โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

6 กรกฎาคม

ดัชนี 6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

224 ความสัมพันธ์: บอร์นทูดาย (อัลบั้ม)บุษบาหน้าตลาดบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560ชนกสุดา รักษนาเวศฟรีดา คาห์โลฟลอเรนซ์แอนด์เดอะแมชชีนฟอร์เรสท์ กัมพ์ อัจฉริยะปัญญานิ่มฟิฟตีเซนต์ฟุตบอลโลก 2002ฟุตบอลโลก 2006ฟ้าใหม่พ.ศ. 1863พ.ศ. 2410พ.ศ. 2428พ.ศ. 2432พ.ศ. 2460พ.ศ. 2464พ.ศ. 2478พ.ศ. 2480พ.ศ. 2485พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2494พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2506พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2514พ.ศ. 2517พ.ศ. 2518พ.ศ. 2527พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช...พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษพิชชา อาภากาศพิจิตร กุลละวณิชย์กรกฎาคม พ.ศ. 2548กรมดับเพลิงกวี ตันจรารักษ์การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008การูด้า ไออาคอสกิตติ สิงหาปัดกินทามะกินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย : กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคตกีฬาใน พ.ศ. 2548กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2012มหาวิทยาลัยรามคำแหงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรีมหาดเล็กมะกิ โกะโตมัสยิดกลางจังหวัดปัตตานีมาเรียแห่งเท็คมินิตทูวินอิตยอดดอย ศิษย์เส่ยยัน ฮุสยุวดี เรืองฉายรังษีนภดล ยุคลราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อบทความวันนี้ในอดีตรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อวันสำคัญของคาซัคสถานรายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะรายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (มังงะ)รายชื่อตอนในเบ็นเท็นรายชื่อตอนในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหววรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษรายพระนามพระสันตะปาปารายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามประธานาธิบดีคอสตาริการายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทยรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยร็อคแมน ZXลาร์รี่ บาตานลุ้นรักตามสายลมลูนาซีวันชาติวันเอกราชวิลเลียม ฟอล์คเนอร์วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานครวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดลวิทวัส ท้าวคำลือวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์วุฒิสิทธิ์ สืบสุวรรณสมาคมสร้างคุณค่าสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสารวัตรใหญ่สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์สุริยา ลาภวิสุทธิสินสถานค้ากามชายแห่งถนนเคลฟแลนด์สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498)สงครามดอกกุหลาบสตางค์ มงคลสุขสโมสรฟุตบอลชลบุรีในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556หมึกสาว! ลุยหลุดโลกหยุดเข็มนาฬิกา…แค่นาทีเดียวอสูรรับใช้ของยาย 0 สนิทอายี กัลเบซอาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรียอำเภอวานรนิวาสอโรคา ปาร์ตี้อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์กอเล็กซ์ บาบาฌัก ชีรักผีอยากกลับมาเกิดจอร์จ ดับเบิลยู. บุชจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโกจำอวดหน้าจอจูเต๋อจี7จีเอ เกอิจูทสึกะ อาร์ท ดีไซน์ คลาสธงชาติมาลาวีทอม อารายาทะไลลามะที่ 14ทีวี 24ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงดิอะเมซิ่งเรซ 5ดิจิมอนครอสวอร์สดีทูบีคริสต์ทศวรรษ 1320คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคอนเสิร์ตไลฟ์เอทคะโอะริ อีดะคณะกรรมการมรดกโลกคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นตี๋ใหญ่ (ละครโทรทัศน์)ซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง)ซิลเวสเตอร์ สตอลโลนซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมีซง อิลกุกปฏิบัติการบาร์บารอสซาประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1952ประเทศมาลาวีประเทศคอโมโรสประเทศคาซัคสถานประเทศไทยใน พ.ศ. 2463ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017ปรารถนา บรรจงสร้างปาริฉัตร ไพรหิรัญปิยะวัฒน์ เข็มเพชรปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์นะมิ ทะมะกินายกเมืองพัทยานินจาคาถาโอ้โฮเฮะแก้วสารพัดนึก (ละครโทรทัศน์)แรมโบ้แจซมิน เกรซ กรีมัลดีแคดโบโรซอรัสโมริตะ สาวใสไร้คำพูดโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์โรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรเจอร์ เฟเดอเรอร์โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์โทมัส เอฟ. วิลสันโคคา-โคล่าไฮน์ริค ฮาร์เรอร์เบ็ตตี ฟอร์ดเบเรนการ์ที่ 2 แห่งอิตาลีเพชฌฆาตดาวโจรเพลงชาติมองโกเลียเพลงชาติไทยเรื่องเล่า ๙ แผ่นดินเวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์เวทย์ ศักดิ์เมืองแกลงเอชเคทีโฟร์ตีเอตเอลิเนอร์แห่งอากีแตนเฮเทอร์ โนวาเจฟฟรีย์ รัชเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์เจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรียเจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซียเจ้านางเจเน็ต ลีห์เทพบุตรถังแตกเทวดาสาธุเทคเคนเขมรแดงเดอะเฟมเดือน 6เดือน 7เซราฟิม โทโดรอฟเนื้อคู่ The Final AnswerT-Pistonz+KMC15 กรกฎาคม25 กันยายน3 ตุลาคม4 สิงหาคม5 กรกฎาคม6 มีนาคม7 มกราคม9 มิถุนายน ขยายดัชนี (174 มากกว่า) »

บอร์นทูดาย (อัลบั้ม)

อร์นทูดาย (Born to Die) คือสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของลานา เดล เรย์ นักร้อง นักแต่งเพลงหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2555 โดยค่ายอินเตอร์สโคป โพลีดอร์ และสเทรนเจอร์ ในอัลบั้มนี้เพื่อให้ได้ดนตรีตามที่เธอต้องการ เดลเรย์ได้ทำงานร่วมกับโปรดิวเซอร์หลายคน ประกอบด้วย แพทริก เบอร์เกอร์, เจฟฟ์ บาห์สเกอร์, คริส ไบรด์, อีมิล เฮย์นี, จัสติน ปาร์กเกอร์, ริก โนเวลส์, รอบอป็อป และอัล ชัซ การบันทึกเสียงส่วนใหญ่พวกเขาพยายามให้ออกมาในแนวบาโรกป็อป ที่มีอิทธิพลเพิ่มเติมมาจากเพลงแนวออลเทอร์นาทิฟ ฮิปฮอป และทริปฮอป ความคิดเห็นจากนักวิจารณ์ดนตรีร่วมสมัยที่ต่ออัลบั้มบอร์นทูดาย นั้นถูกแบ่งออก โดยบางส่วนนั้นยกย่องในด้านการผลิตที่โดดเด่น ในขณะเดียวกันความซ้ำซากของมันและเนื้อหาที่เร้าอารมณ์เป็นแนวโน้มที่ทำให้โดนร้องเรียนอยู่เป็นประจำ อัลบั้มเปิดตัวที่อันดับ 2 ในชาร์ต''บิลบอร์ด'' 200 มียอดขาย 77,000 ชุด ในสัปดาห์แรก อัลบั้มนี้ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำขาวสำหรับยอดขายกว่า 1 ล้านชุดโดยสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้บอร์นทูดายได้ทำอันดับได้สูงสุดที่อันดับ 11 ในอินเตอร์เนชั่นแนลเรเคิดส์ชาร์ต และในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบอร์นทูดาย (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

บุษบาหน้าตลาด

ษบาหน้าตลาด เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวคอมเมดี้-ดราม่า ในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบุษบาหน้าตลาด · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

ชนกสุดา รักษนาเวศ

นกสุดา รักษนาเวศ ชื่อเล่น แก๊ป เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการชักชวนของเอ ศุภชัย จนได้เซ็นสัญญากับทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและชนกสุดา รักษนาเวศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดา คาห์โล

ฟรีดา คาห์โล (Frida Kahlo) (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2450 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2497) จิตรกรชาวเม็กซิโกแนวผสมแบบเหมือนจริง สัญลักษณนิยม และเหนือจริง เป็นผู้สนับสนุนคอมมิวนิสต์ ภรรยาของจิตรกรชาวเม็กซิกัน ดิเอโก ริเวรา (Diego Rivera) ฟรีดา คาห์โล มีลักษณะเด่นเป็นที่สังเกตได้จากไรหนวดและขนคิ้วดกชนกัน ชอบแต่งกายด้วยชุดฟูฟ่องแบบชุดเม็กซิกัน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟรีดา คาห์โล · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์แอนด์เดอะแมชชีน

ฟลอเรนซ์แอนด์เดอะแมชชีน (Florence and the Machine หรือ Florence + the Machine) หรือชื่อจริงของนักร้องนำว่า ฟลอเรนซ์ เวลช์ เป็นวงดนตรีจากสหราชอาณาจักรโดยที่แนวดนตรีของฟลอเรนซ์ได้รับการวิจารณ์ว่าเป็นการผสมผสานกันของดนตรีแนวป็อป, ร็อก และ โซล วงดนตรีของเธอได้รับการตอบรับอย่างดีมาโดยตลอดก่อนการเข้าสู่วงการดนตรีกระแสหลัก โดยความร่วมมือของบีบีซีที่โปรโมทฟลอเรนซ์ทางช่องบีบีซี อินทรูดิวซิง ส่วนอัลบั้มเดบิวต์มีชื่อว่า "Lungs" วางจำหน่ายวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 อัลบั้มดังกล่าวขึ้นชาร์ตอันดับอัลบั้มยอดนิยมของสหราชอาณาจักร โดยอยู่ลำดับที่ 2 ในช่วง 5 สัปดาห์แรกของการวางจำหน่าย ในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553 อัลบั้มเดบิวต์นี้ก็ก้าวขึ้นสู่อันดับที่ 1 ในชาร์ตชาร์ตอันดับอัลบั้มยอดนิยมของสหราชอาณาจักร และอยู่ในชาร์ตติดต่อกันนานถึง 28 สัปดาห์ จนกระทั่งงานประกาศรางวัลบริทอวอร์ดประจำปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟลอเรนซ์แอนด์เดอะแมชชีน · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์เรสท์ กัมพ์ อัจฉริยะปัญญานิ่ม

ฟอร์เรสท์ กัมพ์ อัจฉริยะปัญญานิ่ม (Forrest Gump) เป็นภาพยนตร์แนวชีวิต - เบาสมอง ที่ออกฉายใน ค.ศ. 1994 แสดงนำโดย ทอม แฮงส์ ที่ประสบความสำเร็จมากเรื่องหนึ่ง ภาพยนตร์เรื่องนี้ สร้างจากนิยายเรื่อง Forrest Gump ที่แต่งโดย วินส์ตัน กรูม (Winston Groom) ภาพยนตร์เรื่องนี้ ได้รับการจัดอันดับเป็นภาพยนตร์อเมริกันที่สุดตลอดกาล อันดับที่ 71 ทำรายได้ 677,387,716 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเทียบเท่าเงินกว่า 989 ล้านดอลลาร์สหรัฐในปัจจุบัน ซึ่งมีเพียงภาพยนตร์อมตะอย่างเรื่อง ไททานิก, เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์, แฮร์รี่ พอตเตอร์ ที่เอาชนะยอดนี้ได้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟอร์เรสท์ กัมพ์ อัจฉริยะปัญญานิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ฟิฟตีเซนต์

ฟิฟตีเซนต์ มีชื่อจริงว่า เคอร์ติส เจมส์ แจ็กสัน ที่ 3 เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1975 เป็นแร็ปเปอร์ ที่ได้รับรางวัลใหญ่ไปครองถึง 6 รางวัล รวมทั้ง ศิลปินยอดเยี่ยม และ อัลบั้มยอดเยี่ยม ประจำปี ในงาน Bilboard Music Awards 2005 จากงานเพลงชุด The Massacre.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟิฟตีเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2002

ฟุตบอลโลก 2002 (2002 FIFA World Cup Korea/Japan) จัดขึ้นในเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ในวันที่ 14 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 17 และเป็นครั้งแรกที่มีเจ้าภาพ 2 ประเทศ ซึ่งทำให้ทีมชาติเกาหลีใต้และทีมชาติญี่ปุ่นเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับทีมชาติฝรั่งเศสที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 1998 และนับเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปเอเชีย ในการแข่งขันนี้ทีมชาติบราซิลชนะเยอรมนี 2-0 ในนัดชิงชนะเล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟุตบอลโลก 2002 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2006

ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟุตบอลโลก 2006 · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าใหม่

ฟ้าใหม่ เรื่องราวของเหตุการณ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมื่อข้าศึกเข้ามาราวี คนไทยแปรพักตร์เพราะหวังเป็นใหญ่ในภายหน้า เจ้าเหนือหัวฝักใฝ่อยู่แต่อิสตรี ทำให้บ้านเมืองถึงกลียุค ผู้กล้าของไทยแม้เพียงน้อยนิดหรือจะทัดทานข้าศึกที่ยกมาเป็นพันเป็นหมื่น ไม่นานนักอยุธยาก็ล้มสลาย แม่ทัพนายกองที่มีฝีมือก็ถูกส่งไปประจำหัวเมืองต่างๆ ไม่มีผู้ใดกอบกู้อยุธยา พวกหัวเมืองพากันแต่งตั้งตัวเองเป็นเจ้าเมือง และเมืองพิษณุโลกถูกพม่าแย่งชิงไป ทำให้พระเจ้าตากรู้สึกเสียพระทัยอย่างมากจึงต้องส่งยอดฝีมือขึ้นไปปราบจนพม่าไม่กล้ามาตีสยามประเทศอีกเลย ฟ้าใหม่เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กรุงธนบุรี จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ผ่านสายตาของตัวละครหลักชื่อ "แสน" นายทหารมหาดเล็กเชื้อสายผู้ดีแขกเทศ เพื่อนร่วมสาบานรุ่นของคุณคนใหญ่ (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช), คุณคนกลาง (สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) และคุณคนเล็ก (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) ซึ่งได้เค้าโครงมาจากประวัติของเจ้าพระยามหาเสนา (บุนนาค) ต้นสกุลบุนนาค ที่คุณศุภรเป็นสะใภ้คนหนึ่งของตระกูลนี้ นวนิยายดังกล่าวได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์โดย บริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น จำกัด จากบทประพันธ์ของ ศุภร บุนนาค บทโทรทัศน์โดย ศัลยา กำกับการแสดงโดย จรูญ ธรรมศิลป์ นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ กับ พัชราภา ไชยเชื้อ ร่วมด้วย จีรนันท์ มะโนแจ่ม, อติมา ธนเสนีวัฒน์, ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล, ชินมิษ บุนนาค, คงกระพัน แสงสุริยะ และนักแสดงมากฝีมืออีกคับคั่ง ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทั้งนี้ละครโทรทัศน์ดังกล่าวมีจำนวน 9 ตอน ออกอากาศทุกวันจันทร์และอังคาร เวลา 20.25 น. เริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน ถึงวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ช่อง 7 นำละคร ฟ้าใหม่ กลับมาออกอากาศอีกครั้งทุกคืนวันศุกร์ 20:05 - 22:40 น. และ เสาร์-อาทิตย์ 20:15 - 22:30 น. เริ่มตอนแรกวันศุกร์ที่ 6 ตุลาคม −22 ตุลาคม ต่อจากละครชุดภารกิจรัก ตอน ยึดฟ้าหาพิกัดรัก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฟ้าใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1863

ทธศักราช 1863 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 1863 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2428 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2432 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)

ลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) เป็นบุคคลที่มีความสำคัญบุคคลหนึ่งของประเทศไทย เป็นผู้มีส่วนร่วมในประวัติศาสตร์การเมืองไทยในช่วงหลังเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกพฤฒสภาหลายสมัย และได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็นทั้งประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธาน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ)

ระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) (? — 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงการต่างประเทศ เอกอัครราชทูตไทยคนแรกประจำประเทศญี่ปุ่น และองคมนตรีไทย พระยาศรีเสนา มีนามเดิมว่า ฮะ สมบัติศิริ ได้ศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญ ก่อนที่จะเป็นคนไทยกลุ่มแรกๆ ที่ไปศึกษาด้านการปกครอง ที่ London School of Economics ประเทศอังกฤษ เมื่อ..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)

ต่อไปนี้คือรายละเอียดวันที่ และสถานที่ที่จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรีย์ และสมเด็จพระราชินีอัครมเหสี แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ รวมทั้งสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1609 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้จะจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสท์มินสเตอร์เสมอ เว้นแต่กรณีนอกเหนือจากนั้นจะหมายเหตุไว้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)

หลวงปู่เขียน ฐิตสีโล (29 ตุลาคม พ.ศ. 2456 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) เป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระอริยเวที อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา อดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า รวมทั้ง เป็นเพื่อนสหธรรมิกกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ตั้งแต่ครั้งสมัยที่ท่านทั้งสามยังมีอายุพรรษาไม่มากนัก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ปูนปั้นของพระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์จากหลุมฝังพระศพของพระองค์ พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (8 กันยายน พ.ศ. 1700 – 6 เมษายน พ.ศ. 1742) ครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษระหว่างปี พ.ศ. 1732 ถึง พ.ศ. 1742 มักจะถูกเรียกพระนามว่า ริชาร์ดใจสิงห์ (Richard the Lionheart) เนื่องจากในสมัยของพระองค์ พระองค์ทรงเป็นวีรบุรุษในหมู่ชาวชนบท และในวรรณกรรมก็มักจะกล่าวถึงพระองค์ในแง่นั้น ทรงเป็นผู้บัญชาการกองทัพกลาง ใน สงครามครูเสด ครั้งที่ 3 และมีชัยชนะเหนือ ซาลาดิน โดยไม่ได้ยึดครองเยรูซาเร็ม เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษมีพระชนม์ชีพตรงกับต้นสมัยอาณาจักรเชียงแสน หรือก่อนสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยประมาณ 76ปี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ

ระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Αʹ, Βασιλεὺς τῶν Ἑλλήνων, Konstantínos Αʹ, Vasiléfs ton Ellínon; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2411 – 11 มกราคม พ.ศ. 2466) เป็นพระมหากษัตริย์กรีซตั้งแต..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Henry II of England หรือ “Curtmantle”) (25 มีนาคม ค.ศ. 1133 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษองค์แรกในสมัยราชวงศ์แพลนแทเจเนต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พิชชา อาภากาศ

อาภากาศ เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพิชชา อาภากาศ · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตร กุลละวณิชย์

ลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 —) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 นายกสภาวิทยาลัยสันตพล, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกและรองผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและพิจิตร กุลละวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กรมดับเพลิง

กรมดับเพลิง (消防庁) หรือ หน่วยดับเพลิงและการจัดการภัยพิบัติ (Fire and Disaster Management Agency) หรือที่รู้จักในชื่อย่อ FDMA เป็นหน่วยดับเพลิง ที่ดำเนินด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน, เหตุฉุกเฉิน, ค้นหาและกู้ภัย รวมถึงการดับเพลิง ซึ่งเป็นหน่วยราชการสังกัดกระทรวงกิจการภายในและการสื่อสาร ทั้งนี้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศไทย ยังได้ร่วมลงนามความร่วมมือกับ FDMA ในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการ เนื่องด้วยประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ประสบภัยธรรมชาติค่อนข้างมากแต่มีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ซึ่งความร่วมมือดังกล่าว จัดเป็นความร่วมมือในรูปแบบทวิภาคี รวมถึงคณะเจ้าหน้าที่หน่วยงาน FDMA ยังเคยเดินทางมาเพื่อร่วมดูงานที่ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 3 ปราจีนบุรี ที่จัดขึ้นในประเทศไทย เพื่อชมการสาธิตการช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนน โดยเทศบาลตำบลประจันตคามร่วมกับศูนย์ป้องกันภัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกรมดับเพลิง · ดูเพิ่มเติม »

กวี ตันจรารักษ์

กวี ตันจรารักษ์ มีชื่อเล่นว่า บีม เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย อดีตสมาชิกนักร้องกลุ่มวงดีทูบี ปัจจุบัน เป็นศิลปินอิสร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกวี ตันจรารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

การูด้า ไออาคอส

การูด้า ไออาคอส เป็นตัวละครในเรื่องเซนต์เซย่าในภาคเจ้านรกฮาเดส เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ และเป็น 1 ใน 3 ขุนพลผู้พิพากษาแห่งยมโลก คู่กับ ไวเวิร์น ราดาแมนทีส และ กริฟฟิน ไมนอ.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและการูด้า ไออาคอส · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สิงหาปัด

กิตติ สิงหาปัด ผู้ประกาศข่าว ในรายการ ข่าว 3 มิติ ทางไทยทีวีสีช่อง 3 และพิธีกรรายการ วันนี้ที่รอคอย ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี อดีตผู้ประกาศข่าวค่ำโมเดิร์นไนน์ทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการ ไอทีวี ฮอตนิวส์ อดีตรองผู้อำนวยการฝ่ายข่าว ด้านสนับสนุนการผลิตไอทีวี โดยเขาเป็นหนึ่งในผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานีโทรทัศน์ไอทีวี คู่กับเทพชัย หย่อง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกิตติ สิงหาปัด · ดูเพิ่มเติม »

กินทามะ

กินทามะ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เขียนโดย ฮิเดะอะกิ โซะระชิ เริ่มลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2546 และลงตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ได้รับการจัดพิมพ์รวมเล่มเป็นหนังสือการ์ตูนมาแล้ว 72 เล่ม เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับซากาตะ กินโทกิ อดีตซามูไรที่ทำอาชีพรับจ้างอิสระพร้อมด้วยชิมูระ ชินปาจิและคางุระ เพื่อหาเงินมาเลี้ยงชีพในยุคที่ซามูไรตกต่ำเนื่องจากการรุกรานของมนุษย์ต่างดาว เนื้อเรื่องเป็นการผสมผสานระหว่างแนวย้อนยุคและแนววิทยาศาสตร์ ลักษณะแนวเรื่องเป็นแนวตลกและต่อสู้ ออริจินอลวิดีโอแอนิเมชัน (โอวีเอ) ของการ์ตูนกินทามะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ได้รับการฉายในงานจัมป์เฟสต้า 2006 อะนิเมะทัวร์ ในปี พ.ศ. 2548 หลังจากนั้นบริษัทซันไรส์ได้นำการ์ตูนกินทามะมาจัดทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางช่องทีวีโตเกียว ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2553 รวมจำนวนตอนทั้งสิ้น 201 ตอน และได้มีการออกอากาศภาคต่อของภาพยนตร์การ์ตูนกินทามะ โดยใช้ชื่อว่า กินทามะ' (มีเครื่องหมายอะพอสทรอฟีปรากฏหลังคำว่า กินทามะ) ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2554 จนถึงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2555 และออกอากาศอีกครั้งพร้อมกับออกอากาศตอนเก่าโดยใช้ชื่อว่า กินทามะ ภาคล่วงเวลา ฉายระหว่างวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556 ในปี พ.ศ. 2558 ได้มีการออกกากาศภาคต่ออีกครั้งโดยใช้ชื่อว่า กินทามะ° ผลิตโดยบันไดนัมโคพิกเจอส์ เรี่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559 ในญี่ปุ่น กินทามะเป็นการ์ตูนที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ติดอันดับใน 10 อันดับแรกของการ์ตูนที่มียอดขายสูงสุด กระแสตอบรับของการ์ตูนกินทามะมีทั้งด้านบวกและด้านลบ ด้านบวกคือความชื่นชอบเนื้อหาที่ตลกขบขันและมีเนื้อเรื่องที่สนุกตื่นเต้น ส่วนกระแสด้านลบคือด้านลายเส้นของการ์ตูน นอกจากหนังสือและภาพยนตร์การ์ตูนแล้ว ปัจจุบัน กินทามะยังออกมาในรูปของสื่ออื่น ได้แก่ ไลท์โนเวล และวิดีโอเกมส์อีกด้วย รวมถึงถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์จอเงินมาแล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรกคือภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ ซึ่งได้ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2553 ครั้งที่สองคือภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต ซึ่งได้ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในประเทศไทย กินทามะได้รับลิขสิทธิ์หนังสือการ์ตูนโดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ตีพิมพ์รายสัปดาห์ในนิตยสารการ์ตูนซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรส และตีพิมพ์เป็นหนังสือการ์ตูนรวมเล่มมาแล้ว 66 เล่ม ส่วนภาพยนตร์การ์ตูน ได้รับลิขสิทธิ์โดยบริษัท ทีไอจีเอ (ปี 1), บริษัท ไรท์บียอนด์ (ปี 2, 3, 4), และบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ (ปี 5, 6) ภาพยนตร์การ์ตูนกินทามะออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในประเทศไทยทางช่องช่องทรู สปาร์ก และยังเคยมีการออกอากาศทางการ์ตูนคลับแชนแนลในวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2553, ช่อง 6, ช่อง จีเอ็มเอ็มวัน,ช่อง จีเอ็มเอ็มแชนเนล และช่องแก๊งการ์ตูนแชนแนล สำหรับภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ และภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต ได้มีการซื้อลิขสิทธิ์เพื่อการวางจำหน่ายประเทศไทยโดยบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกินทามะ · ดูเพิ่มเติม »

กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย : กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต

กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต เป็นภาพยนตร์การ์ตูนดัดแปลงจากหนังสือการ์ตูนและภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์เรื่องกินทามะ ผลงานของฮิเดอากิ โซราจิ ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ภาพยนตร์ผลิตโดยสตูดิโอซันไรส์ กำกับโดยโยอิจิ ฟูจิตะซึ่งเป็นผู้กำกับของรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ของเรื่องกินทามะ ส่วนเนื้อเรื่องของภาพยนตร์เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นใหม่โดยฮิเดอากิ โซราจิ เจ้าของผลงานการ์ตูนกินทามะเอง นักพากย์ผู้พากย์ตัวละครหลักได้แก่ โทโมคาสึ ซุงิตะ, ไดสุเกะ ซากางุจิ, ริเอะ คุกิมิยะ และนักพากย์คนอื่นๆ ภาพยนตร์เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการเดินทางข้ามเวลาของซามูไรนักรับจ้างสารพัด ซากาตะ กินโทกิ ซึ่งได้พบกับเหล่าเพื่อนพ้องในเอโดะที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคต มีการประกาศเป็นครั้งแรกว่าจะสร้างภาพยนตร์บทสุดท้ายของเรื่องกินทามะเมื่อเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย : กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาใน พ.ศ. 2548

กีฬาใน พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกีฬาใน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2012

กีฬาโรงเรียนอาเซียน 2012 การแข่งขันกีฬาโรงเรียนอาเซียนครั้งที่ 4 จัดขึ้นที่ซูราบายา ประเทศอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน - 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและกีฬาโรงเรียนอาเซียน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นหนึ่งในวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาดเล็ก

มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในพระราชสำนัก โดยพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายไว้ว่า “......

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมหาดเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

มะกิ โกะโต

มากิ โกะโต (ญี่ปุ่น: 後藤真希/โรมะจิ: Gotō Maki/อังกฤษ: Maki Goto) (เกิดวันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2528) คือ นักร้องแนวเจ-ป็อปหญิงชาวญี่ปุ่น อดีตสมาชิกกลุ่มมอร์นิงมุซุเมะและอดีตสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ปัจจุบันเป็นศิลปินเดี่ยวภายใต้สังกัดริทึม โซน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมะกิ โกะโต · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี (ภาษามลายูปัตตานี: مسجد الجامع الفطاني, มัสยิด อัลญามีอะฮฺ อัลปะตานี) ตั้งอยู่ที่ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมที่สวยงามมีความโดดเด่น และยังเป็นศาสนสถานศูนย์รวมจิตใจของผู้นับถือศาสนาอิสลามในภาคใต้ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มินิตทูวินอิต

มินิททูวินอิท (อังกฤษ: Minute To Win It) เป็นเกมโชวฺ์ที่มีต้นฉบับจากประเทศสหรัฐอเมริกา ออกอากาศครั้งแรกทางสถานีโทรทัศน์เอ็นบีซี โดยมีการแข่งขันเกมให้สำเร็จภายในเวลา 60 วินาที โดยมีโอกาสให้ทั้งหมด 3 ครั้ง หากทำสำเร็จ จะได้รับเงินรางวัล หากสามารถทำสำเร็จ 10 เกม จะได้รับเงินรางวัล 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ หากทำไม่ได้ จะได้รับเงินรางวัลที่สะสมมา ต่อมา ประเทศฟิลิปปินส์ ได้ซื้อลิขสิทธิ์รายการไปทำที่ประเทศตนเอง และทำฟอร์แมทใหม่ นั่นคือ Junior Minute To Win It ซึ่งจะให้เด็ก มาแข่งขันเกมที่มีลักษณะคล้าย ถึงเหมือนกับเวอร์ชันปกติ โดยมีเงินรางวัลสูงสุด คือ 1,000,000 เปโซ ทั้งเวอร์ชันปกติและเวอร์ชันของเด็ก ภายหลังประเทศไทยได้ซื้อลิขสิทธิ์รายการดังกล่าว ในฟอร์แมท Junior Minute To Win It มาทำในประเทศไทย โดยที่ได้มีการออดิชั่น (คัดเลือกผู้เข้าแข่งขัน) ไปแล้วเมื่อวันที่ 15-16 มิถุนายน 2556 ก่อนจะออกอากาศตอนแรกในวันที่ 6 กรกฎาคม 2556 ระดับของเงินรางวัล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและมินิตทูวินอิต · ดูเพิ่มเติม »

ยอดดอย ศิษย์เส่ย

อดดอย ศิษย์เส่ย หรือนายพีรรงค์ เลาทรง นักมวยสากลชาวไทย เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและยอดดอย ศิษย์เส่ย · ดูเพิ่มเติม »

ยัน ฮุส

ัน ฮุส ยัน ฮุส (Jan Hus) หรือ จอห์น ฮัส (John Hus, John Huss; ประมาณ ค.ศ. 1369 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1415) เป็นนักปรัชญาและบาทหลวงชาวเช็ก ถือเป็นบุคคลแรก ๆ ที่มีแนวคิดในการปฏิรูปศาสน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและยัน ฮุส · ดูเพิ่มเติม »

ยุวดี เรืองฉาย

วดี เรืองฉาย หรือ ปู เป็นที่รู้จักจากฉายา ปู โลกเบี้ยว เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 เป็นนักแสดง พิธีกร ตลก และหมอดูชื่อดัง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและยุวดี เรืองฉาย · ดูเพิ่มเติม »

รังษีนภดล ยุคล

ณหญิงรังษีนภดล ยุคล (2 ตุลาคม พ.ศ. 2480 - 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) (นามเดิม: หม่อมเจ้ารังษีนภดล ยุคล) มีนามลำลองคือ ท่านหญิงอ๋อย เป็นพระธิดาองค์เล็กของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรังษีนภดล ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของคาซัคสถาน

รายชื่อวันสำคัญของคาซัคสถาน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อวันสำคัญของคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะ

ทความนี้รวบรวม รายชื่อผลงานของ ณเดชน์ คูกิมิยะ นักแสดงและนายแบบชาวไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อผลงานของณเดชน์ คูกิมิยะ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (มังงะ)

หน้าปกของเล่มที่ 1 ที่พิมพ์โดยโชงะกุกัง หน้าปกของเล่มที่ 1 ที่พิมพ์โดยวิบูลย์กิจ ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน เป็นมังงะ แนวโชเน็น ที่แต่งโดย โกโช อาโอยาม่า ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 จนถึงปัจจุบัน โดยลงพิมพ์ในนิตยสารโชเน็นซันเดย์ของสำนักพิมพ์โชงะกุกัง ปัจจุบัน มีการจัดพิมพ์ไป (ณ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2560) ถึงตอนที่ 989 และ ปัจจุบัน ยอดนักสืบจิ๋วโคนันมีจำนวนตอนมากมาย มีจัดพิมพ์ไปทั้งสิ้น (14กรกฎาคม 2560) 93 เล่ม (993 ตอน) ในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (มังงะ) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเบ็นเท็น

รายชื่อตอนของการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกาเรื่อง เบ็นเท็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในเบ็นเท็น · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว

ปกของดีวีดีแผ่นที่หนึ่ง วางจำหน่ายโดย Pony Canyon วันที่ 29 กรกฎาคม 2009 เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว เป็นอะนิเมะ ที่นำมาจากมังงะชื่อเรื่องเดียวกัน เขียนและวาดภาพโดย Kakifly ซึ่งผลิตโดย เกียวโตแอนิเมชัน กำกับโดย นาโอโกะ ยามาดะ เขียนบทโดย เรอิโกะ โยชิดะ และ ออกแบบตัวละครโดย ยูกิโกะ โฮริงุจิ เนื้อเรื่องเป็นเรื่องราวของนักเรียนมัธยมปลาย 4 คน ซึ่งเข้าร่วมชมรมK-ON ของโรงเรียนที่กำลังจะโดนยุบ อะนิเมะเรื่องนี้เริ่มฉายในวันที่ 3 เมษายน 2009 ทางช่อง TBS และช่องโทรทัศน์อื่นๆ ได้แก่ ช่อง BS-TBS, MBS, และ Chubu-Nippon Broadcasting ซึ่งทางช่อง BS-TBS นั้นจะฉายในรูปแบบไวด์สกรีน เริ่มฉายเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2009 โดยมีเพลงประกอบ 2 เพลง ประกอบด้วยเพลงเปิดและปิดอย่างละ 1 เพลง โดยเพลงเปิดคือเพลง "Cagayake! Girls" ร้องโดย อากิ โทโยซากิ กับ โยโกะ ฮิคาสะ, ซาโตมิ ซาโต้ และ มินะโกะ โคะโตะบุกิ ส่วยเพลงปิดคือเพลง "Don't say 'lazy'" ร้องโดย ฮิคาสะ กับ โทโยซากิ, ซาโต้ และ โคโต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายชื่อตอนในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ

ต่อไปนี้คือรายพระปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ ซึ่งในปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และประเทศในเครือจักรภพ สำหรับรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะซึ่งประกอบกันเป็นสหราชอาณาจักรปัจจุบันดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระสันตะปาปา

รายพระนามสมเด็จพระสันตะปาปาแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เรียงตามวันที่ได้รับแต่งตั้ง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายพระนามพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

้านล่างนี้เป็นรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทย

ต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ร็อคแมน ZX

ปกเกม แบบไม่มีโลโก้ของเกม ดูเนื้อหาเพิ่มเติมได้ที่ ร็อคแมน ZX ซีรีส์ ร็อคแมน ZX (Rockman ZX) หรือ เมกาแมน ZX (Mega Man ZX) เป็นซีรีส์ภาคต่อชุดที่ห้าของเกมชุดร็อคแมน ออกวางตลาดครั้งแรกที่ญี่ปุ่นในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) และออกวางตลาดครั้งแรกที่อเมริกาในวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) โดยดำเนินเนื้อเรื่องต่อเนื่อจากซีรีส์ ร็อคแมนซีโร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและร็อคแมน ZX · ดูเพิ่มเติม »

ลาร์รี่ บาตาน

ลาร์รี่ บาร์ตาน หรือ เฟเดอริโก ลอเรนโซ่ นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและลาร์รี่ บาตาน · ดูเพิ่มเติม »

ลุ้นรักตามสายลม

ลุ้นรักตามสายลม เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เขียนโดยโคจิ เซโอะ เริ่มตีพิมพ์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2547 โดยสำนักพิมพ์โคดันฉะ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นอะนิเมะ และนวนิยาย ในประเทศไทย ลุ้นรักตามสายลม มีลิขสิทธิ์โดยวิบุลย์กิจ 18 เล่มจบฉบับอะนิเมะ เคยออกฉายทางช่องทรูฟิล์มเอเชีย ของสถานีโทรทัศน์เคเบิลทรูวิชั่นส์ ในปี 2550.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและลุ้นรักตามสายลม · ดูเพิ่มเติม »

ลูนาซี

ลูนาซี (LUNA SEA) เป็น วงดนตรีร๊อกจากประเทศญี่ปุ่น เริ่มก่อตั้งวงเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยสมาชิกประกอบด้วย ริวอิจิ คาวามูระ,สึกิโซะ (ยาสึฮิโระ สึงิฮาระ), อิโนะรัน (คิโยโนบุ อิโนอุเอะ), เจ (จุน โอโนเสะ) และ ชินยะ ยามาดะ โดยทั้งห้าได้ทำงานเพลงร่วมกันจนกระทั่งประกาศยุติกิจกรรมของวงในปี พ.ศ. 2543 กระทั่งในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและลูนาซี · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) (25 กันยายน ค.ศ. 1897 - 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1962) วิลเลียม ฟอล์คเนอร์เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นคนสำคัญชาวอเมริกัน ฟอล์คเนอร์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวิลเลียม ฟอล์คเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร

วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน (Chetupon Commercial College)  เป็นวิทยาลัยด้านพณิชยกรรมและบริหารธุรกิจ สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในเขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวิทยาลัยพณิชยการเชตุพน สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา และ เวชศาสตร์การกีฬา แห่งแรกและชั้นนำของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา และยังเป็นศูนย์บริการกีฬาเพื่อสุขภาพแก่ประชาชนทั่วไป.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

วิทวัส ท้าวคำลือ

วิทวัส ท้าวคำลือ (ชื่อเล่น: มาร์ค ตั้งตามนามของมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร) เป็นผู้เข้าประกวดเรียลลิตีโชว์ ในรายการทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย ซีซันที่ 7 ซึ่งจัดโดยทรูวิชันส์ จากเว็บไซต์ เขามีชื่อเสียงเมื่อตกเป็นประเด็นถกเถียงในอินเทอร์เน็ต และกลายเป็นข่าวตามสื่อมวลชนแขนงต่างๆ เนื่องจากการลงข้อความวิพากษ์วิจารณ์อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะในเฟซบุ๊ก จนกระทั่งในช่วงท้ายปี หนังสือพิมพ์ข่าวสดจัดอันดับให้เขาเป็น 1 ใน 10 บุคคลแห่งปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบัน วิทวัสกลับสู่วงการบันเทิงไทยอีกครั้ง ด้วยการเป็นนักแสดงภาพยนตร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวิทวัส ท้าวคำลือ · ดูเพิ่มเติม »

วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์

ลโท พลตำรวจเอก วิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555) อดีตผู้ช่วยอธิบดีกรมตำรวจ อดีตรองเสนาธิการทหารบกและบิดาของ นายสุรเดช ยะสวัสดิ์ อดีต ส.ว. จังหวัดพะเยา และอดีตรองหัวหน้า พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวิฑูรย์ ยะสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสิทธิ์ สืบสุวรรณ

วุฒิสิทธิ์ สืบสุวรรณ หรือ เต็ม เป็นนักร้อง นักแวดงชายชาวไทย เป็นที่รู้จักจากการเป็นหนึ่งในสมาชิกวงยูเอชที ก่อนจะผันตัวมาออกอัลบั้มเดี่ยวเป็นของตัวเอง ภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียงได้แก่เพลง ก็พอ, บอกได้ไหม, รัก และเพลง ขอไม่เป็นเพื่อนเธอ เป็นต้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและวุฒิสิทธิ์ สืบสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสร้างคุณค่า

ัญลักษณ์แห่งสมาคมโซคา สมาคมสร้างคุณค่า (創価学会, Sōka Gakkai โซคา กักไก) เป็นองค์การศาสนาพุทธดำเนินการโดยฆราวาสที่จึเนะซาบุโร มาคิงุจิ ก่อตั้งขึ้นโดยแยกตัวออกมาจากนิกายนิชิเร็นโชชู ในปัจจุบันสมาคมโซคา กักไก นั้นไม่ได้ขึ้นตรงต่อวัดไทเซะคิและสังฆปริณายกนิชิเร็นโชชู กระทั่งปัจจุบันไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอันใดกัน โดยสมาคมโซคาศรัทธาในคำสอนของพระนิชิเร็นไดโชนินที่กล่าวว่า "คฤหัสถ์ก็สามารถเข้าถึงการรู้แจ้งและเปิดสภาพชีวิตพุทธะในตนเองได้" ซึ่งในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสมาคมสร้างคุณค่า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ (Mary I of England, 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2059 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ สมเด็จพระราชินีแห่งอรากอน คาสตีลและเนเปิล และสมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2096 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 4 ในราชวงศ์ทิวดอร์ เป็นผู้ซึ่งฟื้นฟูศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิกในอังกฤษ พระนางได้ดำเนินการเผาเหล่าบุคคลต่างศาสนา ต่างนิกายกว่า 300 คนทั้งเป็น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อว่า แมรีบ้าเลือด หรือ แมรีผู้กระหายเลือด (Bloody Mary).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ. 2494 -) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลายสมัย สมเด็จฮุน เซน นั้นเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาครั้งแรก ตั้งแต่อายุ 33 ปี ในยุคสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชานับเป็นนายกรัฐมนตรีที่มีอายุน้อยที่สุดของกัมพู.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน · ดูเพิ่มเติม »

สารวัตรใหญ่

รวัตรใหญ่ เป็นนวนิยายจากการประพันธ์ของ พล.ต.อ.วสิษฐ เดชกุญชร โดยเป็นนวนิยายลงเป็นตอนในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2532 และพิมพ์รวมเล่มโดย สำนักพิมพ์มติชน ถูกสร้างเป็นละครทาง ช่อง 7 มาแล้ว 2 ครั้ง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสารวัตรใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์

ร้อยตำรวจเอกสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม อดีตรองหัวหน้าพรรคกิจสังคม ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประธานกรรมการบริษัท โอสถสภา จำกัด กลุ่มบริษัทในเครือโอสถสภา และนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา ลาภวิสุทธิสิน

นายสุริยา ลาภวิสุทธิสิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร เป็นนักการเมือง นักธุรกิจที่มีความสนิทแนบแน่นกับนายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ และนายสมศักดิ์ เทพสุทิน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสุริยา ลาภวิสุทธิสิน · ดูเพิ่มเติม »

สถานค้ากามชายแห่งถนนเคลฟแลนด์

นค้ากามชายแห่งหนึ่งบนถนนเคลฟแลนด์ (Cleveland) ย่านฟิตซโรเวีย (Fitzrovia) กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจค้นพบโดยบังเอิญใน พ.ศ. 2432 และกลายเป็นกรณีอื้อฉาวอย่างใหญ่หลวงเพราะนอกจากการร่วมเพศเดียวกันเป็นสิ่งต้องห้ามตามกฎหมายอังกฤษในขณะนั้นแล้ว เจ้าหน้าที่ยังสืบสาวไปพบอีกว่าลูกค้าของสถานค้ากามดังกล่าวล้วนแต่เป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงในวงสังคมตลอดจนพระบรมวงศ์อังกฤษ ซึ่งกรณีอื้อฉาวนี้ได้รับการประณามจากประชาคมว่าเป็นการที่ผู้มีชาติตระกูลสูงข่มเหงผู้มีชาติตระกูลต่ำกว่า และยังถูกใช้เป็นข้อกล่าวหาในการทำลายชื่อเสียงระหว่างกันของบุคคลอังกฤษสมัยนั้นด้ว.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสถานค้ากามชายแห่งถนนเคลฟแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498)

งครามอิตาลีครั้งที่ 1 หรือ สงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498) หรือ สงครามอิตาลีของชาร์ลส์ที่ 8 (First Italian War หรือ Italian War of 1494–1498 หรือ Italian War of 1494 หรือ Charles VIII's Italian War) เป็นสงครามที่เริ่มต้นมหาสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1559) ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1494 จนถึง ค.ศ. 1498 สงครามอิตาลีครั้งนี้เป็นความขัดแย้งระหว่างพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสฝ่ายหนึ่ง และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, สเปน และพันธมิตรอิตาลีที่นำโดยสมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 อีกฝ่ายหนึ่ง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสงครามอิตาลี (ค.ศ. 1494-1498) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามดอกกุหลาบ

ที่ตั้งสำคัญในสงครามดอกกุหลาบ สงครามดอกกุหลาบ (Wars of the Roses) เป็นชุดสงครามราชวงศ์ที่ผู้สนับสนุนราชวงศ์แพลนแทเจเนตสองสายที่เป็นคู่แข่งชิงราชบัลลังก์อังกฤษกัน ได้แก่ ราชวงศ์แลงแคสเตอร์และราชวงศ์ยอร์ก (ซึ่งสัญลักษณ์ตราประจำตระกูล คือ ดอกกุหลาบสีแดงและสีขาวตามลำดับ) ทั้งสองฝ่ายรบกันเป็นช่วงห่าง ๆ กันระหว่างปี 1455 ถึง 1485 แม้จะมีการสู้รบที่เกี่ยวข้องอีกทั้งก่อนหน้าและหลังช่วงนี้ สงครามดังกล่าวเป็นผลจากปัญหาทางสังคมและการเงินหลังสงครามร้อยปี ชัยชนะบั้นปลายเป็นของผู้เรียกร้องเชื้อสายแลงแคสเตอร์ค่อนข้างห่าง เฮนรี ทิวดอร์ ผู้กำราบพระเจ้าริชาร์ดที่ 3 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ยอร์ก และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมสองราชวงศ์ หลังจากนั้น ราชวงศ์ทิวดอร์ปกครองอังกฤษและเวลส์เป็นเวลา 117 ปี เฮนรีแห่งโบลิงโบรกทรงก่อตั้งราชวงศ์แลงแคสเตอร์ขณะทรงราชย์ในปี 1399 เมื่อทรงถอดพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 พระภราดร (ลูกพี่ลูกน้อง) จากราชสมบัติ พระราชโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ยังทรงรักษาการอยู่ในราชสมบัติของตระกูลไว้ได้ แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี 1422 พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ทายาทของพระองค์ เป็นทารก การอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชวงศ์แลงแคสเตอร์สืบมาจากจอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ พระราชโอรสที่ยังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สามในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 สิทธิในราชบัลลังก์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 ถูกริชาร์ด ดยุคแห่งยอร์คคัดค้าน ผู้สามารถอ้างว่าสืบเชื้อสายจากไลโอเนลแห่งแอนต์เวิร์ป และเอ็ดมันด์แห่งแลงลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งยอร์กพระราชโอรสที่ยังมียังมีพระชนมชีพพระองค์ที่สองและสี่ในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ริชาร์ดแห่งยอร์ค ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญของรัฐหลายตำแหน่ง ทะเลาะกับราชวงศ์แลงแคสเตอร์สำคัญ ๆ ในราชสำนักและกับมาร์กาเรตแห่งอ็องฌู พระมเหสีในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 แม้เคยเกิดการปะทะกันด้วยอาวุธระหว่างผู้สนับสนุนราชวงศ์ยอร์กและแลงแคสเตอร์มาก่อนหน้านั้นแล้ว แต่การสู้รบเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นในปี 1455 ที่ยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 1 ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คนที่โดดเด่นหลายคนเสียชีวิต แต่ทายาทที่เหลือยังพยาบาทกับริชาร์ด แม้จะมีการฟื้นฟูสันติภาพชั่วคราว มาร์กาเรตแห่งอ็องฌู ดลให้ราชวงศ์แลงแคสเตอร์คัดค้านอิทธิพลของเอิร์ลแห่งยอร์ค การสู้รบดำเนินต่ออย่างรุนแรงขึ้นในปี 1459 เอิร์ลแห่งยอร์คและผู้สนับสนุนของพระองค์ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ แต่ผู้สนับสนุนที่โดดเด่นที่สุดของพระองค์คนหนึ่ง เอิร์ลแห่งวอริก บุกครองอังกฤษจากกาเลและสามารถจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้ที่ยุทธการที่นอร์แธมป์ตัน เอิร์ลแห่งยอร์คเสด็จกลับประเทศและเป็นผู้พิทักษ์อังกฤษ (Protector of England) แต่ทรงถูกปรามมิให้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ มาร์กาเร็ตและอภิชนแลงแคสเตอร์ผู้ไม่ยอมปรองดองประชุมกำลังทางเหนือของอังกฤษ และเมื่อเอิร์ลแห่งยอร์คเคลื่อนทัพขึ้นเหนือไปปราบ พระองค์กับเอ็ดเวิร์ด พระราชโอรสพระองค์ที่สอง ถูกปลงพระชนม์ทั้งคู่ที่ยุทธการเวคฟีลด์ในเดือนธันวาคม 1460 กองทัพแลงแคสเตอร์รุกลงใต้และจับพระเจ้าเฮนรีเป็นเชลยได้อีกในยุทธการที่เซนต์ออลบันส์ครั้งที่ 2 แต่ไม่สามารถยึดครองกรุงลอนดอนไว้ได้ และถอยกลับไปทางเหนือในเวลาต่อมา พระราชโอรสองค์โตของเอิร์ลแห่งยอร์ค เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ได้รับการประกาศเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 พระองค์ระดมกองทัพราชวงศ์ยอร์คและได้ชัยเด็ดขาดที่ยุทธการที่โทว์ทันเมื่อเดือนมีนาคม 1461 หลังการลุกขึ้นต่อต้านของแลงแคสเตอร์ทางเหนือถูกกำราบในปี 1464 และพระเจ้าเฮนรีถูกจับเป็นเชลยอีกครั้ง พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทะเลาะกับเอิร์ลแห่งวอริก สมญา "ผู้สร้างกษัตริย์" (Kingmaker) ผู้สนับสนุนและที่ปรึกษาหลักของพระองค์ และยังแตกแยกกับพระสหายหลายคน และกระทั่งพระบรมวงศานุวงศ์ โดยทรงสนับสนุนตระกูลของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ วูดวิลล์ซึ่งมีอำนาจขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งพระองค์ทรงอภิเษกสมรสด้วยอย่างลับ ๆ ทีแรก เอิร์ลแห่งวอริกพยายามยกน้องชาย จอร์จ ดยุกแห่งแคลเรนซ์ เป็นพระมหากษัตริย์ แล้วจึงฟื้นฟูพระเจ้าเฮนรีที่ 6 กลับสู่ราชสมบัติ จากนั้นสองปี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ทรงได้รับชัยชนะสมบูรณ์อีกครั้งที่บาร์เนต (เมษายน 1471) ที่ซึ่งเอิร์ลแห่งวอริกถูกสังหาร และทูกสบรี (พฤษภาคม 1471) ที่ซึ่งเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ ทายาทแลงแคสเตอร์ ถูกประหารชีวิตหลังยุทธการ พระเจ้าเฮนรีถูกปลงพระชนม์ในหอคอยลอนดอนหลายวันจากนั้น ยุติลำดับการสืบราชสันตติวงศ์โดยตรงของแลงแคสเตอร์ จากนั้น บ้านเมืองค่อนข้างสงบอยู่พักหนึ่ง จนพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเสด็จสวรรคตกะทันหันในปี 1483 ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระอนุชาที่ยังมีพระชนมชีพของพระองค์ ทีแรกเคลื่อนไหวเพื่อกันมิให้ตระกูลวูดวิลล์ที่ไม่เป็นที่นิยมของพระมเหสีหม้ายของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดเข้าร่วมในรัฐบาลระหว่างที่พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 พระราชโอรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ยังทรงพระเยาว์ จึงยึดราชบัลลังก์เป็นของตน โดยอ้างว่า การสมรสของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เฮนรี ทิวดอร์ พระญาติห่าง ๆ ของพระมหากษัตริย์แลงแคสเตอร์ผู้รับสืบทอดการอ้างสิทธิ์มาด้วย ชนะพระเจ้าริชาร์ดที่บอสเวิร์ธฟิลด์ในปี 1485 พระองค์ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และอภิเษกสมรสกับเอลิซาเบธแห่งยอร์ก พระราชธิดาในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เพื่อรวมและประสานราชวงศ์ทั้งสอง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสงครามดอกกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

สตางค์ มงคลสุข

ตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข (15 กรกฎาคม 2462 - 6 กรกฎาคม 2514) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านอินทรีย์เคมีและสมุนไพร และเป็นนักบริหารการศึกษาระดับสูงของชาติ โดยเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และได้ขยายจนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ หรือ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาสตราจารย์ สตางค์ มงคลสุข หรือ.ดร.สตางค์ มงคลสุข เป็นคณบดีคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และอดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นกำลังสำคัญในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่างๆของประเทศไทยในระยะเริ่มแรก ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งวิทยาเขตหาดใหญ่และปัตตานี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสตางค์ มงคลสุข · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลชลบุรีในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 11 ของสโมสรฟุตบอลชลบุรี ในไทยพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลชลบุรีในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 20 ของสโมสรฟุตบอล บีอีซี เทโรศาสน ใน ไทยลีก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสนในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556 · ดูเพิ่มเติม »

หมึกสาว! ลุยหลุดโลก

หมึกสาว! ลุยหลุดโลก (Squid Girl) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวตลก แต่งเรื่องและวาดภาพโดย มาซาฮิโระ อันเบะ มีเนื้อหาเกี่ยวกับทูตปลาหมึกสาว ที่ทนกับพฤติกรรมการทำลายท้องทะเลของมวลมุนษย์ไม่ได้ และบุกขึ้นมาบนผืนพิภพ เพื่อเตรียมรุกรานและยึดครอง แต่ดันไปทำผนังร้านอาหารริมหาด "เรือนทะเล เลมอน" พัง จนต้องทำงานพิเศษในร้านชดใช้ ปัจจุบันตีพิมพ์ลงในนิตยสาร โชเน็งแชมเปียน ในญี่ปุ่นโดยสำนักพิมพ์อะกิตะ ในไทยได้ลิขสิทธิ์การตีพิมพ์โดยสำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ และภาพยนตร์อะนิเมะผลิตโดย Diomedea ได้เริ่มออกอากาศวันที่ 4 ตุลาคม 2553.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและหมึกสาว! ลุยหลุดโลก · ดูเพิ่มเติม »

หยุดเข็มนาฬิกา…แค่นาทีเดียว

"หยุดเข็มนาฬิกา…แค่นาทีเดียว" เป็นซิงเกิลที่ 3 ของ นิว-จิ๋ว คู่ศิลปินดูโอจากเวทีเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว จากอัลบั้ม Signature ประพันธ์เนื้อร้องโดย สีฟ้า (นิ่ม สีฟ้า) แต่งทำนองโดย อภิไชย เย็นพูนสุข และเรียบเรียงโดย สุวัธชัย สุทธิรัตน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและหยุดเข็มนาฬิกา…แค่นาทีเดียว · ดูเพิ่มเติม »

อสูรรับใช้ของยาย 0 สนิท

อสูรรับใช้ของยาย 0 สนิท เป็นไลท์โนเวลที่แต่งโดย โนะโบะรุ ยะมะกุชิ ต่อมาได้มีการนำซีรีส์เรื่องนี้ไปสร้างเป็นสื่อต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ หนังสือการ์ตูน และเกม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอสูรรับใช้ของยาย 0 สนิท · ดูเพิ่มเติม »

อายี กัลเบซ

อายี กัลเบซ (Allí Gálvez) นักมวยสากลชาวชิลี เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอายี กัลเบซ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย

อาร์ชดยุกฟรานซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย อาร์ชดยุกฟรานซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย (en.: Archduke Franz Karl of Austria, de.: Erzherzog Franz Karl von Österreich) (พระนามเต็ม: ฟรานซ์ คาร์ล โจเซฟ, Franz Karl Joseph von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และเป็นพระบิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิถึง 2 พระองค์ ได้แก่สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ โจเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย และสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก อีกด้ว.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ชาร์ลอต เฮ็ดวิก ฟรานซิสก้า โจเซฟ่า มาเรีย แอนโตเนีย โรเบิร์ตต้า อ๊อตโตเนีย ปีอา แอนนา อิกเนเชีย; Charlotte Hedwig Franzisca Josepha Maria Antonia Roberta Ottonia Pia Ignatia von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี (Her Imperial and Royal Highness Archduchess Charlotte, The Princess Imperial of Austria, and the Princess Royal of Hungary).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวานรนิวาส

วานรนิวาส เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสกลนคร เป็นอำเภอชั้นสอง มีตราประจำอำเภอเป็นตราหนุมาน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอำเภอวานรนิวาส · ดูเพิ่มเติม »

อโรคา ปาร์ตี้

อโรคา ปาร์ตี้ (AROKA PARTY) เป็นรายการวาไรตี้โชว์เพื่อสุขภาพ ซึ่งเป็นรายการที่นำเสนอเรื่องราวที่เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว ซึ่งเป็นรายการวาไรตี้โชว์จากประเทศญี่ปุ่น โดยมีชื่อว่า มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "Medical Horror Check Show" ซึ่งเรียกห้องส่งของรายการว่า Black Hospital ผลิตขึ้นโดยบริษัท ทีวีอาซาฮี จำกัด ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งถูกผลิตขึ้นให้ผู้คนหวาดกลัว (ต่อโรคที่เป็นแล้วจะมีลักษณะใด) ในประเทศไทยได้รับลิขสิทธิ์รายการนี้มาผลิตในประเทศไทยโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ร่วมมือกับโรงพยาบาลพญาไท โดยใช้ชื่อว่า "อโรคา ปาร์ตี้" ดังกล่าว โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 22.05 น. - 22.50 น. (จากนั้นเลื่อนเวลาออกอากาศเป็น 22.15 น. - 23.00 น. และจะเปลี่ยนวันออกอากาศเป็นทุกวันจันทร์ เวลา 22.15 - 23.00 น.เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2551 และ ออกอากาศเป็นเทปสุดท้ายวันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ดำเนินรายการโดย ธงชัย ประสงค์สันติ และ หมอพี (ทันตแพทย์หญิง พอลลีน เต็ง) โดยใช้คำปรัชญาประจำรายการว่า "อโรคาปาร์ตี้ วาไรตี้ไม่มีโรค"รายการอโรคาปาร์ตี้นำมาออกอากาศอีกครั้งหนึ่งในวันที่ 2 มกราคม 2553 เวลา 20.15 - 21.10 น.ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5และปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์โดยใช้ชื่อรายการเป็น ปาร์ตี้วิทยาศาสตร์ ตอน อโรคา ซายส์ ปาร์ตี้ แทน อโรคาปาร์ตี้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอโรคา ปาร์ตี้ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก ซึ่งภายหลังคือ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรา แคโรไลนา มารี ชาร์ล็อต หลุยส์ จูเลีย; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2387 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในช่วงระหว่างรัชกาลของพระสวามี ก่อนหน้านี้ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งเวลส์ ระหว่างปี พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2444 (ยาวนานกว่าผู้ใดที่เคยดำรงพระอิสริยยศนี้) หลังการเสด็จสวรรคตของพระสวามีในปี พ.ศ. 2453 ตราบจนถึงการเสด็จสวรรคตของพระองค์เอง ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี ที่ทรงเป็นทั้งพระราชินีและพระราชชนนีของกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร แต่ไม่โปรดใช้พระอิสริยยศเช่นนี้ จึงได้มีพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา" (Her Majesty Queen Alexandra) ตลอดการเป็นหม้ายของพระอง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซ์ บาบา

อเล็กซ์ บาบา (Alex Baba) หรือ อเล็กซานเดอร์ บาบา นักมวยสากลชาวกานา เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและอเล็กซ์ บาบา · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก ชีรัก

ัก เรอเน ชีรัก (Jacques René Chirac; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 —) รัฐบุรุษฝรั่งเศส อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และนายกเทศมนตรีกรุงปารี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและฌัก ชีรัก · ดูเพิ่มเติม »

ผีอยากกลับมาเกิด

ผีอยากกลับมาเกิด เป็นภาพยนตร์แนวระทึกขวัญสยองขวัญที่เล่าถึง ฉีสิน นักเขียนสาวที่ได้รับมอบหมายจากบรรณาธิการให้เปลี่ยนมา เขียนเรื่องสยองขวัญและเมื่อเธอเริ่มเขียนบทแรกนั้นเธอเริ่มสังเกตว่าเริ่มมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นกับชีวิตของเธอและเธอต้องประหลาดใจอีกครั้งเมื่อจู่ๆอดีตแฟนหนุ่ม ของเธอได้กลับเข้ามาในชีวิตของเธออีกครั้ง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและผีอยากกลับมาเกิด · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) และได้รับการเลือกตั้งสมัยที่สองเมื่อ พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) โดยเอาชนะวุฒิสมาชิก จอห์น เคร์รี ของ พรรคเดโมแครต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก

ักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก (Emperador Maximiliano I de México, Maximilian I, Emperor of Mexico, Maximilian I, Kaiser von Mexiko) (พระนามเต็ม: แฟร์ดีนันด์ แม็กซีมีเลียน โยเซฟ, Ferdinand Maximilian Joseph von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดยุกแห่งออสเตรีย และทรงเป็นจักรพรรดิแห่งเม็กซิโก โดยทรงจัดตั้งคณะรัฐบาลของพระองค์เอง แต่หลายประเทศได้ปฏิเสธที่จะยอมรับการจัดตั้งคณะรัฐบาลของพระองค์ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา อันนำไปสู่การก่อรัฐประหาร และปฏิรูปการปกครอง นำโดยเบนิโต ยัวเรซ ซึ่งต่อมาเป็นประธานาธิบดีคนแรกของเม็กซิโก การก่อรัฐประหารครั้งนี้ เป็นเหตุทำให้พระองค์ทรงต้องถูกประหารชีวิตโดยคณะรัฐประหารในเมืองคัวเรทาโร่ ในปี พ.ศ. 2410.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

จำอวดหน้าจอ

ำอวดหน้าจอ เป็นรายการวาไรตี้ที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ผ่านเพลงฉ่อย ผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งแยกออกมาจากรายการ คุณพระช่วย ช่วง จำอวดหน้าม่าน ดำเนินรายการโดย พิเชษฐ์ เอี่ยมชาวนา จำนงค์ ปิยะโชติ และ พวง แก้วประเสริฐ (ปัจจุบันมี ส้มเช้ง สามช่า เป็นพิธีกรรับเชิญ) ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ทุกวันอาทิตย์ 20.50 - 21.50 (20 พฤศจิกายน 2559-28 พฤษภาคม 2560) และทุกวันอาทิตย์ 16.00 - 17.00 น.(ตั้งแต่ 4-25 มิถุนายน 2560 และ 7 มกราคม 2561 - ปัจจุบัน) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17:00-18:00 น. (2 กรกฎาคม - 31 ธันวาคม 2560).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและจำอวดหน้าจอ · ดูเพิ่มเติม »

จูเต๋อ

อมพลจูเต๋อ (1 ธันวาคม 1886- 6 กรกฎาคม 1976) ผู้นำกำลังทหารสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและจูเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและจี7 · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ เกอิจูทสึกะ อาร์ท ดีไซน์ คลาส

ีเอ เกอิจูทสึกะ อาร์ท ดีไซน์ คลาส เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นสี่ช่องจบ โดย ซาโตโกะ คิยุซึกิ ตีพิมพ์ครั้งแรกลงในนิตยสาร Comic Gyutto! ของสำนักพิมพ์ Heiwa Shuppan เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2004 ต่อมา นิตยสาร Comic Gyutto! ก็ได้เลิกตีพิมพ์ไปหลังพิมพ์ไปได้แค่เพียง 3 ฉบับ ทำให้ย้ายสังกัดมาอยู่ สำนักพิมพ์ Houbunsha โดยได้ตีพิมพ์ลงในนิตยสาร Manga Time Kirara Carat ในฉบับเดือน พฤศจิกายน 2005 และอะนิเมะผลิตโดย AIC กำกับโดย ฮิโรอากิ ซาคุราอิ ออกอากาศระหว่างวันที่ 6 กรกฎาคม ถึง 21 กันยายน 2009.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและจีเอ เกอิจูทสึกะ อาร์ท ดีไซน์ คลาส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาลาวี

งชาติมาลาวี เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 ซึ่งเป็นวันที่ไนแอซาแลนด์ประกาศเอกราชจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและธงชาติมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ทอม อารายา

ตมัส เอนรีเก อารายา ดีอัซ (Tomás Enrique Araya Díaz; เกิด 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1961) หรือ ทอม อารายา เป็นนักดนตรีสัญชาติชิลี-อเมริกา เป็นที่รู้จักในฐานะมือเบสและนักร้องนำวงแทรชเมทัล สเลเยอร์ เขาได้รับการจัดอันดับที่ 58 จากฮิตพาราเดอร์ในรายชื่อ "100 นักร้องนำเมทัลทียิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล" อารายา เคยเป็นอดีตนักบำบัดในช่วงต้นยุค 1980 และได้ช่วยเรื่องค่าใช้จ่ายให้กับการสร้างอัลบั้มแรกของสเลเยอร์ "โชว์โนเมอร์ซี" (Show No Mercy) เนื้อหาเพลงส่วนใหญ่ที่เขาแต่งมักเกี่ยวข้อง การฆาตรกรรมต่อเนื่อง ซึ่งเบากว่าสมาชิกคนอื่น ส่วนหนึ่งคือเขาเป็นคาทอลิก เขาได้รับเครดิตแต่งเพลงครั้งแรกในซิงเกิล "At Dawn They Sleep" จากอัลบั้ม "เฮลอะเวทส์" (Hell Awaits) ปี 1985.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและทอม อารายา · ดูเพิ่มเติม »

ทะไลลามะที่ 14

ทนซิน เกียตโซ ทะไลลามะที่ 14 (ภาษาทิเบต: བསྟན་འཛིན་རྒྱ་མཚོ་; Bstan-'dzin Rgya-mtsho; ภาษาจีน: 第十四世达赖喇嘛; His Holiness the 14th Dalai Lama, 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 - ปัจจุบัน) คือองค์ทะไลลามะ องค์ที่ 14 แห่งทิเบต เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และเป็นผู้นำจิตวิญญาณและผู้นำสูงสุดของชาวทิเบต ถึงแม้ว่าทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะไม่ยินยอมก็ตาม พระองค์ทรงเป็นประมุขแห่งพุทธศาสนานิกายมหายานแบบทิเบตเกลุก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและทะไลลามะที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

ทีวี 24

ทีวี 24 (TV 24) เป็นสถานีโทรทัศน์ข่าวภายใต้ดำเนินการบริหารงานของ บริษัท เดโมเครซี นิวส์ เน็ตเวิร์ก จำกัด (Democracy News Network Co.,Ltd.) จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ด้วยทุนประเดิมมูลค่า 5 ล้านบาท และมีจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน และอดีตประธานกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) และวิมล จันทร์จิราวุฒิกุล อดีตคณะทำงานเชิงวิชาการและนโยบาย พรรคพลังประชาชน ร่วมเป็นกรรมการบริษัท เพื่อรองรับการออกอากาศ ช่องโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ร่วมกับพรรคเพื่อไทย เป็นการทดแทน กรณีมีคำสั่งระงับการออกอากาศ สถานีประชาชน โดยช่วงก่อนเหตุสลายการชุมนุมคนเสื้อแดง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 รัฐบาลอภิสิทธิ์สั่งระงับการออกอากาศสถานีประชาชน หลังจากนั้น บริษัทฯ ก็เตรียมการมาระยะหนึ่ง เมื่อถึงเดือนมิถุนายน จึงสามารถเริ่มทดลองแพร่ภาพ ระหว่างเวลา 19:00-20:00 น. และออกอากาศเต็มรูปแบบ ตลอด 24 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า เอเชียอัปเดต (Asia Update) และใช้ห้องส่งกับสำนักงานแห่งเดิม ของสถานีประชาชน ซึ่งตั้งอยู่บนชั้น 5 ของอาคารอิมพีเรียลเวิลด์ลาดพร้าว ที่ยังคงใช้มาถึงยุคทีวี 24 ในปัจจุบัน ทั้งนี้ ผังรายการแบ่งเป็น ช่วงเวลา 16:00-21:30 น. จะนำเสนอรายการเป็นครั้งแรก (first-run) หลังจากนั้นจะเป็นรายการที่ออกอากาศซ้ำ (re-run) ต่อมาตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม เอเชียอัปเดตจึงเริ่มแพร่ภาพรายการสดเป็นครั้งแรกคือ ข่าวค่ำดีเอ็นเอ็น โดยมีพัชยา มหัทธโนธรรม และนพวรรณ ดุจศรีวัชร์ เป็นผู้ประกาศคู่แรก จนกระทั่งมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยมีคำสั่งตามมา ให้เอเชียอัปเดตระงับการออกอากาศ และอีกสองวันถัดมา (22 พฤษภาคม) มีการก่อรัฐประหารอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคณะรัฐประหารออกคำสั่งฉบับที่ 15 ให้ช่องโทรทัศน์ระงับการออกอากาศ รวมถึงเอเชียอัปเดตด้วย ต่อมาคณะรัฐประหาร จึงประกาศให้ผู้ประกอบการ มาขอใบอนุญาตดำเนินงานต่อไปได้ บจก.เดโมเครซีนิวส์เน็ตเวิร์ก จึงเปลี่ยนชื่อช่องใหม่เป็น โอเพ่นทีวี (Open TV), อมรินทร์ทีวี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและทีวี 24 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 5

อะเมซิ่ง เรซ 5 (The Amazing Race 5) เป็นฤดูกาลที่ 5 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและดิอะเมซิ่งเรซ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิมอนครอสวอร์ส

มอนครอสวอร์ส (Digimon XROS WARS, Digimon Cross Wars) เป็นหนึ่งในชุดภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ ดิจิตอลมอนสเตอร์ ลำดับที่ 6 ผลิตโดย โตเอะ แอนิเมชัน ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 ถึงวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 2012 มีจำนวนตอนทั้งหมด 79 ตอน ออกอากาศถึง 3 ฤดูกาล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและดิจิมอนครอสวอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ดีทูบี

ีทูบี (D2B) เป็นศิลปินกลุ่มในช่วง พ.ศ. 2544 – 2550 (ต่อมาในชื่อ แดน-บีม) ในเครือบริษัทอาร์เอส จำกัด (มหาชน) โดยที่มาของชื่อวงเกิดจากการนำอักษรภาษาอังกฤษตัวแรกของสมาชิกทั้ง 3 คน (แดน บิ๊ก บีม) มารวมกัน ซึ่งถือได้ว่า D2B เป็นกลุ่มบอยแบนด์ไทยที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก พวกเขาได้รับรางวัลต่างๆ มากมายจากหลายเวที รวมถึง ศิลปินยอดนิยมประจำประเทศไทยในงาน MTV Asia Awards ปี 2003 การรวมวงดีทูบีเกิดจาก "บิ๊ก" และ "แดน" ที่เข้าประกวดโครงการ "พานาโซนิค สตาร์ ชาเลนจ์" ในปี 2543 บวกกับ "บีม" ที่เข้ามาเรียนร้องเพลงและมีผลงานภาพยนตร์ในอาร์เอสอยู่ก่อนแล้ว ในช่วงปลายปี 2544 "บิ๊ก แดน บีม" มีผลงานเพลงร่วมกันในนาม "ดีทูบี" โดยมีเพลงที่สร้างชื่อ อาทิเช่น เพลง ต่อหน้าฉัน(เธอทำอย่างนั้นได้อย่างไร) ซ...(สั่นๆ) คนใจอ่อน(อ่อนใจ) เป็นต้น โดยดีทูบีได้มีผลงานในวงการบันเทิงเรื่อยมาจนกระทั่งในปี 2546 "บิ๊ก" หนึ่งในสมาชิกของวงดีทูบีประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ เป็นเจ้าชายนิทรา ทำให้วงดีทูบีถูกยุบลง หลังจากการประสบอุบัติเหตุของบิ๊กในปี 2546 แดนและบีมได้แยกออกมาตั้งวงใหม่ในชื่อ แดน-บีม ซึ่งภายหลังได้ยุบตัวลงในวันที่ 25 ตุลาคม 2550 อย่างไรก็ดี จากกระแสเรียกร้องจากแฟนคลับและความร่วมมือจากหลายฝ่าย ทำให้เกิดคอนเสิร์ตเพื่อรำลึกถึงดีทูบีขึ้นใน พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558 ซึ่งคอนเสิร์ตได้รับกระแสตอบรับที่ดีมากทั้งสองคอนเสิร์ต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและดีทูบี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1320

..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคริสต์ทศวรรษ 1320 · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ (อาจยกเว้นประเทศเจ้าภาพที่สามารถมีผู้เข้าแข่งขันเกิน 4 คนได้) แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ตไลฟ์เอท

อนเสิร์ตไลฟ์ 8 (Live 8) เป็นชุดคอนเสิร์ตและงานที่จัดขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม และ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ในประเทศกลุ่ม จี 8 และแอฟริกาใต้ คอนเสิร์ตถูกกำหนดให้จัดขึ้นก่อนการประชุมสุดยอดผู้นำของประเทศในจี 8 ที่จะจัดขึ้นที่โรงแรม Gleneagles ใน Perthshire สก็อตแลนด์ ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคอนเสิร์ตไลฟ์เอท · ดูเพิ่มเติม »

คะโอะริ อีดะ

อริ อีดะ (Kaori Iida) (เกิดวันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2524) คือ นักร้องและนักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น ของสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ ที่รู้จักกันดีในฐานะสมาชิกรุ่นก่อตั้งของกลุ่มนักร้องหญิง "มอร์นิงมุซุเมะ" และอดีตสมาชิกกลุ่มนักร้องย่อย "ทัมโปโปะ" ปัจจุบัน เธอทำหน้าที่เป็นศิลปินเดี่ยวให้กับสังกัดเฮลโล! โปรเจกต์ แต่ต้องพักงานชั่วคราวเนื่องจากกำลังตั้งครร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคะโอะริ อีดะ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการมรดกโลก

ลโก้ของยูเนสโกในคณะกรรมการมรดกโลก คณะกรรมการมรดกโลก (World Heritage Committee) ถูกก่อตั้งโดยเป็นส่วนหนึ่งของของมรดกโลกของยูเนสโก คณะกรรมการมรดกโลกจะมีการประชุมร่วมกันหลายครั้งในแต่ละปี เพื่ออภิปรายถึงแผนการจัดการเกี่ยวกับแหล่งมรดกโลกที่ยังคงอยู่ และรับรายชื่อสถานที่ที่ประเทศต่างๆเสนอให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และจะมีการประชุมครั้งหนึ่งที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ (World Heritage Committee Session) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่ได้รับการเสนอชื่อแห่งใดที่จะได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัยสามัญประจำปีจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันจัดในเมืองสำคัญต่างๆจากทั่วโลก ซึ่งนอกจากครั้งที่จัดขึ้นที่กรุงปารีส อันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโกแล้ว จะมีเพียงประเทศที่สมาชิกของคณะกรรมการมรดกโลกเท่านั้นที่จะได้รับสิทธิในการจัดการประชุมครั้งต่อไป โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และรับรองได้ว่าสมาชิกภาพของประเทศนั้นๆจะไม่หมดวาระลงเสียก่อนที่จะได้จัดการประชุม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคณะกรรมการมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 55 (11 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 19 กันยายน พ.ศ. 2549) พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร (ยศขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 11 มีนาคม 2548 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55 · ดูเพิ่มเติม »

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Law, Khon Kaen University) เป็นหน่วยงานอิสระเทียบเท่าระดับคณะวิชา ภายในกำกับของมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 17 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยโอนย้ายมาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ตี๋ใหญ่ (ละครโทรทัศน์)

ตี๋ใหญ่ เป็นละครโทรทัศน์แนวแอ็คชั่น-ดราม่า โดยนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 3 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 โดยบริษัท กันตนา จำกัด จากบทประพันธ์และบทโทรทัศน์ของ วิลาสินี ผู้จัดละครและกำกับการแสดงโดย ชูศักดิ์ สุธีธรรม นำแสดงโดย ฉัตรชัย เปล่งพานิช, รสริน จันทรา, ฐาปกรณ์ ดิษยนันทน์, ยอดสร้อย โกมารชุน ออกอากาศทุกเสาร์-อาทิตย์ เวลา 15.30 - 16.30 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2542 สร้างโดยบริษัท อาร์เอส จำกัด จากบทประพันธ์ของ พลตำรวจโท สมเกียรติ พ่วงทรัพย์ และบทโทรทัศน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและตี๋ใหญ่ (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง)

ร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน

มเคิล ซิลเวสเตอร์ การ์เดนซิโอ สตอลโลน (อังกฤษ: Michael Sylvester Gardenzio Stallone) หรือที่เรารู้จักในนามของ ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน (อังกฤษ: Sylvester Stallone) มีชื่อเล่นว่า สไล สตอลโลน (อังกฤษ: Sly Stallone) นักแสดงชายชาวอเมริกัน เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1946 ณ โรงพยาบาลชาริตี้ มหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นบุตรชายของแจ็คกี้ สตอลโลนนักแสดงหญิงชาวอเมริกันมีอาชีพเป็นโหราจารย์ บิดาคือแฟรงค์ สตอลโลนมีอาชีพเป็นช่างทำผม ซิลเวสเตอร์ สตอลโลน เคยถูกเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมและในสาขาบทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยมโดยถูกเสนอชื่อเข้าชิงจากภาพยนตร์เรื่อง ร็อกกี้ ซิลเวสเตอร์ สตอลโลนเป็นที่รู้จักและโด่งดังในบทของนักมวยร็อกกี้และนักรบแรมโบ้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและซิลเวสเตอร์ สตอลโลน · ดูเพิ่มเติม »

ซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี

ซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี (سلطان بن محمد القاسمي) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองรัฐชาร์จาห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ องค์ปัจจุบัน และทรงเป็นสมาชิกสภาสูงสุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ด้วย ประสูติเมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 พระองค์เป็นพระราชโอรสของมุฮัมมัด บิน ซักร์ บิน คอลิด อัลกอซิมี และมัรยัม บินต์ ฆอนิม บิน ซะลีม อัชชัมซี พระองค์ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2515 ต่อจากอะซีซ บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี พระเชษฐา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2482 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยไคโร หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี · ดูเพิ่มเติม »

ซง อิลกุก

ซง อิลกุก (송일국; Song Il Gook) นักแสดงชาวเกาหลีใต้ ซึ่งมีชื่อเสียงจากบทบาทพระเอก ในละครชุดอิงประวัติศาสตร์เกาหลีใต้สองเรื่องคือ จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์ และ มูยุล มหาบุรุษพิชิตแผ่นดิน.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและซง อิลกุก · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1952 ในประเทศกัมพู.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและประเทศกัมพูชาใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาลาวี

รณรัฐมาลาวี (Republic of Malawi; เชวา: Dziko la Malaŵi) มีชื่อเดิมว่า ไนแอซาแลนด์ (Nyasaland) เป็นรัฐประชาธิปไตยที่มีประชากรหนาแน่นอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของแอฟริกา มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศแซมเบียทางตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับประเทศแทนซาเนียทางเหนือ และมีประเทศโมซัมบิกล้อมรอบทางทิศตะวันออก ทิศใต้ และทิศตะวันตก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและประเทศมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอโมโรส

อโมโรส (Comoros; جزر القمر‎; Comores) หรือชื่อทางการว่า สหภาพคอโมโรส (Union of the Comoros; คอโมโรส: Udzima wa Komori; الاتحاد القمري; Union des Comores) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา บริเวณจุดเหนือสุดของช่องแคบโมซัมบิก ระหว่างทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาดากัสการ์และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโมซัมบิก ประเทศอื่นๆ ที่อยู่ใกล้กับคอโมโรสคือประเทศแทนซาเนียที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและประเทศเซเชลส์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองหลวงคือ โมโรนี บนเกาะกร็องด์กอมอร์ ภาษาราชการมี 3 ภาษาคือ อาหรับ คอโมโรส และฝรั่งเศส ศาสนาของประชากรส่วนใหญ่คือศาสนาอิสลาม ด้วยเนื้อที่เพียง 1,660 ตารางกิโลเมตร (640 ตารางไมล์) (ไม่รวมเกาะมายอตที่ยังมีปัญหากันอยู่) ทำให้คอโมโรสเป็นประเทศที่เล็กที่สุดเป็นอันดับ 3 ในทวีปแอฟริกา โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 798,000 คน (ไม่รวมมายอต) ในฐานะที่เป็นประเทศที่เกิดขึ้นจากอารยธรรมที่แตกต่างกัน ทำให้หมู่เกาะนี้มีชื่อเสียงในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย ผู้ตั้งรกรากบนเกาะนี้เป็นกลุ่มแรกๆ คือ กลุ่มคนที่พูดภาษาบันตู จากแอฟริกาตะวันออก พร้อมด้วยชาวอาหรับและการอพยพเข้ามาของชาวออสโตรนีเชียน หมู่เกาะคอโมโรสประกอบไปด้วย 3 เกาะใหญ่และหมู่เกาะเล็ก ๆ อีกมากมายซึ่งตั้งอยู่บนหมู่เกาะภูเขาไฟคอโมโรส เกาะที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อฝรั่งเศสของพวกเขา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุด คือ เกาะกร็องด์กอมอร์หรืออึงกาซีจา มอเอลีหรืออึมวาลี อ็องฌูอ็องหรืออึนซวานี นอกจากนี้ประเทศยังอ้างสิทธิเหนือเกาะอีกแห่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดคือเกาะมายอตหรือมาโอเร ถึงแม้ว่าเกาะมายอตจะมีการประกาศอิสรภาพจากฝรั่งเศสแล้วตั้งแต่ปี 2517 แต่ก็ไม่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอโมโรสและยังคงถูกปกครองโดยฝรั่งเศสต่อไป (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส) ฝรั่งเศสได้คัดค้านมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติทียืนยันอธิปไตยของคอโมโรสเหนือเกาะนี้The first UN General Assembly Resolution regarding the matter, " (PDF)", United Nations General Assembly Resolution A/RES/31/4, (21 October 1976) states "the occupation by France of the Comorian island of Mayotte constitutes a flagrant encroachment on the national unity of the Comorian State, a Member of the United Nations," rejecting the French-administered referendums and condemning French presence in Mayotte.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและประเทศคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2463

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2463 ในประเทศไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและประเทศไทยใน พ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2017

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) ในประเทศไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและประเทศไทยใน ค.ศ. 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ปรารถนา บรรจงสร้าง

ปรารถนา สัชฌุกร หรือ ปรารถนา บรรจงสร้าง นักแสดงหญิงและผู้จัดละครที่ได้รับการยอมรับทั้งวงการบันเทิง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและปรารถนา บรรจงสร้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปาริฉัตร ไพรหิรัญ

ปาริฉัตร สัชฌุกร หรือ ปาริฉัตร ไพรหิรัญ ชื่อเล่น ก้อย นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและปาริฉัตร ไพรหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะวัฒน์ เข็มเพชร

ปิยะวัฒน์ เข็มเพชร (ชื่อเล่น พีเค) เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นพิธีกร นักร้อง ดีเจชาวไทย ศึกษาที่สหรัฐอเมริกานาน 17 ปี และศึกษาระดับอุดมศึกษาจากมหาวิทยาลัย Hofstra พีเคได้ทำงานเพลงในนามวง Sane ร่วมกับสมาชิกอีก 3 คนคือ นพดล ชีวิตานนท์ วสันต์ จันทร์สุข และปฏิเวธ ประทุมทิพย์ ในแนวเพลงอาร์แอนด์บี มีผลงานชุดแรกคือ Sound Of Sanity ในส่วนงานดีเจ เขาเป็นดีเจให้คลื่น เรดิโอ โน พร็อบเล็ม ในปี 2543 และยังมีผลงานพิธีกร รายการแคมปัสซีรีส์ ไอทีวี และ รายการ มันแปลกดีนะ และยังพากย์เสียงภาษาไทยให้กับภาพยนตร์เรื่อง Bee Movie (2007) และ TMNT (2007) ด้านชีวิตส่วนตัวก่อนหน้านี้เธอเคยคบหากับพัชรศรี เบญจมาศ ปัจจุบันคบหาดูใจกับ ณัฐฐชาช์ บุญประชม หรือ โยเกิร์ต เป็นนางแบบ นักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและปิยะวัฒน์ เข็มเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นะมิ ทะมะกิ

องนะมิ ทะมะกิ ตอนไปที่ออกรายการ Music Station ในภาพ นามิอายุ 19 ปี และเป็นปีที่จบการศึกษาพอดี โปสเตอร์ของ Sweet Charity ที่ นามิได้รับบทเป็นนางเอก นะมิ ทะมะกิ ศิลปินนักร้องเพลงเจ-ป๊อปชาวญี่ปุ่น ด้วยอายุที่ยังน้อย และ ความสามารถในการเต้นของเธอที่ไม่เหมือนใคร ทำให้เธอได้รับการคัดเลือกจาก 1 ใน 5,000 คน ที่เข้าร่วมการออดิชั่นในนงาน Sony Music Japan Audition ปี 2544 ผ่านการ ร้องและเต้น เพลง "Survivor" ของวง Destiny's Child ปัจจุบันเป็นนักร้องมากความสามารถ ที่เป็นได้ทั้ง นักเต้น และนักแสดง ทั้งในละครโทรทัศน์และละครบรอดเวย์ อีกทั้งเพลงที่มีดนตรีเป็นเอกลักษณ์ ทำให้เพลงของเธอได้รับความนิยม รวมทั้งได้เป็นเพลงประกอบอะนิเมะและเกมอีกมากม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและนะมิ ทะมะกิ · ดูเพิ่มเติม »

นายกเมืองพัทยา

นายกเมืองพัทยา เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารของเขตปกครองพิเศษ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เมืองพัทยา เขตปกครองพิเศษในพื้นที่จังหวัดชลบุรี มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและนายกเมืองพัทยา · ดูเพิ่มเติม »

นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ

นินจาคาถาโอ้โฮเฮะ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เนื้อหาเกี่ยวกับนินจา เรื่องและภาพโดยมะซะชิ คิชิโมะโตะ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและนินจาคาถาโอ้โฮเฮะ · ดูเพิ่มเติม »

แก้วสารพัดนึก (ละครโทรทัศน์)

แก้วสารพัดนึก เป็นละครโทรทัศน์ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 บทประพันธ์โดย สันต์ เทวรักษ์ บทโทรทัศน์โดย ดาราชน ผลิตโดย บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด ออกอากาศทุกวันจันทร์-วันอังคาร ตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 - 29 กันยายน พ.ศ. 2535 และนำมารีรันเมื่อปีพ.ศ. 2539 นำแสดงโดย วรุฒ วรธรรม, อภัสนันท์ สุทธิกุล, จริญญา หาญณรงค์, ชุมพร เทพพิทักษ์, เปียทิพย์ คุ้มวงค์, ชลิต เฟื่องอารมณ์, ศิรินันท์ โรจนธรรม, นีรนุช อติพร, ไปรมา รัชตะ, เสาวลักษณ์ ศรีอรัญญ์ และอีกมากมาย ซึ่งก่อนหน้านี้ เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์เมื่อปีพ.ศ. 2514 บทประพันธ์ สันต์ เทวรักษ์ อำนวยการสร้าง ภาพยนตร์ไทยไตรมิตร, พันทิพา ประกาศวุฒิสาร กำกับการแสดง แท้ ประกาศวุฒิสาร นำแสดงโดย สมบัติ เมทะนี และ อรัญญา นามวงษ.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและแก้วสารพัดนึก (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

แรมโบ้

อห์น แรมโบ้ แสดงโดยซิลเวสเตอร์ สตอลโลน แรมโบ้ เป็นตัวละครยอดนิยมในภาพยนตร์แอ็คชั่น ซึ่งสวมบทบาทโดยซิลเวสเตอร์ สตอลโลน ซึ่งตัวละครนี้ถูกสร้างขึ้นโดยเดวิด มอร์แรล ในบทประพันธ์ของเขาที่ชื่อว่า First Blood ภาพยนตร์ชุดแรมโบ้ สร้างมาแล้วทั้งหมด 4 ภาค ตามลำดับดังนี้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและแรมโบ้ · ดูเพิ่มเติม »

แจซมิน เกรซ กรีมัลดี

แจซมิน เกรซ กรีมัลดี (Jazmin Grace Grimaldi, เกิด 4 มีนาคม พ.ศ. 2535 -) พระธิดานอกสมรสองค์ใหญ่ในเจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก กับนางตามารา จีน โรโตโล ชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี และได้มีความสัมพันธ์ลึกซึ้งต่อกัน ซึ่งเวลาที่กรีมัลดีเกิดนั้นเป็นปีเดียวกันที่มารดาของเธอได้หย่าขาดจากนายเดวิด ชูมักเกอร์ สามีตามกฎหม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและแจซมิน เกรซ กรีมัลดี · ดูเพิ่มเติม »

แคดโบโรซอรัส

ภาพถ่ายของแคดโบโรซอรัส เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1937 แคดโบโรซอรัส หรือ แคดโบโรซอรัส วิลซี่ (Cadborosaurus, Cadborosaurus willsi; キャディ) เป็นชื่อเรียกของสิ่งที่เชื่อว่าเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่คล้ายงูทะเลที่อาศัยอยู่ในทะเลแถบแวนคูเวอร์และคาบสมุทรโอลิมปิกในแคนาดา และมีรายงานพบที่บริเวณใกล้เคียงกับออริกอนและอะแลสกา โดยมีรายงานแรกเกี่ยวกับแคดโบโรซอรัส เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1734 ระหว่างเดินทางไปเกาะกรีนแลนด์ของมิชชันนารีชาวนอร์เวย์ ฮานส์ เอดจ์ บันทึกว่า เขาได้พบเห็นงูทะเลที่น่ากลัวขนาดใหญ่ ชูคอขึ้นเหนือน้ำ จะงอยปากของมันแหลมยาว มันว่ายน้ำในวงกว้างและรายกายของมันก็ปกคลุมด้วยรอยเหี่ยวย่น เมื่อดำลงไปใต้น้ำมันก็ยกหางขึ้น โดยมีความยาวของลำตัวประมาณเท่ากับเรือที่เขาโดยสาร นับตั้งแต่นั้นมา ก็มีรายงานการพบเห็นสิ่งมีชีวิตลึกลับคล้ายคลึงกันนี้อย่างต่อเนื่อง ในปี ค.ศ. 1937 กัปตันฮักลันด์และลูกเรือได้ผ่าท้องของวาฬสเปิร์มขนาดใหญ่ และพบซากของสิ่งที่คล้ายกับ แคดโบโรซอรัส เขาได้ถ่ายรูปไว้ทั้งหมด 38 ภาพ และทำรายงานส่งไปยังพิพิธภัณฑ์ แต่ที่พิพิธภัณฑ์ ได้จำแนกว่ามันเป็นซากตัวอ่อนของวาฬบาลีน อย่างไรก็ตามมีการตั้งข้อสงสัยว่า ซากจริง ๆ อาจสูญหายไปก่อนการทำการตรวจสอบ โดยสงสัยว่าซากที่แท้จริงอาจถูกส่งไปที่แห่งใดสักแห่ง เพื่อปกปิดเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่างไรก็ตาม นักชีววิทยาและศาสตราจารย์ทางด้านสมุทรศาสตร์ เอ็ดเวิร์ด แอล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและแคดโบโรซอรัส · ดูเพิ่มเติม »

โมริตะ สาวใสไร้คำพูด

(เป็นการ์ตูนแบบ 4 ช่องจบ เขียนโดน ซาโนะ ทะเอะ มังงะเรื่องนี้ตีพิมพ์ออกมาตั้งแต่เดือน มีนาคม 2550 ในนิตยสาร มังงะไลฟ์ ของสำนักพิมพ์ ทะเคโชโบ รวมไปถึง นิตยสาร มังงะ ไลฟ์ โมโมะ และ มังงะคลับ อีกด้วย และรวบรวมตีพิมพ์เป็นเล่ม วางจำหน่ายเล่มแรกเมื่อเดือน มกราคม 2552 จนปัจจุบันออกมาแล้ว 5 เล่ม และสตูดิโอ แกรม ได้นำไปทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนแบบตอนเดียวจบ หรือ โอวีเอ โดยขายพร้อมกับหนังสือรวมเล่ม เล่มที่ 3 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 และ Extended Version เมื่อเดือน มีนาคม 2554 ก่อนที่จะนำไปเป็นภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ ความยาว 3 นาที ทั้งหมด 26 ตอน (แบ่งเป็น ภาคแรก 13 ภาคที่สอง 13 ตอน) ผลิตโดยสตูดิโอ แกรม เช่นเดียวกัน ฉายทางโทรทัศน์ช่อง KBS Kyoto ในประเทศไทย การ์ตูนเรื่องนี้ สยามอินเตอร์คอมิกส์ ได้รับลิขสิทธิ์ให้ตีพิมพ์และจัดจำหน่าย ปัจจุบันออกมาแล้ว 3 เล่ม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโมริตะ สาวใสไร้คำพูด · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

รงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ เป็นโรงพยาบาลของรัฐ สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งอยู่ เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยใช้ชื่อพระราชทานจากพระองค์ ว่า โรงเรียนมัธยมพิเศษสุทธิวราราม ปัจจุบันโรงเรียนวัดสุทธิวรารามมีอายุ ปี เปิดทำการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เป็นโรงเรียนชายและเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร มีอาคารเรียนทั้งหมด 6 หลัง ห้องเรียน 72 ห้อง แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนดังนี้ 12-12-12-12-12-12.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ เฟเดอเรอร์

* โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ (Roger Federer) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสวิส เขาเคยขึ้นครองอันดับที่ 1 ของโลกมาตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ต่อเนื่องมาจนถึง วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2008 นับเป็นระยะเวลา 237 สัปดาห์ติดต่อกัน ซึ่งถือเป็นสถิติการครองอันดับ 1 ติดต่อกันที่ยาวนานที่สุดตลอดกาลของวงการเทนนิสโลก ปัจจุบันตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 เขาสามารถแย่งอันดับที่ 1 ของโลกกลับมาจากราฟาเอล นาดาลได้เป็นผลสำเร็จ หลังจากที่สามารถคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้เป็นสมัยที่ 6 เป็นที่ยอมรับกันว่า เฟเดอเรอร์เป็นนักเทนนิสที่เก่งที่สุดในยุคของเขา โดยถูกจัดอยู่ในกลุ่มนักเทนนิสชายยอดเยี่ยมตลอดกาล และถือเป็นชาวสวิสคนแรกที่ยังมีชีวิตอยู่ที่มีรูปอยู่ในสแตมป์ของสวิสซึ่งถูกผลิตในเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 เป็นรูปเฟเดอเรอร์กับถ้วยวิมเบิลดัน เขาเป็นนักกีฬาคนแรกที่ได้รับรางวัลนักกีฬาโลกแห่งปี (Laureus World Sportsman of the Year) 4 ครั้งติดต่อกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 - ค.ศ. 2008 เฟเดอเรอร์ ชนะการแข่งขันประเภทเดี่ยว ในรายการแกรนด์สแลม 20 ครั้ง (6 ออสเตรเลียนโอเพน, 1 เฟรนช์โอเพน, 8 วิมเบิลดัน, 5 ยูเอสโอเพน) (ถือเป็นการทำลายสถิติการคว้าแชมป์ 14 แกรนด์สแลมตลอดกาลของพีท แซมพราส), รายการเทนนิสมาสเตอร์คัพ 6 ครั้ง, รายการเอทีพีมาสเตอร์ซีรีส์ 24 ครั้ง และรายการเอทีพีทัวร์อื่นๆอีก 26 ครั้ง อีกทั้งยังชนะ การแข่งขันประเภทคู่ 8 ครั้ง และเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 เฟเดอเรอร์สามารถเอาชนะราฟาเอล นาดาล ในการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดัน ทำให้เขาครองสถิติ ชนะเลิศติดต่อกัน 5 สมัย เทียบเท่าบิยอร์น บอร์ก หลังจากการคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2009 เฟเดอเรอร์จึงกลายเป็นนักเทนนิสชายคนที่ 6 ในประวัติศาสตร์วงการเทนนิสโลกที่สามารถคว้าแชมป์แกรนด์สแลมได้ครบทั้ง 4 รายการในการเล่นเทนนิสอาชีพ หรือที่เรียกว่า "Career Grand Slam" นั่นเอง เฟเดอเรอร์สร้างสถิติใหม่ในกีฬาเทนนิสขึ้นมาอย่างมากมาย เช่น การเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 10 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2005 จนถึง ยูเอสโอเพน ค.ศ. 2007) การเข้าถึงรอบรองชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 23 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2004 จนถึงปัจจุบัน) การชนะติดต่อกันมากที่สุดในยุคโอเพน บนพื้นคอร์ต 2 ประเภท คือ คอร์ตหญ้า (65 แมตซ์ติดต่อกัน) และ คอร์ตคอนกรีต (56 แมตซ์ติดต่อกัน) เป็นต้น และล่าสุด ชัยชนะออสเตรเลียนโอเพนของเขาในปี 2017 ส่งผลให้เขาเป็นนักเทนนิสชายคนแรกที่ได้แชมป์แกรนด์สแลม 3 รายการอย่างน้อย 5 ครั้ง (ออสเตรเลียนโอเพน, วิมเบิลดัน และ ยูเอสโอเพน นอกจากนี้ เขายังเป็นนักเทนนิสที่อายุมากที่สุดที่คว้าถ้วยแกรนด์สแลมนับตั้งแต่ปี 1972 หลังจาก Ken Rosewell.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

ซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Sir Thomas Stamford Bingley Raffles); (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2324 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2369) ผู้บริหารอาณานิคม ผู้ก่อตั้งเมืองสิงคโปร์ เกิดบนเรือที่ลอยทะเลนอกฝั่งพอร์ตมอแรนต์ จาเมกา แรฟเฟิลส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการน้อยมากแต่ก็ได้เข้าทำงานเป็นสมียนของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากการศึกษาด้วยตนเอง แรฟเฟิลส์ ก็ได้รับตำแหน่งก้าวหน้าเป็นผู้ช่วยเลขานุการเมืองปีนังได้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วจนถึงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการเขตอาณานิคมชวา (พ.ศ. 2354 - พ.ศ. 2359) และ ได้ปฏิรูประบบการบริหารใหม่โดยสิ้นเชิง เมื่อปี พ.ศ. 2359 แรฟเฟิลส์ต้องกลับบ้านที่อังกฤษเนื่องจากการป่วยไข้ และได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินชั้นเซอร์ เมื่อแรฟเฟิลส์หายป่วยและกลับมาดำรงตำแหน่งรองผู่ว่าราชการเขตอาณานิคม "เบิงกูลู" (พ.ศ. 2361 - พ.ศ. 2366) ก็ได้จัดตั้งนิคมขึ้นที่เกาะสิงคโปร์อีก แรฟเฟิลส์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดผู้หนึ่งในการพัฒนาจักรวรรดิอังกฤษในตะวันออกไกล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส เอฟ. วิลสัน

โทมัส ฟรานซิส วิลสัน, จูเนียร์ (Thomas Francis Wilson, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1959 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน นักแสดงตลก นักเขียน นักดนตรี นักเขียนภาพ และนักพากย์เสียง เขาจบการศึกษาจาก Arizona State University สาขาการเมืองระหว่างประเทศ เขาเป็นที่รู้จักในบทบาทบิฟฟ์ แทนเน็น (รวมทั้งแสดงในบทหลานและปู่ทวดของเขาเอง) ในภาพยนตร์ไตรภาคเจาะเวลาหาอดีต และบทโค้ช เบน เฟรดริกส์ ใน Freaks and Geeks ของเอ็นบีซี หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากฟิลาเดลเฟีย.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโทมัส เอฟ. วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

โคคา-โคล่า

รื่องหมายการค้าจดทะเบียนของบริษัทโคคา-โคล่า โคคา-โคล่า โรงงานบรรจุขวด 8 มกราคม 1941 มอนทรีออล, ประเทศแคนาดา Coca-Cola โคคา-โคล่า เป็นเครื่องดื่มอัดลมที่วางขายตามร้านค้า ภัตตาคารและตู้ขายสินค้าแบบหยอดเหรียญในกว่า 200 ประเทศ ผลิตโดย บริษัทโคคา-โคล่าแห่งแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ซึ่งมักเรียกสั้น ๆ ว่า โค้ก (เครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของบริษัทโคคา-โคล่าในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1944) เดิมตั้งใจขายเป็นยาตำรับสงวนสิทธิ์ (patent medicine) เมื่อจอห์น เพมเบอร์ตันคิดค้นขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก่อนนักธุรกิจเอซา กริกส์ แคนด์เลอร์ (Asa Griggs Candler) ผลิตโคคา-โคล่า ซึ่งกลยุทธ์การตลาดของเขานำโค้กครองตลาดเครื่องดื่มอัดลมทั่วโลกตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและโคคา-โคล่า · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริค ฮาร์เรอร์

น์ริค ฮาร์เรอร์ (เยอรมัน: Heinrich Harrer) ชาวออสเตรียที่ถูกจับเป็นเชลยในสงครามโลกครั้งที่สอง แล้วหนีออกจากค่ายในประเทศอินเดียเข้าไปทิเบตเป็นเวลา 7 ปี และได้ช่วยเป็นครูสอนองค์ทะไลลามะเกี่ยวกับเรื่องราวของโลกภายนอก เมื่อประเทศจีนเข้ายึดทิเบตเขาจึงกลับบ้านเกิด เรื่องราวของเขาถูกเขียนเป็นหนังสือ Seven Years in Tibet และถ่ายทอดเป็นภาพยนตร์ด้วยเช่นกันในชื่อ 7 ปี โลกไม่มีวันลืม ซึ่งได้นักแสดงชายอย่าง แบรด พิตต์มารับบทของตัวเขาในเรื่อง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและไฮน์ริค ฮาร์เรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบ็ตตี ฟอร์ด

อลิซาเบธ แอน บลูมเมอร์ วอร์เรน ฟอร์ด (8 เมษายน พ.ศ. 2461 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) หรือทีรู้จักกันคือ เบ็ตตี ฟอร์ด เป็นภริยาของอดีตประธานาธิบดีเจอรัลด์ ฟอร์ด และสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2517 ถึงปี พ.ศ. 2520 เธอเป็นผู้ก่อตั้งเบ็ตตี ฟอร์ด เซ็นเตอร์ และเป็นประธานคนแรกของที่นี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเบ็ตตี ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เบเรนการ์ที่ 2 แห่งอิตาลี

รนการ์ที่ 2 แห่งอิตาลี หรือ เบเรนการ์แห่งอิฟริอา (Berengar II of Italy) (ค.ศ. 900 - 6 กรกฎาคม ค.ศ. 966) เบเรนการ์เป็นมาร์กราฟแห่งอิฟริอาและผู้อ้างตัวเป็นพระมหากษัตริย์อิตาลีผู้สืบเชื้อสายมาจากลอมบาร์ด เบเรนการ์เป็นบุตรของอดาแบร์ตที่ 1 แห่งอิฟริอาและกิเซลาแห่งฟริอุลิ และเป็นหลานของเบเรนการ์ที่ 1 แห่งอิตาลี และ แบร์ทิลาแห่งสโปเลโต.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเบเรนการ์ที่ 2 แห่งอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

เพชฌฆาตดาวโจร

ตดาวโจร เป็นละครโทรทัศน์ไทยที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2559 ผลิตโดย เอ็กแซ็กท์ - ซีเนริโอ และ กู๊ดซีนส์ สร้างจากเค้าโครงเรื่องจริงของ "ตี๋ใหญ่" อาชญากรที่โด่งดังจากการเป็นโจรปล้นฆ่าชื่อเสียงโด่งดังในราวก่อนปี พ.ศ. 2520 และอิงจากบทประพันธ์ของ พล.ต.ท.สมเกียรติ พ่วงทรัพย์ (ยศในปัจจุบัน-อดีตผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล) พร้อมทั้งดัดแปลงเรื่องให้เป็นเรื่องใหม่ โดยผู้ที่รับบทเล้ง คือ ภาคิน คำวิลัยศักดิ์ และนายตำรวจผู้ตามล่าเล้ง คือ ศักดิ์สิทธิ์ แท่งทอง ออกอากาศทุกวันพุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.30 ทางช่องวัน เริ่มตอนแรกเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559–6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเพชฌฆาตดาวโจร · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมองโกเลีย

ลงชาติมองโกเลีย (Монгол улсын төрийн дуулал) เป็นบทเพลงซึ่งประพันธ์ทำนองโดยบิเลจีน ดามดินซูเรน (Bilegiin Damdinsüren, พ.ศ. 2462 - 2534) และลุฟซานยามส์ มูร์ดอร์จ (Luvsanjyamts Murdorj (พ.ศ. 2458 - 2539) เนื้อร้องโดย เซนดีน ดามดินซูเรน (Tsendiin Damdinsüren, พ.ศ. 2451 - 2531) ตลอดสมัยระบอบคอมมิวนิสต์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มองโกเลียมีการเปลี่ยนแปลงเพลงชาติหลายครั้ง เพลงแรกสุดคือ แองเตอร์นาซิอองนาล ("Монгол Интернационал" "Mongol Intyörnatsional") เนื้อร้องโดย Sonombalshiryn Bujannemech และ ทำนองโดย Magsarshawyn Durgarshaw. ใช้ระหว่างปี พ.ศ. 2467 - 2493 ต่อมาจึงเปลี่ยนเพลงใหม่ใช้ในช่วงปี พ.ศ. 2493 - 2505 และภายหลังก็ได้แก้ไขเพลงชาติอีกครั้ง โดยใช้ในระหว่างปี พ.ศ. 2505 - 2534 โดยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ซึ่งเป็นปีที่มองโกเลียมีการปฏิวัติประชาธิปไตย เพลงชาติมองโกเลียที่มีการใช้นั้นได้คงเนื้อร้องส่วนใหญ่ของเพลงชาติฉบับปี พ.ศ. 2493 ไว้ แต่มีการยกเนื้อร้องบทที่ 2 ซึ่งมีเนื้อหายกย่องผู้นำของสหภาพโซเวียตและมองโกเลียออกเสีย (กล่าวถึง เลนิน, สตาลิน, ชุคบาตาร์, และ ชอยบาลซาน) ในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 รัฐสภาแห่งมองโกเลียได้รับรองเนื้อร้องที่แก้ไขเพิ่มเติมให้มีเนื้อหาสรรเสริญเจงกิสข่าน จักรพรรดิมองโกลผู้ยิ่งใหญ่ เนื่องในโอกาสครบรอบ 800 ปีแห่งการสถาปนาจักรวรรดิมองโกล.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเพลงชาติมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องเล่า ๙ แผ่นดิน

รื่องเล่า ๙ แผ่นดิน เป็นรายการสารประโยชน์ประเภทละครสารคดีเชิงประวัติศาสตร์ที่เล่าถึงประวัติศาสตร์ที่สำคัญในช่วงรัชกาลต่างๆแห่ง ราชวงศ์จักรี ผลิตโดย บริษัท กำลังดี ซอย 6 โปรดักชั่น จำกัด ออกอากาศทุก วันจันทร์ เวลา 20.20น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเรื่องเล่า ๙ แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์

วสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์ (West Hightland White Terrier) หรือที่นิยมเรียกเล่น ๆ ว่า เวสตี (Westie, Westy) เป็นสายพันธุ์สุนัขพันธุ์เล็กสายพันธุ์หนึ่ง มีต้นกำเนิดจากสกอตแลนด์ เดิมเคยเป็นสายพันธุ์ร่วมกับสกอตติชเทร์เรียร์และแคร์นเทร์เรียร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนกระทั่งถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เชื่อกันว่าเวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์เป็นสุนัขที่มาสืบเชื้อสายมาจากในพระราชวังของพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ เวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์เป็นที่รู้จักครั้งแรกจากงานประกวดสุนัขที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อปี ค.ศ. 1907 ในปีถัดมาได้ลงทะเบียนกับสมาคมสุนัขอเมริกันในชื่อ "โรสนีทเทร์เรียร์" หลังจากนั้นได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "เวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์" อย่างเป็นทางการในปัจจุบัน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1909 เนื่องจากมีการผสมพันธุ์ให้กลายมาเป็นสีขาวล้วน เวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์เป็นสุนัขขนาดเล็ก ตาเป็นวงกลมสีดำ ขนยาวสีขาวมี 2 ชั้น ชั้นนอกมีลักษณะเหยียดยาว หยาบ ขนชั้นในจะสั้นและนุ่ม หูมีขนาดเล็กมีทั้งตั้งตรงและตกลง ตัวผู้สูงประมาณ 25-30 เซนติเมตร ตัวเมียสูงประมาณ 23-28 เซนติเมตร ตัวผู้หนัก 7-10 กิโลกรัม ตัวเมียหนักประมาณ 6-7 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือสีขนจะมีความขาวสว่างทำให้ดูมีสง่าราศี มีอายุเต็มที่ประมาณ 15 ปี เนื่องจากเคยเป็นสุนัขล่าสัตว์มาก่อนจึงมีนิสัยที่กล้าหาญ จนถูกขนานนามว่า "สุนัขใหญ่ในร่างเล็ก" เวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์จึงเป็นสุนัขที่มีนิสัยระแวดระวังอยู่เสมอ และเห่าเก่งถึงแม้ตัวจะมีขนาดเล็ก รวมทั้งมีนิสัยที่หวงสิ่งของของมันเองมาก รวมถึงเจ้าของและอาหารด้วย โดยปกติแล้วจะเป็นสุนัขที่เข้ากับเด็กและสัตว์อื่น ๆ ได้ง่าย ชอบวิ่งเล่นเป็นประจำ จึงไม่ควรให้อยู่ในห้องแคบ ๆ สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้เร็ว แต่เนื่องจากตัวเล็กจึงมักจะเหนื่อยง่าย มักจะเป็นสุนัขที่มีปัญหาเกี่ยวกับผิวหนังแห้ง จึงทำให้ไม่ควรอาบน้ำให้บ่อยเกินไปนัก โดยปกติควรจะอยู่ที่ประมาณเดือนละ 1 ครั้ง แต่เนื่องจากมีขนยาวจึงควรที่จะแปรงขนให้บ่อย ๆ และทำความสะอาดหูด้วยสำลีจะช่วยป้องกันการสะสมของไขมันและสิ่งสกปรกได้.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเวสต์ไฮต์แลนด์ไวต์เทร์เรียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวทย์ ศักดิ์เมืองแกลง

วทย์ ศักดิ์เมืองแกลง หรือนายฝอยจัน ประเวศน์ เป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์และเป็นน้องชายของกุมารทอง ป.ปลื้มกมล เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2519สถิติการชก 84 ครั้ง ชนะ 78 (น็อค 46) แพ้ 6.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเวทย์ ศักดิ์เมืองแกลง · ดูเพิ่มเติม »

เอชเคทีโฟร์ตีเอต

HKT48(อ่านว่า เอชเคทีโฟร์ตีเอต) คือกลุ่มศิลปินไอดอลหญิงญี่ปุ่นที่ก่อตั้งเมื่อปี 2011 อำนวยการโดย อากิโมโตะ ยาสุชิ จัดการแสดงที่โรงละคร HKT48 จังหวัดฟุกุโอะกะ เป็นหลัก ถือเป็นวงน้องสาวในประเทศของ AKB48 วงที่สาม ต่อจาก SKE48 และ NMB48.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเอชเคทีโฟร์ตีเอต · ดูเพิ่มเติม »

เอลิเนอร์แห่งอากีแตน

อเลเนอร์แห่งอาควิเตน สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ หรือ เอเลเนอร์แห่งอากีแตน สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส ดัชเชสแห่งอากีแตนและแกสโคนี และเคานทเทสแห่งปัวตู (ภาษาอังกฤษ: Eleanor of Aquitaine หรือ Aliénor) (ราว ค.ศ. 1122 - 1 เมษายน ค.ศ. 1204) พระราชินีเอเลเนอร์ประสูติเมื่อราว ค.ศ. 1122 ที่ปราสาทเบแล็ง ฝรั่งเศส เป็นพระธิดาของวิลเลียมที่ 10 ดยุกแห่งอากีแตนและดัชเชสเอเนอร์แห่งแชเทลเลโรลท์ เป็นพระราชินีของฝรั่งเศสในพระเจ้าหลุยส์ที่ 7 ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเอลิเนอร์แห่งอากีแตน · ดูเพิ่มเติม »

เฮเทอร์ โนวา

ทอร์ โนวา เฮเทอร์ โนวา (Heather Nova) คือ นักร้องและนักแต่งเพลง เดิมชื่อ เฮเทอร์ ฟริทธ์ (Heather Frith) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1967 ที่ประเทศเบอร์มิวดา ความผูกพันกับทะเลได้มีอิทธิพลกับแนวเพลงของเธอมาก เนื่องจากในวัยเด็กเธอใช้ชีวิตบนเรือขนาด 40 ฟุต ที่พ่อของเธอสร้างขึ้นมา เฮเทอร์สำเร็จการศึกษาจาก Rhode Island School of Design ในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเฮเทอร์ โนวา · ดูเพิ่มเติม »

เจฟฟรีย์ รัช

ฟฟรีย์ รอย รัช เกิดวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 เป็นนักแสดงชาวออสเตรเลีย ถือเป็นนักแสดงออสเตรเลียคนแรกที่ได้รับรางวัลออสการ์สาขาการแสดงยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจฟฟรีย์ รัช · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา(พระนามเต็ม อัลเฟรด เออร์เนส อัลเบิร์ต ประสูติ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2387 สิ้นพระชนม์ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443) พระราชชนนีคือ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรเธิร์น และ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ พระราชชนกคือ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระโอรสในเออร์เนสที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และ เจ้าหญิงหลุยส์ แห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนเบิร์ก ทรงเป็น ดยุกแห่งเอดินบะระ มาตั้งแต่พ.ศ. 2409 และเป็น ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อพ.ศ. 2436.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์

้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์ (Prince Carl Bernadotte).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าชายคาร์ล เบอร์นาดอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เมื่อมีพระชนมายุ 19 ปี เจ้าหญิงมารี หลุยส์ หรือพระนามเต็ม ฟรันซิสกา โยเซฟา หลุยส์ ออกัสตา มารี คริสตินา เฮเลนา (พระอิสริยยศแบบเดิม เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Princess Marie Louise of Schleswig-Holstein, VA, CI, GCVO, GBE, RRC; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2499) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2376 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2440) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่อมาพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งเท็ค (Duchess of Teck) จากการอภิเษกสมรส พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 นอกจากนั้นยังเป็นหนึ่งในบรรดาพระบรมวงศ์พระองค์แรกๆ ที่ทรงอุปถัมภ์การกุศลต่างๆ มากม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย

้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย เจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย (ภาษาอังกฤษ: Princess Sophie of Bavaria, ภาษาเยอรมัน: Prinzessin Sophie von Bayern) (พระนามเต็ม: โซฟี ฟรีเดริเก้ โดโรธี วิลเฮล์มมีน, Sophie Friederike Dorothee Wilhelmine von Habsburg-Lorraine (ราชสกุลเดิม von Wittelsbach)) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งบาวาเรีย และเป็นพระชายาในอาร์ชดยุกฟรันซ์ คาร์ลแห่งออสเตรียด้ว.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าหญิงโซฟีแห่งบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย

้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย (Princess Sophia of Prussia) (โซเฟีย โดโรเธีย อุลริเคอ อลิซ; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2413 - 13 มกราคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้านาง

้านาง เป็นบทประพันธ์ของ ทองพริ้ม แนวพีเรียด - แฟนตาซี - สยองขวัญ ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ โดยครั้งแรกออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เมื่อปีพ.ศ. 2537 กำกับการแสดงโดย อดุลย์ บุญบุตร นำแสดงโดย จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, กวินนา สุวรรณประทีป, อัษฎาวุธ เหลืองสุนทร และณัฐสิมา คุปตะวาทิน ส่วนในครั้งที่ 2 ปีพ.ศ. 2558 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 กำกับการแสดงโดย เอกภพ ตันหยงมาศกุล นำแสดงโดย อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์,ธนพล นิ่มทัยสุข และนักแสดงอีกมากมาย ซึ่งทั้งสองครั้งผลิตโดย กันตนา เจ้านาง ปี 2558 ได้ผู้เขียนบท คม ทองขาว มาเขียนบทให้เพียง ตอนแรก เท่านั้นเนื่องจากเสียชีวิตกระทันหัน จึงได้ ภาคย์รพี มาเขียนบทแทน หลังจากออกอากาศ ละครเรื่องนี้ได้รับ เรท น.13+ และถูกจัดเวลาออกอากาศใหม่เป็น 20.30 น. ทุกวัน จันทร์-อังคาร เนื่องจากภาพและเนื้อหาในละครมีบางฉากบางตอนที่มีความสยดสยองสมจริง.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจ้านาง · ดูเพิ่มเติม »

เจเน็ต ลีห์

น็ต ลีห์ (Janet Leigh) อดีตนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน มีชื่อเต็มว่า จีนเน็ต เฮเลน มอร์ริสัน (Jeanette Helen Morrison) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 ที่เมืองเมอร์เซด รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นลูกคนเดียว เริ่มเข้าสู่วงการการแสดงเมื่ออายุได้ 19 ปี ขณะเรียนอยู่ระดับวิทยาลัย เมื่อมีแมวมองของบริษัท เอ็มจีเอ็ม ได้เห็นภาพถ่ายของเธอขณะเล่นสกี โดยผลงานเรื่องแรก คือ The Romance of Rosy Ridge ประกบคู่กับ แวน จอห์นสัน โดยได้รายได้ 50 ดอลลาร์สหรัฐต่อสัปดาห์ และเมื่อมีชื่อเสียงแล้วค่าตัวเปลี่ยนเป็น 150 ดอลลาร์ต่อสัปดาห์ และกลายเป็นหนึ่งในนักแสดงหญิงที่มีงานรัดตัวมากที่สุดของบริษัทเอ็มจีเอ็มเลยทีเดียว เฉพาะในปี ค.ศ. 1949 เธอรับเล่นถึง 6 เรื่องด้วยกัน เป็นที่รู้จักกันดีจากการรับบทพี่สาวคนโตในภาพยนตร์เรื่อง Little Women (สี่ดรุณี) ในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเจเน็ต ลีห์ · ดูเพิ่มเติม »

เทพบุตรถังแตก

ทพบุตรถังแตก เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ที่ได้รับความนิยม ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ เป็นการ์ตูนแนว ตลก/ดราม่า ในประเทศไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์บุรพัฒน์ และ พ.ศ. 2544 ภาคละครไต้หวัน ที่นำแสดงโดย วิค F4 ยังเคยนำมาออกอากาศเป็นทางโทรทัศน์ ทางช่อง 3 อีกด้วย และต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ประเทศญี่ปุ่นเองก็นำมาสร้างในฉบับละครเช่นกัน นำแสดงโดย นิโนะมิยะ คาซึนาริ (แสดงเป็น ทาโร่) และซากุราอิ โช (แสดงเป็น ทาคูยะ) ทั้งสองเป็นนักร้องวง อาร.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเทพบุตรถังแตก · ดูเพิ่มเติม »

เทวดาสาธุ

ทวดาสาธุ เป็นละครซิตคอม ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 ออกอากาศเมื่อปี..2549 เวลา 23.00 น. - 00.00 น.(ภายหลัง 23.15-00.25) ทุกวันอาทิตย์ สร้างโดยบริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด และสุดท้ายก็ปิดตัวลงเพราะรายการเรตติ้งต่ำ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม..2554 ตอน ดิไอดอล และนำรายการ วิ้งค์ เจ้าเสน่ห์ มาออกอากาศแทน ตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม..2554 เป็นต้นไป แต่ภายหลังได้ถูกนำมาฉายซ้ำอีกครั้งที่สถานีโทรทัศน์ช่อง 3แฟมิลี่ เมื่อปี..2557 เวลา 14:00 - 15:00 น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเทวดาสาธุ · ดูเพิ่มเติม »

เทคเคน

ทคเคน ภาค 1 คะซึยะ ต่อสู้กับ คิง กล่องเกมเพลย์สเตชัน ภาค 5 เทคเคน เป็นเกมต่อสู้ที่ผลิตโดยบริษัท นัมโค จากประเทศญี่ปุ่น สำหรับเครื่องเล่นเพลย์สเตชัน และเกมตู้ โดยเกมเทคเคนนั้น เป็นเกมต่อสู้ 3 มิติที่ออกมาในยุคแรกของเกม 3 มิติ พร้อมกับเกมโทชินเดนสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน ในปัจจุบัน เกมล่าสุดในชุดเทคเคน คือ เกม เทคเคน 7 กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาสำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 4,XBox One และ คอมพิวเตอร์ ลักษณะการเล่นเกมของเทคเคน โดยผู้เล่นจะเลือกตัวละครขึ้นมาหนึ่งตัว โดยเป็นตัวละครตัวแทนจากทุกมุมโลก และต่อสู้เพื่อชิงรางวัลอันยิ่งใหญ่ของ ไซบัตซึ ผู้จัดการแข่งขันเทคเคน โดยหัวหน้าใหญ่ในเกมจะเปลี่ยนแปลงไปทุก.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเทคเคน · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟม

อะเฟม (The Fame) คือสตูดิโออัลบั้มแรกของเลดี้ กาก้า นักร้องหญิงชาวอเมริกัน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยค่ายอินเตอร์สโคปเรเคิดส์ ก่อนหน้านี้กาก้าเคยทำงานด้านการประพันธ์เพลงให้กับศิลปินมากมายจนกระทั่งการออกอัลบั้มเป็นของตนเองครั้งแรก ธีมหลักของเพลงในอัลบั้มมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้สึกอย่างคนที่มีชื่อเสียง ในอัลบั้มนี้ กาก้าได้ทำงานร่วมกับโปรดิวเซอร์หลายคน อาทิ เรดวัน, Martin Kierszenbaum, และ Rob Fusari เพลงต่างๆได้แรงบันดาลใจมาจากความรักของกาก้าในการเป็นที่รู้จักมีชื่อเสียงโดยพื้นฐาน ผสานกับแบบชีวิตที่ฟุ้งเฟ้อและสลับซับซ้อนของเธอ ดนตรีในอัลบั้มได้แรงบันดาลใจมาจากแนวดนตรีซินธ์ป็อปช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 (80s) ผสมผสานกับเพลงแดนส์และฮูก อัลบั้มนี้ได้รับการวิจารณ์เชิงบวกโดยส่วนมาก ด้วยกาก้าสามารถค้นพบเมโลดีฮูกและมีการเปรียบเทียบความสามารถของเธอกับเกวน สเตฟานี อัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในหลายประเทศ อาทิ สหราชอาณาจักร, แคนากา และไอร์แลนด์ ในสหรัฐอเมริกาอัลบั้มนี้ขึ้นชาร์ต ''บิลบอร์ด'' 200 สูงสุดในอับดับที่ 4 และขึ้นอันดับสูงสุดในชาร์ต บิลบอร์ด ทอปอิเล็กทรอนิกอัลบั้ม มียอดจำหน่ายอัลบั้มทั่วโลกกว่า 4 ล้านชุด สองซิงเกิลแรกจากอัลบั้ม เดอะเฟม อันได้แก่ "จัสแดนส์" และ "โปเกอร์เฟส" ได้รับความนิยมทั่วโลก ทั้งสองขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งกว่า 6 ประเทศ รวมทั้ง ''บิลบอร์ด'' ฮอต 100 ในสหรัฐอเมริกา เพลง "โปเกอร์เฟส" ขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในตลาดดนตรีใหญ่ๆ ในส่วนซิงเกิลอื่นๆ ได้แก่ "เอ, เอ (นอตติงเอลส์ไอแคนเซย์)", "เลิฟเกม" และ "ปาปารัสซี่" กาก้าประชาสัมพันธ์อัลบั้มดังกล่าวด้วยการขับร้องเพลงในการแสดงสดของเธอ รวมทั้งใน คอนเสิร์ตทัวร์เดอะเฟมบอล คอนเสิร์ตทัวร์ครั้งแรกของเธอ อัลบั้มนี้ยังบรรจุเป็นซีดีแผ่นพิเศษในอัลบั้ม เดอะเฟมมอนสเตอร์ ฉบับดีลักซ์ ในวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเดอะเฟม · ดูเพิ่มเติม »

เดือน 6

ือน 6 คือเดือนที่หกของปี อาจหมายถึงเดือนมิถุนายนตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือเดือนที่หกตามปฏิทินจันทรคติ และเนื่องจากปฏิทินจันทรคติกำหนดตามดิถีจันทร์ เดือน 6 จึงไม่ตรงกันทุกปีเมื่อเทียบกับปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน แบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเดือน 6 · ดูเพิ่มเติม »

เดือน 7

ือน 7 คือเดือนที่เจ็ดของปี อาจหมายถึงเดือนกรกฎาคมตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือเดือนที่เจ็ดตามปฏิทินจันทรคติ และเนื่องจากปฏิทินจันทรคติกำหนดตามดิถีจันทร์ เดือน 7 จึงไม่ตรงกันทุกปีเมื่อเทียบกับปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน แบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเดือน 7 · ดูเพิ่มเติม »

เซราฟิม โทโดรอฟ

ซราฟิม โทโดรอฟ (อังกฤษ: Serafim Todorov, บัลแกเรีย: Серафим Тодоров) นักมวยสากลสมัครเล่นชาวบัลแกเรีย คู่ชิงเหรียญทองโอลิมปิกที่แอตแลนต้าของ สมรักษ์ คำสิงห์ เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 ที่เมืองปาซาร์จีก ประเทศบัลแกเรีย มีชื่อเต็มว่า เซราฟิม ซีเมโอนอฟ โทโดรอฟ (Serafim Simeonov Todorov, Серафим Симеонов Тодоров) เซราฟิม โทโดรอฟ เมื่อแข่งขันโอลิมปิก ได้จับสลากอยู่คนละสายกับสมรักษ์ ทั้งคู่จึงไม่มีโอกาสได้เจอกัน จนกระทั่งถึงรอบชิงชนะเลิศ โดยในรอบรองชนะเลิศนั้น โทโดรอฟ ต้องพบกับ ฟลอยด์ เมย์เวทเธอร์ จูเนียร์ นักมวยชาวอเมริกันเจ้าภาพ ซึ่งเป็นความหวังของทีมมวยสหรัฐด้วยในรุ่นเฟเธอร์เวทนี้ โดยการพบกันของทั้งคู่ ปรากฏว่า โทโดรอฟ เป็นฝ่ายเอาชนะ เมย์เวทเธอร์ ไปได้อย่างเฉียดฉิว 10-9 หมัด ซึ่งทางฝ่ายเมย์เวทเธอร์ได้ประท้วงผลการตัดสิน แต่ไร้ผล ส่งผลให้โทโดรอฟผ่านเข้าไปชิงชนะเลิศกับสมรักษ์ คำสิงห์ ของไทยต่อไป (ซึ่งในพิธีขึ้นรับเหรียญในเวลาต่อมา เมย์เวทเธอร์ก้มหน้าตลอด เป็นการแสดงออกว่าไม่พอใจในผลตัดสิน) ในวันชิงชนะเลิศนั้น เซราฟิม โทโดรอฟ อยู่ในมุมน้ำเงิน เมื่อระฆังยกแรกเริ่มขึ้น นักมวยทั้งคู่ต่างจดจ้องกัน เนื่องจากเป็นนักมวยที่มีสไตล์การชกคล้ายคลึงกัน คือ เป็นมวยที่คอยจังหวะ 2 ทั้งคู่ จึงคาดหมายว่า จะเป็นการชกที่ออกหมัดกันน้อย ซึ่งก็เป็นไปตามที่คาดหมายไว้จริง ๆ และก็เป็นฝ่ายโทโดรอฟที่ออกหมัดนำสมรักษ์ไปได้ก่อน 0-1 หมัด ซึ่งเป็นครั้งแรกและครั้งเดียวของโทโดรอฟที่สามารถทำคะแนนำสมรักษ์ไปได้ หลังจากนั้นสมรักษ์เมื่อทำคะแนนคืนได้และนำมาตลอด จนกระทั่งชนะไปในที่สุด 8-5 หมัด โดยเมื่อขึ้นยก 2 ในช่วงกลางยก ที่ข้อศอกซ้ายของสมรักษ์เกิดเป็นแผลถลอก เลือดไหลซิบ ๆ แต่ก็ไม่เป็นผลอะไรกับการชก หลังจากนั้นโทโดรอฟได้หันมาชกมวยสากลอาชีพในปี..

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเซราฟิม โทโดรอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อคู่ The Final Answer

นื้อคู่ The Final Answer เป็นละครซิตคอม ของค่ายภาพยนตร์จีทีเอช (GTH) และ aqua media 360 ออกอากาศทุกวันอาทิตย์ เวลา 20.00 น. - 21.00 น. ทางจีทีเอชออนแอร์ เป็นเนื้อคู่ประตูถัดไป ภาคที่4 เริ่มออกอากาศเป็นครั้งแรก 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 และออกอากาศซ้ำอีกครั้งทางช่องจีเอ็มเอ็มวันทุกวันเสาร์ เวลา 16.00 น. - 17.00 น. เริ่มตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยแฟนๆ ส่วนหนึ่งลงความเห็นว่าละครกระแสตอบรับไม่ดี จึงมารีรันทางฟรีทีวีเพิ่ม.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและเนื้อคู่ The Final Answer · ดูเพิ่มเติม »

T-Pistonz+KMC

T-Pistonz+KMC (T-Pistonz+KMC) เป็นกลุ่มดนตรีจากสังกัดไทด์โปร โดยมีสมาชิกด้วยกันทั้งหมด 4 คน เป็นนักร้องเพลงประกอบประจำซีรีส์ของอินาสึมะอีเลฟเวน โดยชื่อวงนี้มีชื่อย่อว่า พิสุเคะ (ピスケ) และ TPK.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและT-Pistonz+KMC · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 กรกฎาคม

วันที่ 5 กรกฎาคม เป็นวันที่ 186 ของปี (วันที่ 187 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 179 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ5 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 6 กรกฎาคมและ9 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

6 ก.ค.๖ กรกฎาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »