที่รู้จักของประชาชนมากนัก.

ใหม่!!: Oggและเดอร์ เออร์ เอ็ท ยินดิจท์ แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบิวตีฟูลวันส์

ี้ไอม์อะสตาร์ (Baby I'm a Star) เป็นเพลงของพรินซ์ และเดอะเดอะรีโวลูชั่น จากอัลบั้มในปี ค.ศ. 1984 Purple Rain ออกจำหน่ายในวันที่ 25 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและเดอะบิวตีฟูลวันส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอชิงตันโพสต์ (เพลงมาร์ช)

อะวอชิงตันโพสต์ (The Washington Post March) เป็นเพลงมาร์ชที่แต่งโดยจอห์น ฟิลิป ซูซา ในปี ค.ศ. 1889 ได้รับการบรรเลงครั้งแรกในพิธีการเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน..

ใหม่!!: Oggและเดอะวอชิงตันโพสต์ (เพลงมาร์ช) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: Oggและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์

อะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์ (The Stars and Stripes Forever) เป็นเพลงมาร์ชปลุกใจที่แต่งโดย จอห์น ฟิลิป ซูซา ใน..

ใหม่!!: Oggและเดอะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะทันเดอเรอร์

อะทันเดอเรอร์ (The Thunderer) เป็นเพลงมาร์ชผลงานประพันธ์ของจอห์น ฟิลิป ซูซาในปี..

ใหม่!!: Oggและเดอะทันเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะนัทแครกเกอร์

การแสดงในปี ค.ศ. 1892 โดยมาริอินสกี้บัลเล่ต์ (จากซ้าย) มาเรียนา, คลารา และ ฟริตซ์ เทพธิดา กับเจ้าชาย, มาริอินสกี้บัลเลต์ ประมาณปี 1900 เดอะนัทแครกเกอร์ (The Nutcracker) เป็นบัลเลต์ความยาว 2 องก์ โดยปิออตร์ อิลิช ไชคอฟสกี แต่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: Oggและเดอะนัทแครกเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์

หน้าปก Das Wohltemperierte Klavier ปี 1722 เดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์ (The Well-Tempered Clavier; Das Wohltemperierte Klavier), BWV 846–893 เป็นหนังสือรวมผลงานประพันธ์สำหรับบรรเลงเดี่ยวด้วยเครื่องลิ่มนิ้วของโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ประกอบด้วยเพรลูดและฟิวก์ใน 24 บันไดเสียงหลักทั้งไมเนอร์และเมเจอร์ บาคได้ระบุไว้ในหนังสือฉบับเผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: Oggและเดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคาท์ เบซี

วิลเลียม เจมส์ "เคาท์" เบซี่ (21 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 26 เมษายน พ.ศ. 2527) นักเปียโน นักออร์แกน หัวหน้าวงดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ในแนวดนตรีแจ๊ซ และบิ๊กแบนด์ เริ่มก่อตั้งวงดนตรีของตัวเองตั้งแต่ พ.ศ. 2477 และมีชื่อเสียงควบคู่ไปกับวงดนตรีของดุค เอลลิงตัน ฉายา เคาท์ ของเบซี่ ตั้งขึ้นล้อกันไปกับฉายา ดุค ของเอลลิงตัน และ เอิร์ล ของเอิร์ล ไฮน์ส เบซี่มีผลงานดนตรีร่วมกับนักดนตรีมากมาย เช่น แฟรงค์ ซินาตรา เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ เดอะ มิลส์ บราเธอร์ส แจ็กกี วิลสัน ควินซี โจนส์ และทำดนตรีประกอบภาพยนตร์เพลง รวมทั้งแสดงในภาพยนตร์ด้วยหลายเรื่อง เบซี่ ได้รับรางวัลแกรมมี่ 9 ครั้ง ช่วงบั้นปลายชีวิตป่วยด้วยโรคหัวใจจนต้องเข้าโรงพยาบาล แต่ก็ยังออกตระเวนแสดงดนตรี โดยนั่งรถเข็นขึ้นบนเวที เบซี่ เสียชีวิตที่ฟลอริดา เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2527 ด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน ถึงแม้เบซี่จะเสียชีวิตไปแล้ว วงดนตรีเคาท์ เบซี่ ก็ยังรวมวงกันอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: Oggและเคาท์ เบซี · ดูเพิ่มเติม »

เตือนใจ

ตือนใจ (Old-Fashioned Melody) เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๓๘ ทรงพระราชนิพนธ์ทำนองและคำร้องภาษาอังกฤษใน..

ใหม่!!: Oggและเตือนใจ · ดูเพิ่มเติม »

เซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ

ซียร์เกย์ วาซีเลวิช รัคมานีนอฟ (Сергей Васильевич Рахманинов) เป็นคีตกวี, นักเปียโน และ วาทยากร ชาวรัสเซีย เขาถูกจัดให้เป็นนักเปียโนที่มีชั้นเชิงและมีอิทธิพลมากที่สุดในยุคของเขา และเป็นผู้นำดนตรีคลาสสิกแบบโรแมนติกในยุโรป บทเพลงของเซียร์เกย์นั้นมีแรงขับมหาศาล และต้องอาศัยเทคนิคชั้นสูงในการบรรเลง โดยเฉพาะ Piano Concerto No.2, Op.

ใหม่!!: Oggและเซียร์เกย์ รัคมานีนอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปียโนคอนแชร์โต (กริก)

ปียโนคอนแชร์โตในบันไดเสียง เอ ไมเนอร์, โอปุสที่ 16 ผลงานประพันธ์ของเอ็ดเวิด กริก นักประพันธ์ชาวนอร์เวย์ ในปี..

ใหม่!!: Oggและเปียโนคอนแชร์โต (กริก) · ดูเพิ่มเติม »

เปียโนโซนาตาหมายเลข 11 (โมซาร์ท)

ปียโนโซนาตาหมายเลข 11 ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (Piano Sonata No.) ผลงานประพันธ์ของโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท เป็นโซนาตาสำหรับบรรเลงเดี่ยวเปียโน แบ่งออกเป็น 3 มูฟเมนต์ บรรเลงด้วยบันไดเสียง เอ เมเจอร์ หรือ เอ ไมเนอร์ มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 20 นาที.

ใหม่!!: Oggและเปียโนโซนาตาหมายเลข 11 (โมซาร์ท) · ดูเพิ่มเติม »

เปียโนโซนาตาหมายเลข 14 (เบโทเฟน)

ปียโนโซนาตาหมายเลข 14 ในบันไดเสียง ซี ชาร์ป ไมเนอร์ (Piano Sonata No. 14 in C # minor, Op. 27 No. 2) ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน หรือ Quasi una fantasia หรือรู้จักกันในชื่อ มูนไลท์ โซนาตา (Moonlight Sonata; Mondscheinsonate) เป็นผลงานของเบโทเฟินที่เผยแพร่เมื่อ..

ใหม่!!: Oggและเปียโนโซนาตาหมายเลข 14 (เบโทเฟน) · ดูเพิ่มเติม »

เปนชู้กับผี

ปนชู้กับผี เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่องที่ 3 ของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และเป็นผลงานเรื่องแรกซึ่งวิศิษฏ์ให้ผู้อื่นเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ให้ นั่นคือ ก้องเกียรติ โขมศิริ หนึ่งใน "โรนินทีม" ซึ่งกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ลองของ".

ใหม่!!: Oggและเปนชู้กับผี · ดูเพิ่มเติม »

เป็นเวลาที่พระคริสต์ได้ประสูติ

ป็นเวลาที่พระคริสต์ได้ประสูติ (O Holy Night; Cantique de Noël) หรือเป็นที่รู้จักกันในฐานะเพลงสรรเสริญในวันคริสต์มาส เป็นผลงานการประพันธ์ของ Adolphe Adam ในปี ค.ศ. 1847 และเป็นบทกวีภาษาฝรั่งเศสในนามว่า "Minuit, chrétiens" โดย Placide Cappeau (ค.ศ. 1808-1877) ผู้ค้าไวน์และนักกวี บาทหลวงท้องถิ่นได้ขอให้ Placide ประพันธ์บทร้องกรองคริสต์มาส และกลายเป็นเพลงสรรเสริญสากล สำหรับแสดงเมื่อการแสดงโอเปร่าจบลง.

ใหม่!!: Oggและเป็นเวลาที่พระคริสต์ได้ประสูติ · ดูเพิ่มเติม »

เนเวอร์กอนนากีฟยูอัป

"เนเวอร์กอนนากีฟยูอัป" (Never Gonna Give You Up) เป็นเพลงของนักร้องชาวอังกฤษ ริก แอสต์ลีย์ เพลงออกขายเป็นซิงเกิล จากอัลบั้มเปิดตัวของเขาที่ขายได้หลายล้านชุด ที่ชื่อ Whenever You Need Somebody เพลงอันดับ 1 ทั่วโลกหลายประเทศ ทั้งในประเทศบ้านเกิด คือสหราชอาณาจักร อันดับ 1 ยาวนาน 5 สัปดาห์ ในปี 1987 และถือเป็นซิงเกิลที่ขายดีที่สุดของปีนั้น เพลงนี้ยังได้รับรางวัลบริตอวอร์ดส สาขาซิงเกิลอังกฤษยอดเยี่ยม เพลงติดอันดับ 1 หลายประเทศในยุโรป และอันดับ 1 บนชาร์ตบิลบอร์ดฮอต 100 ในสหรัฐอเมริกาเมื่อ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: Oggและเนเวอร์กอนนากีฟยูอัป · ดูเพิ่มเติม »

Blues for Uthit

The song writing No.

ใหม่!!: OggและBlues for Uthit · ดูเพิ่มเติม »

Kinari Suite

ลงพระราชนิพนธ์ชุด Kinari Suite หรือ กินรี เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ชุดที่ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: OggและKinari Suite · ดูเพิ่มเติม »

Lay Kram Goes Dixie

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 23 ทรงพระราชนิพนธ์ในปี พ.ศ. 2498 พระราชทานให้แก่ วงลายคราม ซึ่งเป็นวงดนตรีแจ๊สส่วนพระองค์ ที่ทรงตั้งขึ้นหลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทย บรรเลงครั้งแรกทางสถานีวิทยุ อ.ส. "วงลายคราม" เป็นวงดนตรีที่มีแต่นักดนตรีสมัครเล่น ซึ่งล้วนแต่เป็นพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ที่พระองค์ทรงคุ้นเคยมาแต่ทรงพระเยาว์ อาทิ หม่อมเจ้าวิมาทิตย์ รพีพัฒน์, หม่อมเจ้าแววจักร จักรพันธุ์, หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์, หม่อมเจ้ากมลีสาน ชุมพล, หม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์, หม่อมราชวงศ์พงศ์อมร กฤดากร หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นักร้องของวงลายครามได้แก่ หม่อมเจ้าบูรธาภิเศก โสณกุล, หม่อมเจ้าขจรจบกิตติคุณ กิติยากร ด้วยเหตุที่วงลายครามเป็นวงดนตรีของนักดนตรี นักร้องสมัครเล่น หลายๆครั้งที่นักดนตรีมักจะเล่นผิดๆถูกๆ แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก็มีพระมหากรุณาธิคุณ ทรงแนะนำให้กำลังใจให้ทุกคนมีความสนุกครึกครื้นอยู่กับการเล่นดนตรีอยู่เสมอ.

ใหม่!!: OggและLay Kram Goes Dixie · ดูเพิ่มเติม »

Oh I Say

ป็นเพลงพระราชนิพนธ์อันดับที่ 21 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ใหม่!!: OggและOh I Say · ดูเพิ่มเติม »

Optimystique

Optimystique เป็นอัลบั้มแรกของยานนี ในแนวดนตรีนิวเอจ ยานนีออกอัลบั้มแรกในปี พ.ศ. 2527 ภายใต้การควบคุมดูแลของ Atlantic และ Private Music ในปี พ.ศ. 2532 Optimystique เป็นอัลบั้มแรกที่อัดเสียงในสตูดิโอเมื่อปี พ.ศ. 2523 ใช้ระยะเวลาในการบันทึกเสียง 3 ปีก่อนวางจำหน่ายครั้งแรกในปี พ.ศ. 2527.

ใหม่!!: OggและOptimystique · ดูเพิ่มเติม »

Pictures at an Exhibition

รูปถ่ายของโมเดสต์ มูสซอร์กสกี เมื่อปีค.ศ. 1876 ห้องที่ 3 และ 4 ในท่อนเปิดบทเพลง "Promenade" โดยใช้บทเพลงสำนวนพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงอยู่มาก Pictures at an Exhibition หรือ งานนิทรรศการภาพวาด เป็นบทเพลงชุดผลงานเดี่ยวเปียโนที่ประพันธ์โดย โมเดสต์ มูสซอร์กสกีขึ้นในปีค.ศ. 1874 ซึ่งเป็นผลงานที่ทั่วโลกยอมรับว่า เป็นบทเพลงเดี่ยวเปียโนที่มีชื่อเสียงที่สุดในแวดวงเพลงคลาสสิก และเป็นผลงานสำหรับยอดนักเปียโนที่ความสามารถสูง มูสซอร์กสกีได้ประพันธ์เพลงนี้โดยอาศัยเพลงพื้นเมืองของชาวรัสเซียแฝงไว้มาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้อีกมากมายในบทเพลง และต่อมา มีคีตกวีแห่งยุคศตวรรษที่ 20 ในนามว่า มัวริส ราเวล คีตกวีชาวฝรั่งเศส ในยุคอิมเพรสชั่นนิสม์ (Impressionism) ได้นำเพลงของมูสซอร์กสกีมาเรียบเรียงตามแนวฉบับอิมเพรสชั่นนิสม์ ราเวลได้ประพันธ์เพลงนี้โดยคงรูปแบบเพลงของมูสซอร์กสกีไว้ให้วงออเคสตร้าบรรเลง จึงได้มีการบันทึกเสียงการแสดงสด ๆ อีกด้วย จึงทำให้ชื่อมูสซอร์กสกีเป็นที่นิยมของทั่วโลกว่า เพลงของเขา ไม่ตกจริง.

ใหม่!!: OggและPictures at an Exhibition · ดูเพิ่มเติม »

1812 โอเวอร์เชอร์

''Battle of Borodino'', by Peter von Hess, 1843 การบรรเลง ''1812 Overture'' ประกอบการยิงปืนใหญ่ ในปี 2005 ที่ออสเตรเลีย The Year 1812, Festival Overture in E flat major, Op.

ใหม่!!: Oggและ1812 โอเวอร์เชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

.oggOGGOgg Vorbis

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »