โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

21 กรกฎาคม

ดัชนี 21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

223 ความสัมพันธ์: ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561ชนะ ศรีอุบลบ้านผีสิง (ภาพยนตร์)ฟรานเซส ฟอลซัม คลีฟแลนด์พ.ศ. 1798พ.ศ. 1844พ.ศ. 1882พ.ศ. 2442พ.ศ. 2479พ.ศ. 2488พ.ศ. 2492พ.ศ. 2494พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2510พ.ศ. 2513พ.ศ. 2515พ.ศ. 2534พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2567พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2535)พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)พรรคสหภูมิพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์พระนางช็องฮย็อนพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซียพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียมพุ่มพวง (ภาพยนตร์)พีซทีวี (ประเทศไทย)กรกฎาคม พ.ศ. 2548กรกฎาคม พ.ศ. 2549กระสวยอวกาศ...กันยายน พ.ศ. 2548การบุกครองโปแลนด์การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกียการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008กินทามะกนกฉัตร มรรยาทอ่อนภานุทัต อภิชนาธงมหาวิทยาลัยพะเยามหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์นมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรีมหาสมุทรและสุสานมัสยิดกลางจังหวัดปัตตานีมาร์เซโล เบียลซามานุแอล วาลส์มาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนมือขวากับขาโจ๋มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ยูคานต์ทัชดิสยูไนท!ราชมังคลากีฬาสถานราชวงศ์จักรีราชวงศ์โรมานอฟรายชื่อบทความวันนี้ในอดีตรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3รายชื่ออัลบั้มในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหววรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมรายพระนามพระสันตะปาปารายพระนามผู้ปกครองรัสเซียรายการผลงานของแคลชรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์กร็อคแมนเอ็กเซ่ 5ลักษิกา คำขำลูกสาวพ่อมดลูนาซีวัยกระเตาะ ตึ่ง ตึง ตึ๊งวันชาติวันปลดปล่อยวันเอกราชวิกิพีเดียภาษาลักเซมเบิร์กวิกิพีเดียภาษาอารากอนวิภาต บุญศรี วังซ้ายวูวีกเอนด์สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุกสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียมสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศรสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552สุดยอดสิ่งมีชีวิตสถาบันกันตนาสถาปัตยกรรมกอทิกสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาสนธิสัญญาแวร์ซายสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2012–13สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556สโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตีสเตฟัน เลอเวนหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนีหยกลายเมฆอกุสต้าเวสท์แลนด์ อาพาชี่อัศนี พลจันทรอันดรีย์ โวโรนินอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรียอำนาจ ชนะวงศ์อิฟไอบีลีฟอุลตร้าแมน VS มาสค์ไรเดอร์อซูม่าห์ เนลสันอนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)จักรพรรดิมักซิมิอานุสจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสจักรพรรดิถังเกาจงจักรราศีจัสติน บาร์ธาจามอง ยอดหญิงผู้พิทักษ์แผ่นดินจิ่ง เถียนจี7ธนา ลิมปยารยะทิม เบอร์เนิร์ส-ลีดิสอิสเดอะวันดิจิมอนแอดเวนเจอร์ดุสิตธานีครอสส์เลิฟคริสต์ทศวรรษ 1820ความจริงวันนี้คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคิกออฟคีย์ (บริษัท)คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยาคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคดีปริศนาเส้นตายสู่สวรรค์ตอบยังไงซาร์ฟิโอดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซียซาร์มีไฮล์ที่ 1 แห่งรัสเซียซาร์ดประกอบ วิโรจนกูฏประวัติศาสตร์รัสเซียประทีป กีรติเรขาปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์นิกร อนุวรรณนิธิวัฒน์ ธราธรแชด เฮอร์ลีย์แพ กี-ซ็อกแยกท่าพระแล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูตแจ็คเกอรีน ทีวีพูลแคลชแปลก พิบูลสงครามโบโน!โฟร์ฮอตเวฟโรบิน วิลเลียมส์โรงเรียนบ้านคุ้งตะเภาโรงเรียนวัดสุทธิวรารามโรงเรียนวาสุเทวีโลวิส โครินธ์โสมส่องแสงโทรทัศน์ในประเทศไทยโตโยต้าสเตเดียมโซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2555เบลก ลูวิสเพื่อนพ้องน้องพี่ (บริษัท)เกลอรา บังการ์โน สเตเดียมเกิดมาเป็นเจ้าพ่อเรือหลวงพฤหัสบดีเวนเจินส์ (2002)เสิ่น เตี้ยนเสียเสือร้องไห้ (ภาพยนตร์)เหตุระเบิดในลอนดอน 21 กรกฎาคม 2548เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เอเชียนคัพ 2007เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์เจริญ วัดอักษรเจอร์รี โกลด์สมิธเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวีเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007เทคก้าแมนเบลด IIเทคเคนเขมรแดงเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์เดอะวินเนอร์เทกส์อิตออลเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงเด่นชัยเล็ก กระทิงแดงยิมเคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22Hols: Prince of the SunSono Hanabira ni Kuchizuke wo2 กรกฎาคม21 มิถุนายน24 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (173 มากกว่า) »

ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์

นายกองเอก ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ หรือ บิ๊กแนต อดีตหัวหน้าพรรคราษฎร และอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และกระทรวงมหาดไทย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุตรดิตถ์หลายสมัย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกสมาคมฮอกกี้แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ ศรีอุบล

นะ ศรีอุบล เป็นนักแสดงชาวไทย หนึ่งในพระเอกยุคแรกๆ ของวงการภาพยนตร์ไทย ได้รับตำแหน่งแชมป์ชายงามรุ่นใหญ่ภาคเหนือ 3 รางวัล ได้ชื่อว่าเป็นคนมีศักดิ์ศรีลูกผู้ชาย เป็นคนประหยัด อดออม รอบคอบ รับผิดชอบต่อครอบครัว และสร้างฐานะจนดำเนินชีวิตได้อย่างสุขสบาย เกิดที่กรุงเทพ เมื่อวันที่ 21 ก..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและชนะ ศรีอุบล · ดูเพิ่มเติม »

บ้านผีสิง (ภาพยนตร์)

้านผีสิง เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายใน ค.ศ. 2006 กำกับโดย จิล คีนัน อำนวยการสร้างโดย โรเบิร์ต เซเม็กคิส และ สตีเวน สปีลเบิร์ก ฉายในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2006 ส่วนประเทศไทย 31 ตุลาคม ค.ศ. 2006 เป็นครั้งแรกหลังจากเรื่อง เจาะเวลาหาอดีต ภาค 3 ที่ทั้งคู่ได้กลับมาร่วมงานกันอีกครั้ง โดยเป็นเป็นผู้อำนวยการสร้างด้วยกัน ภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ 2 ที่ใช้เทคนิคใหม่ในการสร้าง โดยเรื่องแรกที่ใช้เทคนิคใหม่ในการสร้างคือเรื่อง โพลาร์ เอ็กซ์เพลส โดยผู้อำนวยการสร้าง Robert Zemeckis.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและบ้านผีสิง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานเซส ฟอลซัม คลีฟแลนด์

ฟรานเซส ฟอลซัม คลีฟแลนด์ (เกิด 21 กรกฎาคม 1864 -- 29 ตุลาคม 1947) เป็นภรรยาของ โกรเวอร์ คลีฟแลนด์ ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาคนที่27 เธอเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและฟรานเซส ฟอลซัม คลีฟแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1798

ทธศักราช 1798 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 1798 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1844

ทธศักราช 1844 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 1844 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1882

ทธศักราช 1882 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 1882 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2442

ทธศักราช 2442 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1899 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2442 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2497 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2501 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2538 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2567

ทธศักราช 2567 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2024 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพ.ศ. 2567 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2535)

รรคพลังประชาชน พรรคการเมืองของไทยในอดีตที่ได้จดทะเบียนก่อตั้งตาม พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2524 เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 เป็นลำดับที่ 32/2535 โดยมีพันเอก โสภณ หาญเจริญ เป็นหัวหน้าพรรคและนาย โสพล โกสุมา เป็นเลขาธิการพรรค ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 หรือ 35/2 พรรคพลังประชาชนส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้งแต่ไม่ได้รับเลือกตั้งแม้แต่คนเดียวทำให้ถูกยุบตามคำสั่ง ศาลฎีกา คดีหมายเลขแดงที่ ป. 125/2535 เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)

รรคราษฎร ชื่อเดิม พรรคสหชาติ ก่อตั้งขึ้นเป็นพรรคการเมือง ในปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพรรคราษฎร (พ.ศ. 2529) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหภูมิ

รรคสหภูมิ พรรคการเมืองพรรคหนึ่งของประเทศไทยในอดีต.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพรรคสหภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)

รรคเสรีธรรม (Liberal Integrity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 มีสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 113/1617 ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 ที่ประชุมใหญ่ของพรรคมีมติเอกฉันท์ให้รวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535) · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)

อำมาตย์โท พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) หรือ หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลป์เครือวัลย์ ชุมแสง (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2478) นายกเภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยามคนแรก นักพฤกษศาสตร์ และอาจารย์ชาวไท.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ 2000000000000000 ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม "ทองดี") และพระอัครชายา (พระนามเดิม "หยก"หรือ ดาวเรือง) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์

ระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ พระมเหสีในรัชกาลที่ 5 หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เป็นพระธิดาพระองค์รองในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๗ หม่อมเจ้าปิ๋ว ลดาวัลย์ เมื่อประสูติทรงประทับอยู่ที่วังของพระบิดา โดยมีกรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร (ทูลกระหม่อมแก้ว) ทรงเป็นผู้อภิบาล มีพระเชษฐภคินีและพระขนิษฐาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจีน ๒ พระองค์ และได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสามพระองค์ คือ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระนางช็องฮย็อน

ระมเหสีจองฮย็อน 貞顯王后..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระนางช็องฮย็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย

มเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย (Friedrich Wilhelm I, Frederick William I of Prussia) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740) ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและอีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 ในปี ค.ศ. 1713 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740 โดยมีสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ สมเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 และ โซฟี ชาร์ล็อทเท่แห่งฮันโนเฟอร์ สมเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มทรงได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” (der Soldatenkönig) และมีความโปรดปรานการแสดงทางการทหาร ที่ทำให้ทรงพยายามจ้างบุคคลที่มีความสูงมาจากทั่วยุโรปมาเข้าสังกัดกองทหารที่มีชื่อเล่นว่า “ยักษ์พอร์ทสดัม”.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม

ระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม (Léopold Georges Chrétien Frédéric, Leopold Georg Christian Friedrich; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1790 – 10 ธันวาคม ค.ศ. 1865) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม พระองค์แรกโดยมีพระอิสริยยศเป็น "พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม" (King of the Belgians) ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1831 ภายหลังจากการได้รับอิสรภาพจากเนเธอร์แลนด์ พระองค์ทรงเป็นต้นสายของพระราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายเบลเยียม พระโอรสและธิดาของพระองค์รวมถึงสมเด็จพระเจ้าเลออปอลที่ 2 แห่งเบลเยียม และจักรพรรดินีคาร์ลอตตาแห่งเม็กซิโก พระองค์ยังเป็นพระปิตุจฉา (ลุง) และที่ปรึกษาสำคัญของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์พระราชสมภพที่โคบูรก์ และสวรรคตที่ลาเคน โดยพระอิสริยยศเมื่อพระราชสมภพคือ เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูรก์-ซาลเฟลด์ และต่อมาเป็น เจ้าชายแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และดยุกแห่งแซกโซนี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพระเจ้าเลออปอลที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

พุ่มพวง (ภาพยนตร์)

มพวง (The Moon) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพุ่มพวง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พีซทีวี (ประเทศไทย)

ีซทีวี (Peace TV) เป็นช่องโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมในประเทศไทย ดำเนินงานโดยบริษัท พีซเทเลวิชัน จำกัด (เดิมชื่อบริษัท รวยทันที จำกัด) เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและพีซทีวี (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและกรกฎาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและกระสวยอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2548

อห์น โรเบิร์ต.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและกันยายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย

การบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย เกิดขึ้นในช่วงการบุกครองโปแลนด์ของนาซีเยอรมนี โดยสโลวาเกียได้ส่งกองทัพเบอร์โนลัค ซึ่งประกอบด้วยทหาร 50,000 นาย แบ่งออกเป็น 3 กองพลทหารราบ ระหว่างการรบในโปแลนด์ ทหารสโลวัคพบกับการต้านทานและความสูญเสียเพียงเล็กน้อยเท่านั้น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและการบุกครองโปแลนด์ของสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

การคุ้มกันผู้วิ่งคบเพลิงที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ การวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 จะสิ้นสุดลงในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เพื่อนำไปจุดในงานเปิดมหกรรมกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน แผนการของการวิ่งนั้นได้ถูกประกาศเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ.2550) ภายใต้สโลแกนว่า "Journey of Harmony" (和諧之旅) และคาดว่าจะใช้เวลาวิ่ง 130 วัน ผ่าน 21 ประเทศรวมประเทศจีน ระยะทาง 137,000 ก.ม. (85,100 ไมล์) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการวิ่งคบเพลิงที่ยาวที่สุดนับตั้งแต่การวิ่งคบเพลิงครั้งแรก เมื่อปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและการวิ่งคบเพลิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

กินทามะ

กินทามะ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น เขียนโดย ฮิเดะอะกิ โซะระชิ เริ่มลงตีพิมพ์ในนิตยสารโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2546 และลงตีพิมพ์อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ได้รับการจัดพิมพ์รวมเล่มเป็นหนังสือการ์ตูนมาแล้ว 72 เล่ม เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับซากาตะ กินโทกิ อดีตซามูไรที่ทำอาชีพรับจ้างอิสระพร้อมด้วยชิมูระ ชินปาจิและคางุระ เพื่อหาเงินมาเลี้ยงชีพในยุคที่ซามูไรตกต่ำเนื่องจากการรุกรานของมนุษย์ต่างดาว เนื้อเรื่องเป็นการผสมผสานระหว่างแนวย้อนยุคและแนววิทยาศาสตร์ ลักษณะแนวเรื่องเป็นแนวตลกและต่อสู้ ออริจินอลวิดีโอแอนิเมชัน (โอวีเอ) ของการ์ตูนกินทามะ ผลิตโดยบริษัทซันไรส์ ได้รับการฉายในงานจัมป์เฟสต้า 2006 อะนิเมะทัวร์ ในปี พ.ศ. 2548 หลังจากนั้นบริษัทซันไรส์ได้นำการ์ตูนกินทามะมาจัดทำเป็นภาพยนตร์การ์ตูนฉายทางช่องทีวีโตเกียว ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2553 รวมจำนวนตอนทั้งสิ้น 201 ตอน และได้มีการออกอากาศภาคต่อของภาพยนตร์การ์ตูนกินทามะ โดยใช้ชื่อว่า กินทามะ' (มีเครื่องหมายอะพอสทรอฟีปรากฏหลังคำว่า กินทามะ) ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2554 จนถึงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2555 และออกอากาศอีกครั้งพร้อมกับออกอากาศตอนเก่าโดยใช้ชื่อว่า กินทามะ ภาคล่วงเวลา ฉายระหว่างวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556 ในปี พ.ศ. 2558 ได้มีการออกกากาศภาคต่ออีกครั้งโดยใช้ชื่อว่า กินทามะ° ผลิตโดยบันไดนัมโคพิกเจอส์ เรี่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2559 ในญี่ปุ่น กินทามะเป็นการ์ตูนที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูง ติดอันดับใน 10 อันดับแรกของการ์ตูนที่มียอดขายสูงสุด กระแสตอบรับของการ์ตูนกินทามะมีทั้งด้านบวกและด้านลบ ด้านบวกคือความชื่นชอบเนื้อหาที่ตลกขบขันและมีเนื้อเรื่องที่สนุกตื่นเต้น ส่วนกระแสด้านลบคือด้านลายเส้นของการ์ตูน นอกจากหนังสือและภาพยนตร์การ์ตูนแล้ว ปัจจุบัน กินทามะยังออกมาในรูปของสื่ออื่น ได้แก่ ไลท์โนเวล และวิดีโอเกมส์อีกด้วย รวมถึงถูกดัดแปลงเป็นภาพยนตร์จอเงินมาแล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรกคือภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ ซึ่งได้ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2553 ครั้งที่สองคือภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต ซึ่งได้ออกฉายที่ประเทศญี่ปุ่นในวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในประเทศไทย กินทามะได้รับลิขสิทธิ์หนังสือการ์ตูนโดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์คอมิกส์ ตีพิมพ์รายสัปดาห์ในนิตยสารการ์ตูนซีคิดส์ เอ๊กซ์เพรส และตีพิมพ์เป็นหนังสือการ์ตูนรวมเล่มมาแล้ว 66 เล่ม ส่วนภาพยนตร์การ์ตูน ได้รับลิขสิทธิ์โดยบริษัท ทีไอจีเอ (ปี 1), บริษัท ไรท์บียอนด์ (ปี 2, 3, 4), และบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ (ปี 5, 6) ภาพยนตร์การ์ตูนกินทามะออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในประเทศไทยทางช่องช่องทรู สปาร์ก และยังเคยมีการออกอากาศทางการ์ตูนคลับแชนแนลในวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2553, ช่อง 6, ช่อง จีเอ็มเอ็มวัน,ช่อง จีเอ็มเอ็มแชนเนล และช่องแก๊งการ์ตูนแชนแนล สำหรับภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ กำเนิดใหม่ดาบเบนิซากุระ และภาพยนตร์ กินทามะ เดอะมูฟวี่ บทสุดท้าย: กู้กาลเวลาฝ่าวิกฤตพิชิตอนาคต ได้มีการซื้อลิขสิทธิ์เพื่อการวางจำหน่ายประเทศไทยโดยบริษัท โรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและกินทามะ · ดูเพิ่มเติม »

กนกฉัตร มรรยาทอ่อน

กนกฉัตร มรรยาทอ่อน หรือ ไต้ฝุ่น เคพีเอ็น เป็นนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้เข้าแข่งขันบนเวที KPN Award ครั้งที่ 21 และได้รับรางวัลรองนักร้องยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย อันดับ 1.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและกนกฉัตร มรรยาทอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

ภานุทัต อภิชนาธง

นุทัต อภิชนาธง (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 -) หรือที่รู้จักกันในนาม ครูแอ๊ด หรือศิลปินพื้นบ้านล้านนา เกิดที่บ้านพันตาเกิน อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน เป็นบุตรของนายสวัสดิ์ อภิชนาธง และนางนิ่ม ทุ้ยแป มีฝีมือด้านดนตรีพื้นเมืองในระดับครู และเป็นครูคนแรกที่เริ่มสอนดนตรีพื้นเมืองล้านนาให้กับประชาชนในวัด โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสอน ในทุกวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 13.30-17.00 น. บนวิหารหลวง วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ และประกอบอาชีพนักดนตรีและนักร้อง ในเวลาอื่นๆ นายภานุทัตให้เหตุผลในการเลือกเล่นดนตรีพื้นเมืองว่าเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวมากที่สุด โดยเฉพาะซอพื้นเมือง มีใจรักดนตรีพื้นเมืองและความเป็นลานนา ด้านครอบครัว นายภานุทัต อภิชนาธง มีบุตรชายหนึ่งคน คือ "น้องแอ๊ดน้อย ".

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและภานุทัต อภิชนาธง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยพะเยา (University of Phayao; ชื่อย่อ: มพ / UP) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา เดิมเป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น (The Eastern University of Management and Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ถึงระดับปริญญาเอก ตั้งอยู่ที่ถนนชยางกูร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ (Kalasin Rajabhat University) ในอดีตเป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ที่ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์ จัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540โดยนายสุขวิช รังสิตพลรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2542 เป็นครั้งแรก ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาต่างๆ รวมทั้งดำเนินงานวิจัยและให้บริการทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เพื่อตอบสนองความต้องการของจังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียง ตลอดจนประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นหนึ่งในวิทยาเขตของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรและสุสาน

มหาสมุทรและสุสาน (อังกฤษ: The Island Funeral) คือภาพยนตร์ไทยขนาดยาวกำกับโดยพิมพกา โตวิระ เขียนบทโดยพิมพกา โตวิระ และก้อง ฤทธิ์ดี นำแสดงโดย ศศิธร พานิชนก อุกฤษ พรสัมพันธ์สุข และยศวัศ สิทธิวงค์ เล่าเรื่องการเดินทางของไลลา หญิงสาวมุสลิมที่เดินทางจากกรุงเทพฯ ไปยังจังหวัดปัตตานี เพื่อไปเยี่ยมป้าที่ไม่ได้เจอกันเป็นเวลานาน และเพื่อค้นหารากเหง้าของตัวตนและจิตวิญญาณของตัวเอง"".

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมหาสมุทรและสุสาน · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี

มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี (ภาษามลายูปัตตานี: مسجد الجامع الفطاني, มัสยิด อัลญามีอะฮฺ อัลปะตานี) ตั้งอยู่ที่ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมที่สวยงามมีความโดดเด่น และยังเป็นศาสนสถานศูนย์รวมจิตใจของผู้นับถือศาสนาอิสลามในภาคใต้ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เซโล เบียลซา

มาร์เซโล อัลเบร์โต เบียลซา กัลเดรา (Marcelo Alberto Bielsa Caldera) หรือคนทั่วไปเรียกเขาว่า มาร์เซโล เบียลซา เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1957 เป็นนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอาร์เจนตินา เบียลซาเกิดในเมืองโรซารีโอ เขาเริ่มค้าแข้งกับอาชีพฟุตบอลตั้งแต่วัย 20 ปี โดยเริ่มเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลนิวเอลส์โอลด์บอยส์ในอาร์เจนตินา โดยเล่นตำแหน่งกองหลัง หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1990 เบียลซาในวัย 33 ปี ได้เริ่มอาชีพผู้จัดการทีมฟุตบอลอย่างเป็นทางการ ปัจจุบันเขาได้มาคุมทีมออแล็งปิกเดอมาร์แซย์ในลีกเอิง ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมาร์เซโล เบียลซา · ดูเพิ่มเติม »

มานุแอล วาลส์

มานุแอล วาลส์ (Manuel Valls; เกิดวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1962) มีชื่อเต็มว่า มานุแอล การ์ล็อส วาลส์ กาลแฟตี (Manuel Carlos Valls Galfetti) เป็นนักการเมืองฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 จนถึง วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ก่อนหน้าเคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในระหว่างปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมานุแอล วาลส์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

มาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมาเรีย คริสตินาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

มือขวากับขาโจ๋

มือขวากับขาโจ๋ เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของ คาซึโร่ อิโนอุเอะ แนวโรแมนติกคอมเมดี้ ต่อมาได้มีการจัดทำในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ด้วย ในประเทศไทย มือขวากับขาโจ๋ ได้รับลิขสิทธิ์ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์วิบูลย์กิจ ส่วนฉบับภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ ออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี-ดีวีดีลิขสิทธิ์โดย TIGA.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมือขวากับขาโจ๋ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นมูลนิธิที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงก่อตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ยากไร้ในชนบท โดยการส่งเสริมอาชีพอื่น เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยมีการดำเนินงานนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาจวบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่

ปสเตอร์ตอน 20 ปริศนารัตติกาลทมิฬ เป็นภาพยนตร์ชุดโคนันที่มีรายได้มากที่สุด ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ เป็นภาพยนตร์ตอนพิเศษของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน โดยภาพยนตร์ชุดนี้จะออกฉายในโรงภาพยนตร์ในช่วงโกลเดน วีคในประเทศญี่ปุ่น ในปัจจุบันมีทั้งหมด 22 ภาคในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งฉายไปแล้ว 21 ภาค และทางไทก้าซึ่งเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์นำมาจำหน่ายครบ 21 ภาค แต่เริ่มนำมาฉายในโรงภาพยนตร์ครั้งแรกในภาคที่ 8 มนตราแห่งรัตติกาลสีเงิน นอกจากนี้บางตอนยังมีการนำไปออกอากาศทาง โมเดิร์นไนน์ทีวี ในช่วง โมเดิร์นไนน์การ์ตูนสเปเชียล และทางช่อง 7, CH7 (เรียกข้อมูลวันที่ 18 ต.ค. 2552), Modernine Cartoon, 18 ต..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ · ดูเพิ่มเติม »

ยูคานต์ทัชดิส

"ยูคานต์ทัชดิส" (U Can't Touch This) คือซิงเกิลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดของเอ็มซีแฮมเมอร์ จากอัลบั้ม Please Hammer, Don't Hurt 'Em ในปี พ.ศ. 2533 ซึ่งอัลบั้มมียอดจำหน่ายกว่า 10 ล้าน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและยูคานต์ทัชดิส · ดูเพิ่มเติม »

ยูไนท!

ูไนท! เป็นซิงเกิลที่ 23 ของอายูมิ ฮามาซากิ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและยูไนท! · ดูเพิ่มเติม »

ราชมังคลากีฬาสถาน

อัฒจันทร์ฝั่งป้ายไฟแสดงคะแนน อัฒจันทร์ฝั่งกระถางคบเพลิง ศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยชั่วคราว (ตุลาคม พ.ศ. 2554) ราชมังคลากีฬาสถาน (Rajamangala National Stadium) เป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยเป็นสนามกลางหรือสนามหลัก (Main Stadium) ภายในสนามกีฬาหัวหมาก ของการกีฬาแห่งประเทศไทย สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 และ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ. 2531 สนามได้รับการออกแบบโดย รังสรรค์ ต่อสุวรรณ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2541 เพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 13 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นเจ้าภาพ ราชมังคลากีฬาสถาน เป็นสนามเหย้าของทีมฟุตบอลทีมชาติไทย ในปัจจุบัน และใช้จัดแข่งขันฟุตบอลนัดสำคัญต่างๆ นอกจากนี้ ยังใช้สำหรับจัดการแสดงดนตรี(คอนเสิร์ต)กลางแจ้ง มีศักยภาพรองรับผู้เข้าชมภายในอาคาร จำนวน 80,000 คน และอัฒจันทร์จำนวน 49,722 ที่นั่ง ซึ่งเป็นเก้าอี้ทั้งหมด ภายในมีสนามฟุตบอลขนาดมาตรฐาน ลู่วิ่ง ลานกรีฑา และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ นอกจากนี้ ยังเป็นสนามกีฬาที่มีขนาดใหญ่ เป็นอันดับที่ 55 ของโลก และเป็นอันดับ 17 ของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและราชมังคลากีฬาสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โรมานอฟ

งราชวงศ์โรมานอฟ ตราแผ่นดินของจักรวรรดิรัสเซีย ตราประจำพระราชวงศ์ ราชวงศ์โรมานอฟ ตามสำเนียงอังกฤษ หรือ รามานาฟ ตามสำเนียงรัสเซีย (Romanov) เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซีย โดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1613 ถึง ค.ศ. 1917 กษัตริย์โรมานอฟพระองค์แรก คือพระเจ้าซาร์มิฮาอิลที่ 1 ได้รับแต่งตั้งใน ค.ศ. 1613 ภายหลังสมัยแห่งความวุ่นวาย (Time of Troubles) ราชวงศ์นี้ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกือบตลอดเวลา โดยได้มีความพยายามร่างรัฐธรรมนูญ โดยพระจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แต่พระองค์ก็ถูกลอบปลงพระชนม์เสียก่อน แม้ว่าจักรพรรดินีโคไลที่ 2 จะทรงตั้งสภาดูมาใน ค.ศ. 1905 ก็มิได้มีสิทธิในการออกกฎหมายอย่างเต็มที่ จนเกิดการปฏิวัติใหญ่ในรัสเซีย จักรพรรดินิโคสัสที่ 2 ต้องทรงสละราชสมบัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 และถูกปลงพระชนม์โดยกำลังของฝ่ายบอลเชวิกในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งสาเหตุของการปลงพระชนม์เนื่องด้วย พระจักรพรรดินิโคสัสที่ 2 เข้าร่วมสงครามและทุ่มงบประมาณไปกับสงครามมาก ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ประชาชนก่อการปฏิวัติ และทางราชวงศ์ได้พยายามหลบหนีแต่ไม่สำเร็จ ได้ถูกนำมากักตัวและถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและราชวงศ์โรมานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เป็นช่องโทรทัศน์ที่มีรายการต่าง ๆ มากมาย รวมไปถึงละครที่มีมากมายหลายเรื่องและหลายช่วงเวลา เมื่อมีละครเรื่องหนึ่งจบหรืออวสานไปก็จะมีละครเรื่องใหม่มาออกอากาศแทน โดยละครแต่ละเรื่องจะมีนักแสดงนำและบทละครที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ ละครทางช่อง 3 ที่อวสานไปเมื่อประมาณ 1 ปี ถึง 3 ปีที่แล้ว จะถูกนำมาออกอากาศอีกครั้งในช่วงเวลาตอนบ่ายในวันจันทร์ถึงศุกร์ด้วย ต่อไปนี้เป็นรายชื่อละครโทรทัศน์ที่ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ตั้งแต่ปี 2513 ถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่อละครโทรทัศน์ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออัลบั้มในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว

ทความนี้เป็นบทความที่รวมรายชื่ออัลบั้ม จากอะนิเมะเรื่อง เค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่ออัลบั้มในเค-อง! ก๊วนดนตรีแป๋วแหวว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระสันตะปาปา

รายพระนามสมเด็จพระสันตะปาปาแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก เรียงตามวันที่ได้รับแต่งตั้ง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายพระนามพระสันตะปาปา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย

ักรพรรดิแห่งรัสเซีย หรือที่มักเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่าพระเจ้าซาร์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองอาณาจักรซาร์รัสเซีย และจักรวรรดิรัสเซีย โดยนับตั้งแต่ ค.ศ. 1721 จะทรงใช้พระยศว่า "จักรพรรดิ" จักรพรรดิพระองค์สุดท้ายคือ จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 โดยนับตั้งแต่การยกฐานะเป็นจักรวรรดิมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์โรมานอฟทั้งสิ้น นอกจากนี้ยังดำรงพระอิสริยยศเป็นแกรนด์ดยุคแห่งฟินแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1809 - ค.ศ. 1917, พระมหากษัตริย์แห่งโปแลนด์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1815 - ค.ศ. 1916.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการผลงานของแคลช

รายการผลงานของวงดนตรีร็อกสัญชาติไทย แคลช (Clash) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 5 คน ได้แก่ แบงค์ ปรีติ บารมีอนันต์ (ร้องนำ), พล คชภัค ผลธนโชติ (กีตาร์), แฮ็คส์ ฐาปนา ณ บางช้าง (กีตาร์), สุ่ม สุกฤษณ์ ศรีเปารยะ (เบส), และยักษ์ อนันต์ ดาบเพ็ชรธิกรณ์ (กลอง) ปัจจุบันมีสตูดิโออัลบั้มหรืออัลบั้มเต็มจำนวน 7 อัลบั้ม ถ้านับแยกเป็นจำนวนเพลง เพลงในอัลบั้มเต็มทั้ง 7 ชุด มีทั้งสิ้น 73 เพลง ไม่รวมเวอร์ชันตัดเสียงร้องหรือ Bonus Track เพลงพิเศษในอัลบั้มพิเศษ 6 เพลง ไม่รวมเวอร์ชันคัฟเวอร์ เพลงในโปรเจกต์รวม 10 เพลงไม่รวมเพลงที่ร้องร่วมกับวงอื่น เพลงประกอบภาพยนตร์อีก 5 เพลง ไม่รวมเวอร์ชันคัฟเวอร์ และเพลงพิเศษในโอกาสต่าง ๆ ที่ไม่ถูกรวมไว้ในอัลบั้มใดอีก 3 เพลง รวมแล้วมีเพลงของวงแคลชรวมทั้งสิ้น 87 เพลง ปัจจุบันแยกวงแล้ว.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายการผลงานของแคลช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก

นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งเดนมาร์กและเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรีแห่งเดนมาร์ก ตั้งแต..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ร็อคแมนเอ็กเซ่ 5

ร็อคแมนเอ็กเซ่ 5 หรือ เมกาแมน แบทเทิลเน็ตเวิร์ค 5 เป็นวิดีโอเกมชุดร็อคแมนเอ็กเซ่ลำดับที่ 5 ผลิตโดยแคปคอม วางจำหน่ายในรูปแบบเกมบอยแอควานซ์ มี 2 เวอร์ชันคือ ทีมออฟบลูส์ (チーム オブ ブルース) และ ทีมออฟคาเนล (チーム オブ カーネル) วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 2004 ต่อมาได้ทำเวอร์ชั่นใหม่ในรูปแบบของ นินเท็นโด DS ในชื่อ ร็อคแมนเอ็กเซ่ 5DS ทวินลีดเดอร์ส (ロックマンエグゼ5DS ツインリーダーズ) เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและร็อคแมนเอ็กเซ่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

ลักษิกา คำขำ

ลักษิกา คำขำ (ชื่อเล่น: ลัก; เกิด: 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นนักเทนนิสเยาวชนชาวไทย อันดับสูงสุดของเทนนิสเยาวชนโลก คือ อันดับ 50 ในวันที่ 25 มกราคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและลักษิกา คำขำ · ดูเพิ่มเติม »

ลูกสาวพ่อมด

ลูกสาวพ่อมด เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวแฟนตาซี-คอมเมดี-แอ็กชั่น-ดราม่า-โรแมนติกรักข้ามภพข้ามชาติ บทประพันธ์โดย โสภาค สุวรรณ บทโทรทัศน์โดย มธุรา และ ดลยา ทรัพย์ยิ่ง ผลิตโดย บริษัท เมคเกอร์ เจ กรุ๊ป จำกัด โดยผู้จัด จริยา แอนโฟเน่ กำกับการแสดงโดย ปิยะพงษ์ คำภากุล ออกอากาศทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 18.30 - 19.45 น. เริ่มตอนแรกวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2557–25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 นำแสดงโดย สรวิชญ์ สุบุญ, พริมา พันธุ์เจริญ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและลูกสาวพ่อมด · ดูเพิ่มเติม »

ลูนาซี

ลูนาซี (LUNA SEA) เป็น วงดนตรีร๊อกจากประเทศญี่ปุ่น เริ่มก่อตั้งวงเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยสมาชิกประกอบด้วย ริวอิจิ คาวามูระ,สึกิโซะ (ยาสึฮิโระ สึงิฮาระ), อิโนะรัน (คิโยโนบุ อิโนอุเอะ), เจ (จุน โอโนเสะ) และ ชินยะ ยามาดะ โดยทั้งห้าได้ทำงานเพลงร่วมกันจนกระทั่งประกาศยุติกิจกรรมของวงในปี พ.ศ. 2543 กระทั่งในปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและลูนาซี · ดูเพิ่มเติม »

วัยกระเตาะ ตึ่ง ตึง ตึ๊ง

วัยกระเตาะ ตึ่ง ตึง ตึ๊ง เป็นผลงานของ มาโคโตะ อิชชิกิ ผู้วาดผีซ่าส์กับฮาน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวัยกระเตาะ ตึ่ง ตึง ตึ๊ง · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันปลดปล่อย

วันปลดปล่อย คือวันสำคัญวันหนึ่งของหลายประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นวันที่ได้รับอิสรภาพ เป็นวันที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ อาทิการปฏิวัติ เช่นในคิวบา หรือสิ้นสุดการยึดครองทางทหารโดยรัฐอื่น อย่างใดอย่างหนึ่ง คล้ายกับวันเอกราชแต่ต่างกันที่ วันเอกราชถือเป็นวันที่แยกตัวออกเป็นอีกประเทศหนึ่ง ในขณะที่วันปลดปล่อยมิได้แยกประเทศ หรืออาจรวมประเทศ หมวดหมู่:วันสำคัญ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวันปลดปล่อย · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาลักเซมเบิร์ก

ลโก้วิกิพีเดียภาษาลักเซมเบิร์ก วิกิพีเดียภาษาลักเซมเบิร์ก เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาลักเซมเบิร์ก เริ่มสร้างเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาลักเซมเบิร์กมีบทความมากกว่า 17,000 บทความ (กันยายน 2550).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวิกิพีเดียภาษาลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดียภาษาอารากอน

วิกิพีเดียภาษาอารากอน เป็นสารานุกรมวิกิพีเดียที่จัดทำขึ้นในภาษาอารากอน เริ่มสร้างเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 ปัจจุบันวิกิพีเดียภาษาอารากอนมีบทความมากกว่า 10,000 บทความ (กันยายน 2551).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวิกิพีเดียภาษาอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

วิภาต บุญศรี วังซ้าย

ตราจารย์ ดร.วิภาต บุญศรี วังซ้าย (12 มีนาคม 2459 - 30 ตุลาคม 2527) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีการเกษตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดแพร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวิภาต บุญศรี วังซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

วูวีกเอนด์

"วูวีกเอนด์" เป็นซิงเกิลภาษาญี่ปุ่นลำดับที่ 31 ของโบอาในรูปแบบแม็กซีซิงเกิล วางจำหน่ายในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพลง "WOO WEEKEND" เป็นฉลองครบรอบ 25 ปีการแสดงดิสนีย์ ออน ไอซ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและวูวีกเอนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม (การออกเสียงภาษาอื่น: His Majesty King Philippe of the Belgians; Sa Majesté le Roi Philippe des Belges; Zijne Majesteit de Koning Filip der Belgen; Seine Majestät der König Philipp der Belgier, เสด็จพระราชสมภพ 15 เมษายน ค.ศ. 1960) เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 7 แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในอดีตสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม ทรงสืบราชสมบัติขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 ภายหลังจากการสละราชสมบัติของสมเด็จพระราชบิดาอันเนื่องมาจากปัญหาพระพลานามัย โดยหลังจากการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เจ้าหญิงเอลีซาแบ็ต พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งบราบันท์ รัชทายาทพระองค์ต่อไปของเบลเยียม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชาธิบดีฟีลิปแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 จนกระทั่งสละราชสมบัติแก่พระโอรสของพระองค์ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 มีพระราชดำรัสผ่านสถานีโทรทัศน์ว่าทรงมีพระราชพระสงค์สละราชสมบัติให้เจ้าชายฟิลิป มกุฎราชกุมาร ในวันที่ 21 เดือนและปีเดียวกัน เนื่องจากทรงมีพระชนมพรรษามากและพระวรกายที่ไม่แข็งแรงเช่นในอดีต จึงทำให้พระองค์เป็นประมุขแห่งราชวงศ์พระองค์ที่ 4 ที่ทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 2013 ตามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีแห่งกาตาร์ และยังเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 ของเบลเยียมที่สละราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ซึ่งทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1951.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก พระราชสมภพเมื่อ วันที่ 2 พฤษภาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม และเป็นสมเด็จพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป พระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมพระองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระราชินีเปาลาแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2515 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดำรงพระยศอยู่ 1 ปีเศษ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 สิริพระชันษาได้ 77 ปี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายมั่ง พระโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดานิ่มซึ่งเป็นธิดาของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ประสูติเมื่อวันเสาร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 7 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2336 เวลา 5 ทุ่มเศษ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Office of Small and Medium Enterprise Promotion, OSMEP, ชื่อย่อ: สสว.) องค์การมหาชน เดิมอยู่ในกำกับดูแลของ กระทรวงอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อศึกษาและจัดทำรายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศรวมถึงส่งเสริมการทำธุรกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (The Board of Investment of Thailand หรือ BOI) เป็นส่วนราชการในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ส่งเสริมการลงทุนในประเทศไทย ทั้งในด้านการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและอำนวยความสะดวกด้านการลงทุน และด้านการบริการสนับสนุนธุรกิจ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ริยุปราคาเต็มดวง 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

สุดยอดสิ่งมีชีวิต

อดสิ่งมีชีวิต (The Most Extreme) เป็นรายการซีรีส์หนึ่งของเคเบิลทีวีอเมริกา ในช่องอนิมอล เพลเน็ท (Animal Planet) ออกอากาศครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2545 ในแต่ละตอนจะมุ่งประเด็นไปที่ความสามารถต่าง ๆ ของสัตว์ เช่น ความแข็งแกร่ง ความเร็ว จ้าวเสน่ห์ ยอดนักรบ จอมเขมือบ ฯลฯ สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่แสดงความสามารถออกมา แล้วนำเสนอในมุมมองที่แปลก ๆ ของสัตว์ชนิดต่าง ๆ อย่างไรก็ดีการจัดอันดับสัตว์ต่าง ๆ ในรายการไม่ได้อ้างอิงโดยผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์เฉพาะด้าน สุดยอดสิ่งมีชีวิต จะเริ่มรายการโดนการตั้งประเด็นคำถามก่อน แล้วเป็นการไล่ลำดับของสัตว์ในด้านต่าง ๆ ขึ้นมา ตั้งแต่ลำดับสุดท้ายจนถึงลำดับแรก พร้อมกับมีคำอธิบายและการเปรียบเทียบกับคอมพิวเตอร์กราฟิก เพื่อเป็นการให้ผู้ชมมองเห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นสุดยอดสิ่งมีชีวิตตอน "สุดยอดฉลาม" มีการเปรียบเทียบฉลามหัวค้อน (Hammerhead shark) ที่มีสัมผัสสุดยอดทางการมองและการดมกลิ่น รวมไปถึงสัมผัสพิเศษในการตรวจจับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเปรียบเทียบกับทีมนักเจาะระบบเครือข่ายข้อมูล (Hacker) ที่สามารถแกะรอยการใช้งานอินเทอร์เน็ตบนเครือข่ายแบบไร้สายได้ ปัจจุบันออกฉายในประเทศไทยทาง Animal Planet ทรูวิชั่นส์ช่อง 50.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสุดยอดสิ่งมีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันกันตนา

ันกันตนา (Kantana Institute) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ได้รับการอนุญาตจัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยบริษัท กันตนา เอ็ดดูเทนเมนท์ (อินเตอร์เนชั่นแนล) จำกัด และได้รับการรับรองวิทยฐานะตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป สถาบันกันตนา นับเป็นสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตเฉพาะด้านการผลิตภาพยนตร์และแอนิเมชันแห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสถาบันกันตนา · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสถาปัตยกรรมกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา

นีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา (Thai Parliament Television - TPTV) เป็นช่องโทรทัศน์ของไทย ซึ่งออกอากาศโดยไม่ใช้คลื่นความถี่ และกำลังทดลองออกอากาศ ผ่านโครงข่ายโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการสาธารณะ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อการกระจายข้อมูลข่าวสาร เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี ระหว่างรัฐสภากับประชาชน ทางช่องหมายเลข 10 ดำเนินการโดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มีภารกิจหลักในการถ่ายทอดสด การประชุมรัฐสภา การประชุมสภาผู้แทนราษฎร และการประชุมวุฒิสภา (ปัจจุบันหมายถึง การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) รวมถึงรายงานข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานของรัฐสภา เผยแพร่สู่ประชาชนทั่วไป รวมถึงรายการสาระประโยชน์ต่างๆ ออกอากาศในช่วงนอกเหนือจากการประชุมสภาฯ สถานีฯ ได้ประกอบพิธีเปิดและเริ่มออกอากาศ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีสุชน ชาลีเครือ ประธานวุฒิสภาขณะนั้น เป็นประธานในพิธี โดยขณะนั้นออกอากาศในช่องความถี่ของโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็นบีทีของกรมประชาสัมพันธ์ที่ช่อง NBT 15.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2012–13

ูกาล 2012-13 เป็นฤดูกาลที่ 121 ของ สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 21 พรีเมียร์ลีก ลีกชั้นสูงสุดของ ฟุตบอลอังกฤษ โดยในครั้งนี้ลิเวอร์พูลได้มีสิทธิไปเล่นถ้วย ยูฟ่ายูโรปาลีก ด้วยการเป็นแชมป์ ลีกคัพ เมื่อฤดูกาล 2011-12 ในรอบคัดเลือกรอบที่ 3 และในช่วงปรีซีซั่นได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีมเกิดขึ้น โดยทางสโมสรได้ปลด เคนนี่ ดัลกลิช ออกจากเป็นผู้จัดการทีมเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2012.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2012–13 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08

ใน ฤดูกาล 2007-08 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดแข่งขันอยู่ในเอฟเอพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี

มสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี (Exeter City Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลระดับอาชีพ ตั้งอยู่ที่เมืองเอ็กซิเตอร์ ในประเทศอังกฤษ ปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ในระดับฟุตบอลลีกทู และมีชื่อเล่นว่า เดอะกรีเชียนส์(The Grecians) ปัจจุบัน เอ็กซิเตอร์ซิตีเป็นเพียง 1 ใน 4 สโมสรในระดับฟุตบอลลีกของอังกฤษ ที่แฟนบอลถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันเป็นเจ้าของสโมสรผ่านกองทุนรวมผู้สนับสนุนสโมสร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสโมสรฟุตบอลเอ็กซิเตอร์ซิตี · ดูเพิ่มเติม »

สเตฟัน เลอเวน

ลล์ สเตฟัน เลอเวน (Kjell Stefan Löfven) เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 เป็นนายกรัฐมนตรีสวีเดนคนปัจจุบัน และเป็นผู้นำพรรภสังคมประชาธิปไตยสวีเดนตั้งแต่ปี 2002.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและสเตฟัน เลอเวน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี

หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี ประสูติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2453 เป็นโอรสลำดับที่สามใน พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ กับ หม่อมพัฒน์ (คุณพัฒน์ บุนนาค บุตรีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ และท่านผู้หญิงเปลี่ยน) ทรงมีบุตรชายคนโตคือ หม่อมราชวงศ์แซมแจ่มจรัส รัชนี หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ทรงจบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงรับราชการกระทรวงการคลัง และทรงมีความรอบรู้ทั้งด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทรงเป็นอาจารย์พิเศษประจำคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร หม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์มีความสามารถในด้านกวี ใช้นามปากกาว่า ". ณ. ประมวญมารค" ทรงได้รับการยกย่องเปรียบเทียบกับกวีร่วมสมัย คือ อังคาร กัลยาณพงศ์ โดยเรียกหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ว่า "ท่านจันทร์" และเรียกอังคาร กัลยาณพงศ์ ล้อว่า "ท่านอังคาร" เพื่อให้คล้องจองกัน ทรงสนิทสนมคุ้นเคยกับกลุ่มศิลปินและนักเขียน เช่น เฟื้อ หริพิทักษ์, รงค์ วงษ์สวรรค์, สุวรรณี สุคนธา, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, ประหยัด พงษ์ดำ, สาโรจน์ จารักษ์ โดยมักพบปะสังสรรค์กันที่ร้านอาหารมิ่งหลี ใกล้มหาวิทยาลัยศิลปากร ครั้งหนึ่งเคยมีผู้บันทึกว่า ทรงเล่นโคลงสดกับอังคาร กัลยาณพงศ์ ความว่า http://www.arunsawat.com/board/index.php?topic.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและหม่อมเจ้าจันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

หยกลายเมฆ

หยกลายเมฆ เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดย โสภี พรรณราย (สุรภี โพธิสมภรณ์) นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สร้างโดย บริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด บทโทรทัศน์โดย วิสุทธิชัย บุณยะกาญจน กำกับการแสดงโดย โชติรัตน์ รักเริ่มวงษ์ และออกอากาศครั้งแรกในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552–21 กรกฎาคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและหยกลายเมฆ · ดูเพิ่มเติม »

อกุสต้าเวสท์แลนด์ อาพาชี่

อกุสต้าเวสท์แลนด์ อาพาชี่ (AgustaWestland Apache) เป็นเฮลิคอปเตอร์โจมตีเอเอช-64ดี อาพาชี่ลองโบว์ของโบอิงที่ผลิตขึ้นมาภายใต้ใบอนุญาตให้กับกองทัพบกอังกฤษ เฮลิคอปเตอร์แปดลำแรกถูกสร้างขึ้นโดบโบอิง อีก 59 ลำที่เหลือประกอบโดยเวสท์แลนด์ เฮลิคอปเตอร์ (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอกุสต้าเวสท์แลนด์) โดยใช้ส่วนประกอบจากโบอิง สิ่งที่มันมีแตกต่างจากเอเอช-64ดีคือเครื่องยนต์โรลส์รอยซ์ ระบบอิเลคทรอนิกป้องกันแบบใหม่ และกลไลใบพัดที่ททำให้รุ่นนี้สามารถทำหน้าที่ได้จากบนเรือ เฮลิคอปเตอร์รุ่นนี้ได้รับชื่อว่า"ดับบลิวเอเอช-64" ที่ตั้งโดยเวสท์แลดน์ เฮลิคอปเตอร์ มันใช้อีกชื่อหนึ่งว่า"อาพาชี่ เอเอช มาร์ค1" (Apache AH Mk 1) หรือ"อาพาชี่ เอเอช1" โดยกระทรวงกลาโหมของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอกุสต้าเวสท์แลนด์ อาพาชี่ · ดูเพิ่มเติม »

อัศนี พลจันทร

อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอัศนี พลจันทร · ดูเพิ่มเติม »

อันดรีย์ โวโรนิน

อันดรีย์ โวโรนิน อันดรีย์ โวโรนิน (Andriy Voronin) เกิดเมื่อ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1979 เป็นนักฟุตบอลชาวยูเครน อดีตต้นสังกัดชอร์โนโมเรตส์โอเดซา, โบรุสเซียเมินเชนกลัดบัค, ไมนซ์ 05, เคิล์น (โคโลญ), ไบเออร์ 04 เลเวอร์คูเซิน และลิเวอร์พูล ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลไดนาโมมอสโก หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวยูเครน หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดโอเดสซา.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอันดรีย์ โวโรนิน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ชาร์ลอต เฮ็ดวิก ฟรานซิสก้า โจเซฟ่า มาเรีย แอนโตเนีย โรเบิร์ตต้า อ๊อตโตเนีย ปีอา แอนนา อิกเนเชีย; Charlotte Hedwig Franzisca Josepha Maria Antonia Roberta Ottonia Pia Ignatia von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี (Her Imperial and Royal Highness Archduchess Charlotte, The Princess Imperial of Austria, and the Princess Royal of Hungary).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจ ชนะวงศ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อำนาจ ชนะวงศ์ เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมั.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอำนาจ ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อิฟไอบีลีฟ

อิฟไอบีลีฟเป็นอัลบั้มที่ 4 ของไม คุรากิ ออกจำหน่ายวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 โดยในอัลบั้นนี้ได้มีการร้องเพลงร่วมกันกับสเตฟานี ซุนหรือเรียกอีกชื่อว่า ซุน ยาง ซีในเพลงสุดท้ายของอัลบั้มที่มีชื่อว่า ทูไนท์, ไอ ฟีล โครช ทู ยู (Tonight, I feel close to you) อัลบั้มนี้มีรหัสซีดีคือ GZCA-5031.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอิฟไอบีลีฟ · ดูเพิ่มเติม »

อุลตร้าแมน VS มาสค์ไรเดอร์

อุลตร้าแมน VS มาสค์ไรเดอร์ เป็นภาพยนตร์วีดีโอโทคุซัทสึ ซึ่งนำฮีโร่ญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงอย่างมาสค์ไรเดอร์ และ อุลตร้าแมนปรากฏตัว ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1993 โดยผู้สร้างคือซึบูราญะโปรดักชั่นและโตเอ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอุลตร้าแมน VS มาสค์ไรเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อซูม่าห์ เนลสัน

อซูม่าห์ เนลสัน (Azumah Nelson) อดีตยอดนักมวยอีกคนหนึ่งของทวีปแอฟริกาในช่วงต้นทศวรรษที่ 90 เกิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน ค.ศ. 1958 ที่กรุงอักกรา ประเทศกานา เนลสันเริ่มต้นชกมวยในปี ค.ศ. 1979 ทำสถิติชนะรวด 13 ครั้ง ก่อนจะขึ้นชิงตำแหน่งแชมป์โลกในรุ่นเฟเธอร์เวท WBC กับยอดนักมวยชาวเม็กซิกัน ซาลวาดอร์ ซานเชส ซึ่งในการชกเนลสันสามารถทำคะแนนได้ดีกว่าซานเชสมาตลอด จนกระทั่งถึงยก 15 ยกสุดท้าย ซานเชสฮึดขึ้นมาและเป็นฝ่ายเอาชนะน็อกเนลสันไปได้ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1982 ที่นิวยอร์ก ซึ่งนั่นเป็นการชกมวยครั้งสุดท้ายในชีวิตของซานเชสก่อนจะเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ในต่อมาอีกไม่นาน ด้วยอายุเพียงแค่ 23 ปี จากนั้นเนลสันทำฟอร์มชนะรวดอีก 6 ครั้ง จึงได้ขึ้นแชมป์โลกอีกครั้งในรุ่นเดิม สถาบันเดิม กับ วิลเฟรโด โกเมซ นักมวยชาวเปอร์โตริกัน เจ้าของตำแหน่งเดิม คราวนี้เนลสันสามารถเอาชนะน็อกยก 11 โกเมซไปได้ถึงถิ่นของโกเมซได้ จากนั้นก็สามารถป้องกันตำแหน่งเอาไว้ได้ถึง 11 ครั้ง ก่อนที่จะสละตำแหน่งก้าวขึ้นไปชิงแชมป์โลกในรุ่นไลท์เวทพร้อมกันถึง 2 สถาบัน คือ WBC และ IBF กับเจ้าของตำแหน่งชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นนักมวยฟอร์มชกด้วยยากมาก คือ เพอร์เนล วิเธเกอร์ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 ที่ลาสเวกัส ผลปรากฏว่าเนลสันเป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยกไป จากนั้นเนลสันจึงลดรุ่นมาชกชิงแชมป์โลกในรุ่นซูเปอร์เฟเธอร์เวท WBC แทน กับ ฮวน ลาปอร์เต้ นักมวยชาวเปอร์โตริกัน ในวันที่ 13 ตุลาคม ปีเดียวกันแทน และเป็นฝ่ายเอาชนะคะแนนไปได้ กลายเป็นแชมป์โลกซูเปอร์เฟเธอร์เวท WBC คนใหม่ จากนั้นเนลสันได้ชกนอกรอบอีกครั้ง ก่อนจะป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกกับ เจฟฟ์ เฟเนค นักมวยชาวออสเตรเลียนจอมบุกตะลุย ซึ่งเคยเป็นแชมป์โลกแบนตั้มเวท IBF และ แชมป์โลกซูเปอร์แบนตั้มเวท WBC และ แชมป์โลกเฟเธอร์เวท WBC มาก่อน ที่กำลังไล่ล่าตำแหน่งแชมป์โลกรุ่นที่ 4 อยู่ ทั้งคู่ชกกันที่ลาสเวกัส ผลปรากฏว่าเสมอกัน โดยที่หลายฝ่ายเห็นว่าเฟเนคน่าจะเป็นฝ่ายชนะมากกว่า จึงได้มีโอกาสล้างตากันอีกครั้ง ในปีถัดมา ถึงถิ่นออสเตรเลียประเมศของเฟเนคเอง คราวนี้เนลสันสามารถเอาชนะที.เค.โอ.เฟเนคไปได้ในยกที่ 8 ซึ่งตลอดชีวิตการชกมวยของเฟเนคไม่เคยพ่ายแพ้อย่างหมดรูปแบบนี้มาก่อน จากนั้นเนลสันได้ป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกอีก 2 ครั้ง ชนะ คัลวิน โกร๊ฟ นักมวยชาวอเมริกันอดีตแชมป์โลกเฟเธอร์เวท WBC ผู้เคยเอาชนะเฟเนคได้ และ กาเบรียล รูเอลาส นักมวยชาวเม็กซิกัน ก่อนจะมาเสมออย่างชนิดน่าแพ้อีกครั้งกับ เจสซี่ เจมส์ ไลฮ่า นักมวยชาวอเมริกันเชื้อสายเม็กซิกัน ในวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 1993 ที่เท็กซัส ต่อมาเนลสันได้พบกับไลฮ่าอีกครั้ง คราวนี้เนลสันเป็นฝ่ายแชมป์โลกเมื่อแพ้คะแนน 12 ยก ต่อมาในปี ค.ศ. 1995 ไลฮ่าได้เสียแชมป์โลกให้กับ กาเบรียล รูเอลาส อดีตคู่ปรับเก่าของเนลสันที่เนลสันเคยเอาชนะมาได้ เนลสันขึ้นชิงแชมป์โลกกับรูเอลาส คราวนี้เนลสันก็เป็นฝ่ายย้ำแค้นเอาชนะน็อกยก 5 รูเอลาสไปได้ ได้เป็นแชมป์โลกอีกครั้ง เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1996 จากนั้นเนลสันก็ป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกเอาชนะน็อกยก 6 เจสซี่ เจมส์ ไลฮ่า อดีตคู่ปรับเก่าที่เคยเอาชนะเนลสันไปได้ เนลสันมาเสียแชมป์โลกครั้งสุดท้ายเมื่อเป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยก แก่ เจนาโร่ เฮอร์นันเดซ นักมวยเชิงสูงชาวอเมริกันเชื้อสายเม็กซิกัน ในปี ค.ศ. 1997 ซึ่งเฮอร์นันเดซนั้นเคยเป็นแชมป์โลกในรุ่นเดียวกันนี้ของ WBA มาก่อนด้วย จากนั้นในปีต่อมา เนลสันได้ขึ้นชกมวยเป็นครั้งสุดท้ายก่อนจะแขวนนวมและเป็นฝ่ายแพ้คะแนน 12 ยก แก่ เจสซี่ เจมส์ ไลฮ่า อดีตคู่ปรับเก่าอีกครั้ง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2008 เนลสันกลับขึ้นมาชกมวยอีกครั้งเป็นนัดพิเศษกับ เจฟฟ์ เฟเนค ซึ่งเคยเป็นคู่ปรับเก่าอีกคนที่ไม่เคยเอาชนะเนลสันได้เลย เนื่องจากเฟเนคนั้นแรกเริ่มเลือกเอา สามารถ พยัคฆ์อรุณ เป็นคู่ชกด้วย แต่สามารถปฏิเสธ จึงเลือกเลสันเป็นคู่ชกด้วย ซึ่งเนลสันในวัยถึง 50 ปีแล้วก็เป็นฝ่ายแพ้คะแนน 10 ยกไป ที่เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย อซูม่าห์ เนลสัน จัดได้ว่าเป็นนักมวยขวัญใจชาวแอฟริกันอย่างแท้จริง เนื่องจากเป็นนักมวยมีชื่อเสียงและมีฝีมือระดับโลก ได้ชกกับยอดนักมวยระดับโลกหลายคน และเป็นฝ่ายสามารถเอาชนะไปได้ในหลายหน เนลสันเป็นนักมวยรูปร่างเล็ก แต่สามารถชกได้ตลอด และสามารถหาจังหวะน็อกได้อยู่เสมอ แม้จะมีอายุมากแล้ว จนได้ฉายาว่า "The Professor" ปัจจุบัน เนลสันได้ตั้งมูลนิธิเพื่อการสาธารณกุศลขึ้นมา โดยมีจุดมุ่งหมายให้เด็กชาวแอฟริกันที่ยากจนทั้งหลาย ได้มีโอกาสในชีวิต โดยฝึกหัดให้เล่นกีฬาชนิดต่าง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอซูม่าห์ เนลสัน · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์

อนุสาวรีย์ภายในพระราชวังบางปะอิน มี 2 แห่ง ได้แก่ อนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธำรง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและอนุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ และ อนุสาวรีย์ราชานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมักซิมิอานุส

ักรพรรดิมักซิมิอานุส ประสูติเมื่อค.ศ. 250 ครองราชย์ร่วมกับจักรพรรดิไดโอคลีเชียนแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันออกเมื่อปี ค.ศ. 305 ขณะพระชนม์ได้ 55 พรรษา หลังจากครองราชย์ร่วมกันได้เพียง 2 ปี จักรพรรดิไดโอคลีเชียนก็สวรรคตในปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจักรพรรดิมักซิมิอานุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส

ักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส (Manuel II Palaiologos; Μανουήλ Β΄ Παλαιολόγος) (27 มิถุนายน ค.ศ. 1350 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1425) มานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์พาลาโอโลกอส ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 1391 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1425 โดยมีพระราชโอรสจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอสเป็นผู้ครองราชย์ต่อมา มานูเอลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1350 เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในจักรพรรดิจอห์นที่ 5 พาลาโอโลกอสและเฮเลนา คานทาคูเซเน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจักรพรรดิมานูเอลที่ 2 พาลาโอโลกอส · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิถังเกาจง

มเด็จพระจักรพรรดิเกาจง (ค.ศ. 649-683, พ.ศ. 1192-1226) จักรพรรดิองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ถัง ประสูติเมื่อปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจักรพรรดิถังเกาจง · ดูเพิ่มเติม »

จักรราศี

รื่องหมายจักรราศีของโหราศาสตร์สากลราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 แกะจากแม่พิมพ์ไม้ ภาพสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ในจอร์เจียเป็นรูปจักรราศีที่มีพระเยซูอยู่ตรงกลาง เครื่องหมายจักรราศีที่ใช้ในโหราศาสตร์สากลในปัจจุบัน จักรราศี (zodiac มาจากภาษากรีก ζῳδιακός หมายถึง "สัตว์") เป็นแถบสมมติบนท้องฟ้าที่มีขอบเขตประมาณ 8 องศา ค่อนไปทางเหนือและใต้ของแนวเส้นทางที่ดวงอาทิตย์ปรากฏเคลื่อนผ่าน (สุริยวิถี) ซึ่งครอบคลุมแนวเส้นทางปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาลอีก 7 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ส่วนดาวพลูโตนั้น ความเอียงของวงโคจรมีค่ามาก ดาวพลูโตจึงมีเส้นทางปรากฏห่างจากสุริยวิถี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจักรราศี · ดูเพิ่มเติม »

จัสติน บาร์ธา

ัสติน ลี บาร์ธา เกิดเมื่อวันที่ เกิด 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน จบการศึกษาจากรร.มัธยมเวสต์บลูมฟิลดิ์ ปี..1996 และเรียนการแสดงที่ Tisch School of the Arts มหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ปัจจุบัน เป็นเพื่อนชายของแอชลีย์ โอลเซน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจัสติน บาร์ธา · ดูเพิ่มเติม »

จามอง ยอดหญิงผู้พิทักษ์แผ่นดิน

จามอง ยอดหญิงผู้พิทักษ์แผ่นดิน (자명고,Princess Ja Myung-Go) เป็นละครซีรีส์เกาหลีที่ออก อากาศทางสถานีโทรทัศน์ SBS เมื่อวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 2009 และได้ออกอากาศตอนสุดท้ายเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 นำแสดงโดย จัง เรียววอน โดยเนื้อเรื่องของละครเรื่องนี้สร้างจากเรื่องจริงที่ได้บันทึกเอาไว้ใน พงศาวดารเกาหลี ในช่วงที่กล่าวถึงสงครามระหว่าง โกคูรยอ และ อาณาจักรนังนัง และได้กล่าวถึงความรักระหว่าง องค์ชายโฮดง พระราชโอรสใน พระเจ้าแดมูซินแห่งโกคูรยอ และ องค์หญิงจามอง แห่ง อาณาจักรนังนัง หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์เกาหลีใต้.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจามอง ยอดหญิงผู้พิทักษ์แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

จิ่ง เถียน

ง เถียน (ชื่อภาษาอังกฤษ: Jing Tian) นางเอกสาวชาวจีนจากเรื่อง วิ่งสู้ฟัด 2013 เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2532 ที่ซีอาน ประเทศจีน จบการศึกษาจาก Beijing Dance Academy และ Beijing Film Academy.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจิ่ง เถียน · ดูเพิ่มเติม »

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและจี7 · ดูเพิ่มเติม »

ธนา ลิมปยารยะ

นา ลิมปยารยะ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 มีส่วนสูง 180 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 68 กิโลกรัม มีพี่ชาย 1 คน และพี่สาว 1 คน เป็นอดีตสมาชิกวงไนซ์ ทู มีท ยู แล้วมาเป็นศิลปินเดี่ยว ในค่ายอาร์เอส และหมดสัญญาแล้ว ปัจจุบันเป็น นักร้องเดี่ยวค่าย บีอีซี-เทโร มิวสิค และ นักธุรกิจเจ้าของแบรนด์ AMADO.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและธนา ลิมปยารยะ · ดูเพิ่มเติม »

ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี

ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498) ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการWorld Wide Web Consortium (ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ) นักวิจัยอาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์ (3Com Founders Chair) ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอที (CSAIL).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและทิม เบอร์เนิร์ส-ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดิสอิสเดอะวัน

อิสเดอะวัน (This Is the One) คือสตูดิโออัลบั้มภาษาอังกฤษลำดับที่ 3 ของอุทาดะ นักร้อง-นักแต่งเพลงแนวป็อป ชาวญี่ปุ่นที่เติบโตในอเมริกัน จนกระทั่ง 10 ขวบ จึงย้ายกลับญี่ปุ่น ทำให้เธอมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษดีมาก อัลบั้มในตอนแรกจะวางจำหน่ายในญี่ปุ่นวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2552 แต่ก็ได้เลื่อนมาเป็นวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2552 ใส่วนนประเทศไทยได้วางจำหน่ายวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2552 ในญี่ปุ่นดิสอิสเดอะวัน ขึ้นไปในอันดับหนึ่งในชาร์ตอัลบั้มสากลของ Oricon และในสหรัฐอเมริกาก็ได้ขึ้นไปอยู่ที่อันดับ 69 ในชาร์ตบิลบอร์ด 200.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและดิสอิสเดอะวัน · ดูเพิ่มเติม »

ดิจิมอนแอดเวนเจอร์

มอนแอดเวนเจอร์ เป็นภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์จากประเทศญี่ปุ่น ในชุดภาพยนตร์การ์ตูนโทรทัศน์ดิจิตอลมอนสเตอร์ ออกอากาศครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อเมื่อ มีนาคม พ.ศ. 2542 ดิจิมอนแอดเวนเจอร์เป็นภาคแรก ซึ่งมีภาคต่อมาคือ ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ 02 ดิจิมอนเทมเมอร์ ดิจิมอนฟรอนเทียร์, ดิจิมอนเซฟเวอร์ส และ ดิจิมอนครอสวอร์ส แล้วในงานฉลองครบรอบ 15 ปี ดิจิมอน ในวันที่ 1 สิงหาคม 2557 ทางญี่ปุ่นได้ประกาศว่า ดิจิมอนแอดเวนเจอร์ ไทร จะฉายช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี 2558.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและดิจิมอนแอดเวนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิตธานี

มืองดุสิตธานี ดุสิตธานี เป็นเมืองจำลองรูปแบบระบอบประชาธิปไตย ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 บริเวณพระราชวังพญาไท ดุสิตธานีเป็นเมืองเล็ก ๆ มีเนื้อที่ 3 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณรอบพระที่นั่งอุดร ในพระราชวังดุสิต มีลักษณะเป็นเมืองเล็ก ๆ คล้ายเมืองตุ๊กตา มีขนาดพื้นที่ 1 ใน 20 เท่าของเมืองจริง ประกอบด้วย พระราชวัง ศาลารัฐบาล วัดวาอาราม สถานที่ราชการ โรงทหาร โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาดร้านค้า ธนาคาร โรงละคร ประมาณเกือบสองร้อยหลัง เพื่อเป็นแบบทดลองของการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยโปรดให้มีพระธรรมนูญการปกครองลักษณะนัคราภิบาล ซึ่งเปรียบลักษณะของเมือง มีพรรคการเมือง 2 พรรค การเลืองตั้งนัคราภิบาล หรือนายกเทศมนตรี(ตำแหน่งนี้ปัจจุบันเปรียบได้กับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน) และมีสภาการเมือง(หรือรัฐสภาในปัจจุบัน)แบบระบอบประชาธิปไตย ต่อมาดุสิตธานีได้โตขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่มีที่จะสร้างบ้านเรือน พอดีกับเวลาที่จะสร้างพระราชฐานใหม่ที่พระราชวังพญาไทจึงได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองทั้งเมืองไปตั้งที่บริเวณพระราชวังพญาไท เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2462 ในจำนวนบ้านเล็ก ๆ นั้น มีศาลาว่าการมณฑลดุสิตธานี(ปัจจุบันเทียบเท่ากับศาลากลางจังหวัด)และมีนาคาศาลา(เทียบได้กับศาลากลางบ้านหรือศาลากลางชุมชน) ซึ่งมีความหมายว่า ศาลาของประชาชน เท่ากับว่าเป็นที่ตั้งสภาจังหวัด รัชกาลที่ 6 ทรงเป็นนาคาแห่งดุสิตธานีผู้หนึ่ง ทรงใช้พระนามแฝงว่า นายราม ณ กรุงเทพ ทรงเป็นทนายและทรงเป็นมรรคนายกวัดพระบรมธาตุ ทรงเป็นพระราชมุนี เจ้าอาวาสวัดธรรมธิปไตย และทรงแสดงพระธรรมเทศนาจริง ๆ ด้วย นอกจากนี้ทรงให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกรณีพิพาทเรื่องที่ดิน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและดุสิตธานี · ดูเพิ่มเติม »

ครอสส์เลิฟ

"Cross Love" (ครอสส์เลิฟ) เป็นเพลงประกอบละครโทรทัศน์ซีรีส์เรื่อง ไรซิงซัน ของสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยจากค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ประพันธ์เนื้อร้องโดย ณรงค์วิทย์ เตชะธนะวัฒน์ ประพันธ์คำร้องญี่ปุ่นโดย วชิระกฤช พุกพบสุข และแต่งทำนองโดย จักรกฤษณ์ มัฆนาโส โดยแต่ละเรื่องเพลงนี้จะมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและครอสส์เลิฟ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1820

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคริสต์ทศวรรษ 1820 · ดูเพิ่มเติม »

ความจริงวันนี้

วามจริงวันนี้ (Truth Today หรือ Today Fact) เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทความเห็นทางการเมืองของประเทศไทย ที่ออกอากาศในระหว่างวันที่ 21 กรกฎาคม-10 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.15-23.00 น. และวันอาทิตย์ เวลา 22.00-23.00 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) ผลิตรายการโดย บริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด มีนายวีระ มุสิกพงศ์ เป็นผู้ดำเนินรายการ ร่วมด้วย นายจตุพร พรหมพันธุ์ และ นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ เป็นผู้ร่วมรายการ ต่อมารายการได้กลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาธิปไตย (ดี-สเตชัน) โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2552 ซึ่งในช่วงนี้ ได้มีพิธีกรเสริมทดแทน กรณีที่พิธีกรชุดเดิมคนใดคนหนึ่ง ไม่สามารถมาดำเนินรายการได้ อีก 3 คน คือ นายก่อแก้ว พิกุลทอง, นายสมหวัง อัสราษี และนางสาวนารีรัตน์ นานเนิ้น แต่เนื่องจาก ดี-สเตชัน ถูกสั่งระงับออกอากาศ รายการจึงจำเป็นต้องยุติไปอีกครั้ง แต่ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552 นายณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ กล่าวบนเวทีปราศรัยของกลุ่มคนเสื้อแดงในงานแดงทั้งแผ่นดินสัญจรว่ารายการจะกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ทางสถานีประชาชน (พีเพิลแชแนล) ฉายอีกครั้งวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและความจริงวันนี้ · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ (อาจยกเว้นประเทศเจ้าภาพที่สามารถมีผู้เข้าแข่งขันเกิน 4 คนได้) แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คิกออฟ

กออฟ เป็นหนังสือพิมพ์รายวันในประเทศไทย นำเสนอข่าวกีฬาต่างประเทศ และในประเทศ ตลอดจนข้อมูลอัตราต่อรองการแข่งขันกีฬาทั่วโลก จากบริษัทรับพนันระดับโลกหลายแห่งด้ว.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคิกออฟ · ดูเพิ่มเติม »

คีย์ (บริษัท)

ีย์ เป็นบริษัทผลิตเกมคอมพิวเตอร์ ประเภทวิชวลโนเวล ก่อตั้งเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ภายใต้แบนด์ วิชวลอาร์ท ใน โอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคีย์ (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Nurse, University of Phayao) เป็นหน่วยงานวิชาการในกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัยพะเยา ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Nursing, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ด้วยความตระหนักถึงปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทางการพยาบาลของประเทศ คณะพยาบาลศาสตร์จึงได้ก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อ พ.ศ. 2514 และเป็นคณะพยาบาลศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 06.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ

ณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ (ชื่อย่อ: คนร.) คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ตาม คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 75/2557 เนื่องจากเพื่อให้การกำกับดูแลและติดตามผลการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจทั้งระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็นเอกภาพ สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนเข้าร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของรัฐและประชาชนเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะกรรมการนโยบายและกำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Management and Information Science, University of Phayao) จัดตั้งขึ้นเป็นคณะวิชาลำดับที่ 12 ของมหาวิทยาลัยพะเยา เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 จัดการเรียนการสอนในกลุ่มวิชาทางด้านการจัดการและบริหารธุรกิจ รวมถึงด้านนิเทศศาสตร์ ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา(School of Science, University of Phayao) เป็นหนึ่งในหน่วยงานด้านวิชาการ ระดับคณะวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยพะเยา เปิดทำการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับอุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ โดยแรกเริ่มอยู่ในฐานะกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเท.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Medical Sciences, University of Phayao) เดิมคือ สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ก่อตั้งเมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เมื่อมหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยพะเยา สำนักวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงได้เปลี่ยนเป็นคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Liberal Arts, University of Phayao) เป็นคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยพะเยา เปิดทำการสอนในด้านศิลปศาสตร์ เดิมเป็นสำนักวิชาในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา ต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นคณะในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Allied Health Sciences, University of Phayao) เป็นหน่วยงานวิชาการระดับคณะวิชา ของมหาวิทยาลัยพะเยา ทำการจัดการศึกษาด้านเทคนิคการแพทย์และกายภาพบำบั.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา

ณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา (School of Agriculture and Natural Resources, University of Phayao) เป็นหน่วยงานวิชาการระดับคณะวิชาแรกของมหาวิทยาลัยพะเยา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นหน่วยงานที่นำองค์ความรู้ นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการเกษตร มาผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรให้เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคมในเขตภาคเหนือตอนบน ช่วยสกัดกั้นและลดค่าใช้จ่ายของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาในภูมิภาคเหนือตอนบนที่ประสงค์จะเข้าศึกษาในสาขาวิชาด้านเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ โดยไม่ต้องเข้าไปศึกษาในมหาวิทยาลัยส่วนกลางหรือภูมิภาคอื่น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Associated Medical Science, Khon Kaen University) เป็นส่วนราชการไทยระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 8 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (วันประกาศใช้ในพระราชกิจจานุเบกษาพร้อมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) เป็นคณะเทคนิคการแพทย์แห่งแรกและแห่งเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รหัสหน่วยงานในระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 09.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

คดีปริศนาเส้นตายสู่สวรรค์

ีปริศนาเส้นตายสู่สวรรค์; (Countdown to Heaven) เป็นตอนพิเศษของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยอดนักสืบจิ๋ว โคนัน ตอนที่ 5 ในประเทศไทยออกอากาศทางฟรีทีวีทางโมเดิร์นไนน์ ทีวี ในวันหยุดนักขัตฤกษ์ 2 ครั้ง ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2547 เวลา 08.00-10.00 น. และวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เวลา 08.00-10.00 น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและคดีปริศนาเส้นตายสู่สวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ตอบยังไง

"ตอบยังไง" เป็นซิงเกิลของนักร้อง ปองกูล สืบเชื้อ ประพันธ์เนื้อร้อง-แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย แทน วงลิปตา ออกจำหน่ายในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2556 เนื้อหาของเพลงพูดถึงความรู้สึกกระอักกระอ่วน ของคนที่ได้เจอกับคนรักเก่าในวันที่เค้ามี­คนใหม่แล้ว พอเค้าทักทายและถามว่าสบายดีไหม เรากลับอึกอักตอบไม่ถูก ถึงแม้จะมีคำตอบอยู่ในใจ แต่ก็พูดออกไปไม่ได้อย่างที่ใจคิด ซึ่งเป็นเพลงที่น่าจะโดนใจใครหลายคนที่ยัง­ไม่ลืมความรักครั้งเก.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและตอบยังไง · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์ฟิโอดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย

ฟิโอดอร์ที่ 3 อะเลคเซเยวิช (Фёдор III Алексеевич,9 มิถุนายน พ.ศ. 2204 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225) เป็นพระราชโอรสในซาร์อะเลคเซย์ที่ 1 แห่งรัสเซีย ที่ประสูติจากพระมเหสีองค์แรกเสด็จขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดาเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2219 ขณะพระชนม์เพียง 14 พรรษาแต่เนื่องจากพระพลานามัยไม่แข็งแรงและทรงพิการมาแต่ทรงพระเยาว์จึงทำให้ทรงบริหารราชการแผ่นดินได้ไม่สะดวกและในวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1681 พระมเหสีองค์แรกมีพระประสูติกาลพระราชโอรสองค์แรกและองค์เดียวแต่หลังจากนั้น 3 วัน พระมเหสีก็สิ้นพระชนม์และในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2224 พระราชโอรสพระองค์เดียวของพระองค์ก็สิ้นพระชนม์ตามกันไปอีกพระองค์สวรรคตในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2225 ขณะพระชนม์เพียง 20 พรรษาสวรรคตโดยไร้รัชทายาท ราชสมบัติจึงตกแก่พระราชอนุชา 2 พระองค์คือ เจ้าชายอีวาน และ เจ้าชายปีเตอร์ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2204 หมวดหมู่:ราชวงศ์โรมานอฟ หมวดหมู่:ซาร์แห่งรัสเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากมอสโก หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์ขณะทรงพระเยาว์ในสมัยใหม่.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและซาร์ฟิโอดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์มีไฮล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย

ภาพวาดขณะไมเคิลขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซาร์ในปี พ.ศ. 2156 ขณะพระชนม์เพียง 16 พรรษา มีไฮล์ โรมานอฟ (Міхаіл Фёдаравіч, 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2139 - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2188) เป็นซาร์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์โรมานอฟของราชอาณาจักรรัสเซีย (ซึ่งในขณะนั้นประเทศรัสเซียยังคงเป็นราชอาณาจักรรัสเซีย ก่อนที่ซาร์ปีเตอร์ที่ 1 หรือซาร์ปีเตอร์มหาราช จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจากระบอบกษัตริย์เป็นระบอบจักรพรรดิ และเปลี่ยนชื่อประเทศจากราชอาณาจักรรัสเซียเป็นจักรวรรดิรัสเซียแทน) หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2139 หมวดหมู่:ซาร์แห่งรัสเซีย.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและซาร์มีไฮล์ที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์ด

ซาร์ด เป็นกลุ่มนักร้องเจ-ป็อปที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534 ในสังกัดค่ายเพลง บี-แกรมเรคอร์ด เดิมประกอบด้วยสมาชิก 5 คน นำโดยนักร้องอิซุมิ ซะกะอิ ซึ่งเธอเป็นสมาชิกคนเดียวในกลุ่มที่ยังคงอยู่ในวงตั้งแต่เริ่มก่อตั้งและเป็นผู้แต่งเพลงทั้งหมดให้กับวงซาร์ด รวมถึงวงอื่น ๆ ด้วย ในขณะที่สมาชิกอื่นเปลี่ยนตัวตลอดเวลา และหลังจากอัลบั้มโฮลด์มี (HOLD ME) ออกจำหน่าย สมาชิกทั้งหมดก็ออกจากวงไป ทำให้เมื่อกล่าวถึงซาร์ด ก็มักจะหมายถึงอิซุมิ ในขณะเดียวกันเมื่อกล่าวถึงอิซุมิ ก็สามารถหมายถึงซาร์ดได้เช่นกัน ซาร์ดมีเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงอยู่หลายเพลง เช่น มะเกะไนเดะ, ยุเระรุโอะโมะอิ (พ.ศ. 2536) และ มายเฟรนด์ (พ.ศ. 2539) ซาร์ดปิดตำนานของวงเนื่องจากการเสียชีวิตของอิซุมิเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 (รวมอายุได้ 40 ปี) จากอุบัติเหตุพลัดตกจากบันไดสูง 3 เมตร ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเคย์โอ อย่างไรก็ดีก็ยังมีการนำเพลงเก่าของซาร์ดทั้งที่เคยอยู่ในอัลบั้มหรือซิ งเกิลเก่า ๆ มาทำใหม่โดยนำนักร้องจากเครือบีอิ้งซึ่งเป็นบริษัทแม่ของบี-แกรมเรคคอร์ด ต้นสังกัดของซาร์ดมาร้องคู่กันหรือเรียบเรียงทำนองใหม่ ทำให้ซาร์ดยังมีผลงานออกมาเรื่อย ๆ โดยในปัจจุบันซาร์ดมี 45 ซิงเกิล และ 17 อัลบั้ม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและซาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ วิโรจนกูฏ

ตราจารย์ ดร.ประกอบ วิโรจนกูฏ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อดีตคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2493.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและประกอบ วิโรจนกูฏ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประทีป กีรติเรขา

นายกองเอก ประทีป กีรติเรขา (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2501) อธิบดีกรมที่ดิน, รองปลัดกระทรวงมหาดไทย, อดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดอุบลราชธานี และอดีตผู้ว่าราชการ จังหวัดศรีสะเกษ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและประทีป กีรติเรขา · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิกร อนุวรรณ

นิกร อนุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย เคยเล่นในระดับไทยพรีเมียร์ลีกให้กับชลบุรี เอฟซี และพัทยา ยูไนเต็ด โดยในสมัยที่ลงเล่นให้กับชลบุรี เอฟซี ได้มีโอกาสลงแข่งขันในรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2008 ปัจจุบันรับหน้าที่เป็นผู้เล่นและผู้ฝึกสอนให้กับนครราชสีมา ห้วยแถลง ยูไนเต็ด ในไทยลีก 4.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและนิกร อนุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

นิธิวัฒน์ ธราธร

นิธิวัฒน์ ธราธร ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอช เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2517.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและนิธิวัฒน์ ธราธร · ดูเพิ่มเติม »

แชด เฮอร์ลีย์

แชด เมเรดิธ เฮอร์ลีย์ (Chad Meredith Hurley) เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1977 ที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา เขาเป็นผู้ก่อตั้งร่วมและอดีตประธานกรรมการบริหารของเว็บไซต์วิดีโอที่รู้จักกันดีคือ ยูทูบ ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแชด เฮอร์ลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

แพ กี-ซ็อก

แพ กี-ซ็อก (Bae Ki-suk., ฮันกึล: 배기석) เกิดเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 ที่เมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใต้ เป็นนักมวยสากลในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) แพเสียชีวิตจากการชกมวย ในการชกชิงแชมป์รุ่นซูเปอร์ฟลายเวทของเกาหลีใต้ที่ว่างกับจิน กี-จุน เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 ที่ย่านเยซาน ชานโซล ด้วยการแพ้ที.เค.โอ.อย่างบอบช้ำในต้นยกที่ 8 หลังจากนั้น เขาถูกหามส่งโรงพยาบาล ที่เมืองแดจอน แต่ทว่าแพทย์สามารถยื้อชีวิตเขาไว้ได้เพียง 4 วันเท่านั้น จากนั้นเขาก็เสียชีวิตด้วยอาการเลือดคั่งในสมอง ในวันที่ 21 กรกฎาคม ด้วยวัยเพียง 23 ปี ครอบครัวของแพค่อนข้างมีปัญหาทางด้านการเงิน เขาเคยทำงานในโรงงานมาก่อน โดยต้องทำต่อเนื่องถึงวันละ 10 ชั่วโมง เพื่อหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว ก่อนที่จะหันมาชกมวย โดยการชกในครั้งนี้เขาตั้งใจว่าจะเป็นการชกครั้งสุดท้ายก่อนที่จะแขวนนวมอย่างเป็นทางการด้วย ซึ่งนับเป็นนักมวยชาวเกาหลีใต้ที่เสียชีวิตจากการชกมวยแล้วรายที่ 3 นับจาก คิม ดุ๊กกู ในปี ค.ศ. 1982 จากการชิงแชมป์โลกรุ่นไลท์เวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) และ โย ซัมชอย ในการชกป้องกันตำแหน่งแชมป์เงารุ่นฟลายเวท ขององค์กรมวยโลก (WBO) ในปี ค.ศ. 2008.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแพ กี-ซ็อก · ดูเพิ่มเติม »

แยกท่าพระ

แยกท่าพระ (Tha Phra Intersection) เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่างถนนเพชรเกษม, ถนนรัชดาภิเษกและถนนจรัญสนิทวงศ์ ในพื้นที่แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร นับเป็นสี่แยกที่มีความสำคัญต่อการจราจรในพื้นที่ฝั่งธนบุรี ถือเป็นจุดเริ่มต้นของถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนรัชดาภิเษก ช่วงรัชดา-ท่าพระ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพฯ อีกทั้งยังเป็นทางแยกแรกของถนนเพชรเกษมจากจุดเริ่มต้นบริเวณสะพานเนาวจำเนียรซึ่งทอดยาวลงสู่ภาคใต้ของไทย นับเป็นบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่นมากอีกแห่งหนึ่งในพื้นที่ฝั่งธนบุรีรองจากวงเวียนใหญ่ แม้ในปัจจุบันจะมีการตัดถนนในพื้นที่ข้างเคียงอีกหลายสาย เช่นถนนราชพฤกษ์ ซึ่งสามารถแบ่งเบาปริมาณการจราจรจากย่านวงเวียนใหญ่เข้าสู่แยกท่าพระได้ในระดับหนึ่ง โดยชื่อ "ท่าพระ" อันทั้งชื่อของแยกและแขวงในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ด้วย นั้นมาจากชื่อของวัดท่าพระ ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงด้านถนนจรัญสนิทวงศ์ เดิมมีชื่อว่า "วัดเกาะ" ต่อมาได้มีการพบหลวงพ่อเกษร อันเป็นประธานในวัดลอยมาติดที่ท่าน้ำ จึงเปลี่ยนชื่อเป็นวัดท่าพระดังเช่นในปัจจุบัน แยกท่าพระเดิมมีสภาพเป็นเพียงสามแยก ต่อมาทางด้านทิศใต้ได้มีการตัดถนนรัชดาภิเษกช่วงรัชดา-ท่าพระ จึงเปลี่ยนมาเป็นสี่แยก กระทั่งปี พ.ศ. 2534 มีการเปิดใช้สะพานลอยข้ามแยกตามแนวถนนเพชรเกษม ทำพิธีเปิดโดย พล.ต.จำลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในขณะนั้น และในปี พ.ศ. 2544 มีการเปิดใช้อุโมงค์ลอดทางแยกตามแนวถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนรัชดาภิเษก นับเป็นอุโมงค์ลอดทางแยกแห่งแรก ๆ ของกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการปิดซ่อมสะพานข้ามแยกระหว่างวันที่ 23 เมษายน ถึงวันที่ 7 กันยายน ซึ่งจากเดิมเปิดวันที่ 21 กรกฎาคม เนื่องจากสะพานตรงกลางแอ่นตัวในฝั่งขาออกและมาเปิดวันที่ 12 สิงหาคม แต่ไม่เสร็จและมาเปิดวันที่ 23 สิงหาคม และไม่เสร็จอีกจึงมาเปิดวันที่ 7 กันยายน นับเป็นสะพานข้ามแยกที่ 9 ที่ทางกรุงเทพมหานครปิดซ่อมและเปิดใช้.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแยกท่าพระ · ดูเพิ่มเติม »

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้อพยพชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรป ในยุค ค.ศ. 1920 ชื่อเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซึ่งตั้งโดยเฮมิงเวย์ตามคำแนะนำของสำนักพิมพ์ นำมาจากพระธรรมปัญญาจารย์ 1:5 ที่มีเนื้อความว่าThe sun also ariseth, and the sun goeth down, and hasteth to his place where he arose. คำแปลพระธรรมปัญญาจารย์ในวิกิซอร์ซ ให้คำแปลของเนื้อความดังกล่าวว่า "ดวงอาทิตย์ขึ้น และดวงอาทิตย์ตก แล้วรีบไปถึงที่ซึ่งขึ้นมานั้น"ซึ่งเป็นคัมภีร์ลำดับที่ 25นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ 21นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโปรเตสแตนต์ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยก่อนหน้านี้เฮมิงเวย์ตั้งชื่อให้กับนวนิยายเรื่องนี้ว่า เฟียสตา (Fiesta) ซึ่งชื่อดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดพิมพ์ในฉบับสหราชอาณาจักร และฉบับภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาอิตาลี และภาษาสเปนของนวนิยายเรื่องนี้.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต

หน้าปกหนังสือ ฉบับสำนักพิมพ์บลูมสบิวรี ปกอังกฤษ(ครึ่ง) หน้าปกหนังสือ ฉบับอเมริกา แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต เป็นหนังสือเล่มที่เจ็ด และเป็นเล่มสุดท้ายในชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ของเจ. เค. โรว์ลิ่ง ฉบับภาษาอังกฤษออกวางจำหน่ายในวันที่ 21 กรกฎาคมพ.ศ. 2550ฉบับภาษาไทยออกจำหน่ายวันที่ 7 ธันวาคมพ.ศ. 2550 ชื่อของหนังสือนั้นประกาศบนเว็บไซต์ของโรว์ลิ่งในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 และหลังจากนั้นบนเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์ โรว์ลิ่งได้กล่าวว่าภาคนี้ ซึ่งถือเป็นภาคสุดท้าย มีความเกี่ยวพันกับภาคที่ผ่านมาสูงมาก "ราวกับว่าเป็นครึ่งหลังของนิยายเล่มเดียวกัน" ก่อนหนังสือจะออก มีการคาดเดาเกี่ยวกับความหมายของชื่อ Deathly Hallows ผู้แต่งได้ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า "การอธิบายความหมายของ Hallows จะเผยเนื้อเรื่องมากเกินไป" และปฏิเสธที่จะตอบคำถาม ก่อนการประกาศชื่อเรื่อง โรว์ลิ่งเคยแถลงว่ามีชื่อเรื่องที่คิดไว้สามชื่อ คือ Harry Potter and the Deathly Hallows,Harry Potter and the Peverell Quest และ Harry Potter and the Elder Wand.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต · ดูเพิ่มเติม »

แจ็คเกอรีน ทีวีพูล

แจ็คเกอรีน ทีวีพูล คือนามแฝงของพัฒนะชัย อดิเรก ซึ่งมีที่มาจากนามปากกา ขณะเป็นคอลัมนิสต์บันเทิงต่างประเทศ ของนิตยสารทีวีพูล ปัจจุบันเป็นโปรดิวเซอร์รายการโทรทัศน์ ผู้สื่อข่าวบันเทิง พิธีกร ดีเจ วีเจ สังกัดบริษัท โน้ต พับลิชชิง จำกัด และบริษัท ไทยทีวี จำกัด ของพันธุ์ทิพา ศกุณต์ไชย มีชื่อเสียงจากผลงาน พิธีกรหลักประจำรายการ ทีวีพูลทูไนต์ ซึ่งเป็นข่าวบันเทิงรายการแรกสุด ของเครือนิตยสารทีวีพูล ที่ยังคงออกอากาศมาจนถึงปัจจุบัน แจ็คเกอรีน เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ที่จังหวัดสุรินทร์ เป็นบุตรคนเล็กในจำนวนพี่น้อง 3 คน สำเร็จปริญญานิเทศศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แจ็คเกอรีน เคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ไทยเรื่อง แฟนเก่า (2552) เป็นผู้สื่อข่าวบันเทิง, ละครโทรทัศน์สองเรื่องคือ สุดหัวใจเจ้าชายเทวดา (2554) เป็นตัวละครชื่อ แจ็คกรีน และเรื่อง น้ำตากามเทพ (2558) เป็นผู้สื่อข่าวบันเทิง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแจ็คเกอรีน ทีวีพูล · ดูเพิ่มเติม »

แคลช

แคลช (Clash) เขียนเป็น CL★SH เป็นวงดนตรีแนวนูเมทัลชาวไทย รวมตัวกันครั้งแรกในชื่อวง ลูซิเฟอร์ เพื่อเข้าประกวดรายการดนตรีฮอตเวฟมิวสิกอวอร์ดส์ครั้งที่ 2 และ 3 แต่ครั้งสมัยศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งในการแข่งขันครั้งที่สามนี้ ลูซิเฟอร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง และได้เซ็นสัญญากับค่ายอัพจี หนึ่งในค่ายเพลงในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ แคลชมีผลงานสตูดิโออัลบั้มกว่า 7 ชุด และยังเข้าร่วมโครงการอัลบั้มพิเศษกับศิลปินในสังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่อื่นๆ นอกจากนี้ยังมีผลงานอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง พันธุ์เอ็กซ์เด็กสุดขั้ว เพลงประกอบละคร เพลงประกอบภาพยนตร์โฆษณา และซิงเกิลพิเศษอีกหลายเพลง และเนื่องจากแบงก์ หนึ่งในสมาชิกของวงมีความสามารถด้านการประพันธ์เพลง ทำให้เขามีโอกาสประพันธ์เพลงให้กับศิลปินอื่นๆอีกหลายเพลง พวกเขายังร่วมกันเปิดร้านอาหารกึ่งผับในชื่อ แคลงก์ และเขียนหนังสือพ็อคเก็ตบุ๊คเล่มแรกที่วางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2551 แคลชได้รับรางวัลการยกย่องเป็นตำนานของเพลงร็อกไทยและได้รับรางวัลจากสื่อมวลชนและรายการรางวัลดนตรีมากมาย และยังได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อาทิ เป็นพรีเซนเตอร์โฆษณารถมอเตอร์ไซค์ โครงการรณรงค์ไนกี้ นอกจากนี้แบงค์ นักร้องนำของวงยังได้รับยกย่องให้เป็น "ลูกยอดกตัญญู" ในงานวันแม่แห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2549 อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2553 วงแคลชได้ออกอัลบั้มชุดที่เจ็ด Nine Miss U 2 ซึ่งในเวลาต่อมาพวกเขาได้แถลงการณ์ยุบวง โดยให้เหตุผลว่าทางสมาชิกมีมุมมองและทิศทางการทำงานที่แตกต่างกันออกไปจึงหันไปทำแนวเพลงที่ต่างชื่นชอบกัน อีกทั้งในเพลง "เพลงสุดท้าย" ทางวงก็ได้เปิดโอกาสให้แฟนเพลงได้ร่วมร้องกว่า 70 คน เมื่อวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแคลช · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โบโน!

น! วงดนตรีแนว เจป๊อป ในสังกัด เฮลโล! โปรเจกต์ คัดเลือกมาจากสามนักร้องสาวใน เฮลโล! โปรเจกต์ คิดส์ สมาชิกประกอบด้วย โมโมโกะ ซึงุนางะ และ มิยาบิ นัทสึยากิ จากวง เบอร์รีซ์โคโบ และ ไอริ ซุสุกิ จากวง °C-ute เปิดตัวเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ในงานเทศกาลนิตยสารนากาโยชิ ซึ่ง ชื่อวง Buono มาจากภาษาอิตาลี แปลว่า อร่อ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโบโน! · ดูเพิ่มเติม »

โฟร์ฮอตเวฟ

"โฟร์ฮอตเวฟ" เป็นซิงเกิลที่ 32 ของคุมิ โคดะ เป็นควอดรุพเพิล เอ ไซด์ซิงเกิล วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เป็นซิงเกิลที่ออกวางจำหน่ายพร้อมกับอัลบั้มภาพ "MOROC" ที่ถ่ายทำกันในประเทศโมร็อกโก ซึ่งมิวสิกวีดีโอทั้งหมดก็ถ่ายที่ประเทศโมร็อกโกด้วย เปิดตัวสัปดาห์แรกในอันดับที่ 2 ของชาร์ตออริกอน ด้วยยอดขาย 207,484 แผ่น ซึ่งเป็นตัวซิงเกิลที่มียอดขายเปิดตัวมากที่สุดของนักร้องหญิงในประเทศญี่ปุ่นของปี พ.ศ. 2549 โดยมียอดขายรวมประมาณ 4 แสนชุด และเป็นซิงเกิลที่มียอดขายมากที่สุดของคุมิ โคดะ มิวสิกวิดีโอในซิงเกิล"โฟร์ฮอตเวฟ" เป็นเรื่องราวต่อเนื่องกันทั้งหมด โดยเริ่มจากเพลง JUICY, With your smile, I'll be there และ 人魚姫.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโฟร์ฮอตเวฟ · ดูเพิ่มเติม »

โรบิน วิลเลียมส์

รบิน แม็กลอริม วิลเลียมส์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1951Sources conflict.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโรบิน วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านคุ้งตะเภา

รงเรียนบ้านคุ้งตะเภา เป็น โรงเรียนประจำหมู่บ้านคุ้งตะเภา ตั้งอยู่ที่ บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนบ้านคุ้งตะเภาเป็นโรงเรียนในกลุ่มคุ้งตะเภา-ถ้ำฉลอง แบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับประถมศึกษา และระดับก่อนประถมศึกษ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโรงเรียนบ้านคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม

รงเรียนวัดสุทธิวราราม (Wat Suthiwararam School) (อักษรย่อ: ส.ธ., ST) เป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ราษฎรสร้างขึ้นแล้วยกให้กระทรวงธรรมการ มีพระราชหัตถเลขาชมเชยให้การสร้างโรงเรียนวัดสุทธิวรารามเป็นแบบอย่างของการบำเพ็ญกุศลที่ต้องด้วยพระราชนิยมเป็นอย่างยิ่ง โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาทรงทำพิธีเปิดเป็นโรงเรียนแรกในรัชกาลวรชาติ มีชูบท, พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าแผ่นดินสยาม, สำนักพิมพ์ สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2552 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยใช้ชื่อพระราชทานจากพระองค์ ว่า โรงเรียนมัธยมพิเศษสุทธิวราราม ปัจจุบันโรงเรียนวัดสุทธิวรารามมีอายุ ปี เปิดทำการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เป็นโรงเรียนชายและเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา ดำเนินนโยบายแผนปฏิบัติการประจำปีสอดคล้องกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร มีอาคารเรียนทั้งหมด 6 หลัง ห้องเรียน 72 ห้อง แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนดังนี้ 12-12-12-12-12-12.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโรงเรียนวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวาสุเทวี

รงเรียนวาสุเทวี เดิมชื่อโรงเรียนพระแม่ฟาติมา ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 มีนายมงคล วังตาล เป็นเจ้าของ เมื่อปี พ.ศ. 2498 ซิสเตอร์บุญประจักษ์ ทรรทรานนท์ อธิการิณีเจ้าคณะแขวงคณะอุร์สุลินแห่งประเทศไทย ได้ซื้อโรงเรียนนี้จากคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วาสุเทวี" โดยคุณครูเฉลา ไทยวัฒน์ ครูภาษาไทยรุ่นแรกของโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยเป็นผู้แปลจากชื่อภาษาลาติน REGINA MUNDI ซึ่งหมายถึง "พระแม่แห่งสากลโลก" นับเป็นชื่อที่มีความหมายตรงตามชื่อเดิมคือ “วาสุ” แปลว่าพื้นดิน “เทวี” แปลว่า ราชินี หมายถึง ราชินีแห่งพื้นพิภพหรือราชินีของโลก เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 ซิสเตอร์บุญประจักษ์ ทรรทรานนท์ ได้โอนโรงเรียนวาสุเทวีให้แก่มูลนิธิคณะอุร์สุลินเพื่อการศึกษาแห่งประเทศไทย โดยมีซิสเตอร์สมจิตร์ ครองบุญศรี ตำแหน่งประธานกรรมการมูลนิธิเป็นผู้รับใบอนุญาต วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2545 เปลี่ยนประธานกรรมการมูลนิธิเป็น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโรงเรียนวาสุเทวี · ดูเพิ่มเติม »

โลวิส โครินธ์

ลวิส โครินธ์ (Lovis Corinth) (21 กรกฎาคม ค.ศ. 1858 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวเยอรมันของการผสานระหว่างอิมเพรสชันนิสม์และลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (expressionism) ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 โครินธ์ศึกษาที่ปารีสและมิวนิค และเข้าเป็นสมาชิกของกลุ่มแยกตัวเบอร์ลิน (Berlin Secession) และต่อมาเป็นประธานของกลุ่มต่อจากแม็กซ์ ลีเบอร์มันน์ งานในช่วงต้นเป็นงานแบบธรรมชาติ และต่อต้านลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ แต่หลังจากที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองในปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโลวิส โครินธ์ · ดูเพิ่มเติม »

โสมส่องแสง

มส่องแสง และ รอยอินทร์ เป็นละครโทรทัศน์แนวแอ็กชั่น-โรแมนติก-ดราม่า บทประพันธ์ของ โรสลาเรน บทโทรทัศน์โดย เอื้องอรุณ สมิตสุวรรณ กำกับการแสดงโดย นพพล โกมารชุน ผลิตโดย บริษัท ยูม่า 99 จำกัด โดย ยุวดี ไทยหิรัญ ออกอากาศทุกวันพุธ–พฤหัสบดี เวลา 20.20 - 21.30 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย ฉัตรชัย เปล่งพานิช, มาช่า วัฒนพานิช, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, ศิริลักษณ์ ผ่องโชค และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มตอนแรกวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2537–21 กรกฎาคม พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโสมส่องแสง · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ในประเทศไทย

ทรทัศน์ในประเทศไทย ออกอากาศทางภาคพื้นดินเป็นช่องทางหลัก โดยแพร่ภาพผ่านคลื่นวิทยุ ซึ่งระยะแรกที่ออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 เริ่มใช้ย่านความถี่สูงมาก (Very High Frequency; VHF) ซึ่งประกอบด้วย ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 2-4 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 5-12 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2538 จึงเริ่มใช้ย่านความถี่สูงยิ่ง (Ultra High Frequency; UHF) คือช่องสัญญาณที่ 26-60 (ช่วงความถี่ต่ำ (low band) คือช่องสัญญาณที่ 26-34 และช่วงความถี่สูง (high band) คือช่องสัญญาณที่ 35-60) ทั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มออกอากาศ จนถึง พ.ศ. 2517 ใช้ระบบสัญญาณแอนะล็อก ในการส่งแพร่ภาพขาวดำ 525 เส้นต่อภาพ 30 ภาพต่อวินาที (National Television System Committee; NTSC) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (Federal Communications Committee; FCC ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเต็มเป็น Federal Communications Commission) ต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จึงเริ่มนำระบบการส่งแพร่ภาพ 625 เส้นต่อภาพ 25 ภาพต่อวินาที (Phase Alternating Line; PAL) ซึ่งกำหนดขึ้นโดย คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติว่าด้วยคลื่นวิทยุ (Consultative Committee on International Radio; CCIR ปัจจุบันคือ ภาควิทยุคมนาคมโดยสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ International Telecommunication Union Radiocommunication Sector; ITU-R) เข้ามาใช้ในประเทศไทย และเริ่มออกอากาศด้วยภาพสี ภายใต้ระบบดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีบริการโทรทัศน์แห่งชาติ ภายใต้กำกับของกรมประชาสัมพันธ์ เริ่มจากส่วนภูมิภาคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 และเริ่มดำเนินการในส่วนกลางตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 จนถึงปัจจุบัน จากนั้นก็เริ่มนำระบบดิจิทัล เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิตรายการ และควบคุมการออกอากาศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 และนำมาใช้กับกระบวนการส่งแพร่ภาพ ผ่านโครงข่ายอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยจะยุติการออกอากาศด้วยสัญญาณแอนะล็อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ส่วนระบบการออกอากาศด้วยช่องทางอื่น ซึ่งนำเข้ามาใช้ในประเทศไทย ประกอบด้วย บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (Multichannel multipoint distribution service; MMDS) ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2556, ผ่านคลื่นวิทยุไมโครเวฟ ระหว่างปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โตโยต้าสเตเดียม

ทะโยะตะสเตเดียม หรือคนไทยรู้จักกันในชื่อ โตโยต้าสเตเดียม (ภาษาญี่ปุ่น:豊田スタジアム) เป็นสนามกีฬาฟุตบอลในประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่เมืองโทะโยะตะ จังหวัดไอชิ มีความจุของสนามทั้งหมด 45,000 ที่นั่ง.ปัจจุบันตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 สนามแห่งนี้เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลนะโงะยะ แกรมปัส สโมสรจากเจลีก และเป็นสนามเหย้าของสโมสร โตโยต้าเวอร์บลิตซ์ สโมสรรักบี้ ในท็อปลีกของประเทศญี่ปุ่น สนามโทโยตะสเตเดียมยังเป็นสนามที่ใช้ในการจัดการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ในแต่ละปี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโตโยต้าสเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

โซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์

ซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ พระราชินีแห่งปรัสเซีย หรือ โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ (Sophia Dorothea of Hanover; 16 มีนาคม ค.ศ. 1687 - 28 มิถุนายน ค.ศ. 1757) เป็นพระราชินีแห่งปรัสเซียประสูติเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1687 ที่ฮาโนเวอร์ เยอรมนี เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และโซเฟีย โดโรเธียแห่งเซลล์ เป็นพระราชินีในพระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมที่ 1 แห่งปรัสเซีย ระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1713 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740 และสิ้นพระชนม์เมื่อ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1757 ที่พระราชวังมอนบิจู เบอร์ลิน เยอรมนี โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์เมื่อทรงพระราชสมภพมีพระนามว่า “ดัชเชสโซเฟีย โดโรเธียแห่งบรันสวิค-ลืนเนอเบิร์ก” เมื่อพระเจ้าฟรีดริช วิลเลียมที่ 1 แห่งปรัสเซียพระสวามีเสด็จสวรรคตพระราชโอรสองค์โตเจ้าชายฟรีดริชก็ขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย โซเฟีย โดโรเธียแห่งฮาโนเวอร์ก็มีพระราชอิสริยศเป็นพระชนนี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและโซฟี โดโรเทอา แห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์

นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตผู้ร่วมก่อตั้งพรรคพลังธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นเลขาธิการสมัชชาประชาชนแห่งประเทศไทย เป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ ปี พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2555

ทยลีกดิวิชั่น 1 ฤดูกาล 2555 หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า "ยามาฮ่า ลีก 1 2012" เป็นการแข่งขันฟุตบอลอาชีพของประเทศไทย โดยเป็นลีกระดับที่สองรองจากไทยพรีเมียร์ลีก มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 18 ทีม โดยหา 3 ทีมเลื่อนชั้นขึ้นไทยพรีเมียร์ลีก และ 5 ทีมตกชั้นลงไปลีกภูมิภาค ดิวิชัน 2.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและไทยลีกดิวิชัน 1 ฤดูกาล 2555 · ดูเพิ่มเติม »

เบลก ลูวิส

ลก เลวิส เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง บีทบ็อกเซอร์ และเป็นผู้เข้าแข่งขันอเมริกันไอดอล ฤดูกาลที่ 6 เป็นรองจอร์ดิน สปาร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเบลก ลูวิส · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนพ้องน้องพี่ (บริษัท)

ริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจสื่อสารมวลชน ก่อตั้งโดย นายวีระ มุสิกพงศ์ และมีกลุ่มเพื่อนของนายวีระร่วมถือหุ้น เพื่อประกอบกิจการต่างๆ คือ สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมพีทีวี (พ.ศ. 2550-2551), นิตยสารข่าว วาไรตี้นิวส์ฉบับมหาประชาชน (พ.ศ. 2550), รายการโทรทัศน์ ความจริงวันนี้-เพื่อนพ้องน้องพี่-มหาประชาชน (พ.ศ. 2551 - 2553) และหนังสือพิมพ์ มหาประชาชนฉบับความจริงวันนี้ (พ.ศ. 2552 - 2555).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเพื่อนพ้องน้องพี่ (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เกลอรา บังการ์โน สเตเดียม

กลอรา บังการ์โน สเตเดียม หรือชื่ออย่างเป็นทางการ เกลอรา บังการ์โน เมนสเตเดียม (สตาดีโอน อูตามา เกลอรา บังการ์โน หรือ เกลอรา เสนายัน เมนสเตเดียม) เป็นสนามที่ใช้ได้หลายประเภท ตั้งอยู่ใน เกลอรา บังการ์โน สปอร์ตส คอมเพลกซ์ ในเขตเสนายัน ใจกลางเมืองจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยเป็นชื่อหลังจาก ซูการ์โน เป็นประธานีธิบดีของอินโดนีเซีย โดยส่วนมากจะใช้ในการแข่งขันฟุตบอล โดยมีความจุอยู่ที่ประมาณ 80,000 ที่นั่ง.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเกลอรา บังการ์โน สเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

เกิดมาเป็นเจ้าพ่อ

กิดมาเป็นเจ้าพ่อ (จีนตัวเต็ม: 勝者為王, จีนตัวย่อ: 胜者为王, Born to be King) ภาพยนตร์สัญชาติฮ่องกง นำแสดงโดย เจิ้ง อี้เจี้ยน, เฉิน เสี่ยวชุน, ซอนนี่ ชิบะ, ซูฉี, เหอ ยุ่นตง, ว่าน จือเหลียง, อู๋ จินหยู กำกับการแสดงโดย แอนดริว เล.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเกิดมาเป็นเจ้าพ่อ · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงพฤหัสบดี

รือหลวงพฤหัสบดี (H.T.M.S.PHARUEHATSABODI) เป็นเรืออเนกประสงค์สำหรับงานอุทกศาสตร์ของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือไทย ใช้ในงานสำรวจแผนที่ทะเลและสำรวจสมุทรศาสตร์ งานฝึก และการกู้ภัยทางทะเล ตลอดจนสนับสนุนการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเลและชายฝั่ง เป็นโครงการจัดหาเพื่อทดแทนเรือสำรวจขนาดเล็กที่ปลดระวางประจำการและเรือเก่าที่มีอายุใช้ราชการมานาน กองทัพเรือ กำหนดหมายเลขเรืออเนกประสงค์ เป็นหมายเลข 813 และได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานชื่อเรือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานชื่อเรือว่า เรือหลวงพฤหัสบดี เขียนย่อว่า ร.ล.พฤหัสบดี ตรงกับ ภาษาอังกฤษว่า H.T.M.S. PHARUEHATSABODI เมื่อวันที่ ธันวาคม พ.ศ. 2549 ด้วยดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ และเรือลำนี้มีระวางขับน้ำมากที่สุดในหมู่เรือสำรวจของกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ซึ่งเดิมมีอยู่สามลำ คือ เรือหลวงจันทร เรือหลวงสุริยะ และเรือหลวงศุกร์ เรือหลวงพฤหัสบดี ต่อขึ้นที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยบริษัท ยูนิไทย ชิปยาร์ด แอนด์เอนจิเนียริ่ง ซึ่งเป็นกิจการร่วมค้ากับบริษัท Shelde Naval Ship Building ในเครือ Damen Shipyard Group ของเนเธอร์แลนด์ ก่อสร้างโดยใช้แบบของ Damen Shipyard ด้วยงบประมาณ 900 ล้านบาท ใช้เวลาสร้าง 940 วัน เรือหลวงพฤหัสบดี จะประกอบภารกิจแรกในเดือน สิงหาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเรือหลวงพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

เวนเจินส์ (2002)

วนเจินส์ (2002) (Vengeance (2002)) เป็นรายการเพย์-เพอร์-วิวมวยปล้ำอาชีพของดับเบิลยูดับเบิลยูอี ในปี 2002 ซึ่งจัดเป็นปีที่ 2 ในชื่อเวนเจินส์ สถานที่จัดคือ Joe Louis Arena ในเมืองดีทรอยต์, รัฐมิชิแกน เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2002 ซึ่งจัดหลังจากศึกคิงออฟเดอะริง (2002).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเวนเจินส์ (2002) · ดูเพิ่มเติม »

เสิ่น เตี้ยนเสีย

นเตี้ยนเสีย (ชื่อจีน: 沈殿霞; ชื่ออังกฤษ: Lydia Shum) (21 กรกฎาคม 1945 - 19 กุมภาพันธ์ 2008) เป็นนักแสดงชาวจีน ที่ในวงการบันเทิงฮ่องกงเรียกว่า เจ๊อ้วน (肥姐).

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเสิ่น เตี้ยนเสีย · ดูเพิ่มเติม »

เสือร้องไห้ (ภาพยนตร์)

ือร้องไห้ เป็นภาพยนตร์สารคดีที่นำเสนอในรูปแบบเรียลลิตี้โชว์ ติดตามถ่ายทำเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ของคนต่างจังหวัดจำนวน 5 คน ที่ต้องจากบ้านเกิดเข้ามาเป็นผู้ใช้แรงงานในกรุงเทพมหานคร นักแสดงทั้งห้า เป็นคนอีสานที่ประกอบอาชีพแตกต่างกันไป ประกอบด้ว.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเสือร้องไห้ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในลอนดอน 21 กรกฎาคม 2548

ในวันที่ 21 ก.ค. พ.ศ. 2548 ได้เกิดเหตุระเบิดเล็ก ๆ ต่อเนื่องสี่ครั้ง ที่กรุงลอนดอน เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นสองอาทิตย์ถัดจากเหตุระเบิดที่ลอนดอน วันที่ 7 กรกฎาคม 2548 โดยทั้งหมดเกิดขึ้นในช่วงกลางวัน ณ สถานีรถไฟใต้ดินเชพเฟิร์ดส์บุช, สถานีรถไฟใต้ดินวอร์เรนสตรีท และสถานีรถไฟใต้ดินโอวอล และบนรถประจำทางสาย 26 บริเวณ เบธนาล กรีน มีรายงานจากตำรวจว่า การระเบิดสามครั้งที่ลอนดอน อันเดอร์กราวน์ดนั้น เกิดขึ้นแทบจะในเวลาเดียวกัน และทำให้เกิดการระงับการใช้งานระบบรถไฟสายใกล้เคียงชั่วคราว ทางตำรวจได้ให้ข้อมูลว่า ระเบิดในที่เกิดเหตุนั้น มีเป้าหมายเพื่อจะทำให้เกิดความเสียหายในระดับกว้าง แต่โชคดีที่ส่วนที่ระเบิดนั้นเป็นแค่อุปกรณ์จุดระเบิดเท่านั้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงเล็กน้อย มีรายงานผู้บาดเจ็บแค่คนเดียว ข้อมูลเกี่ยวกับผู้วางระเบิดนั้นยังไม่ทราบ และทางตำรวจกล่าวว่าการจับกุมสองครั้งที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น ไม่เกี่ยวข้องโดยสิ้นเชิงกับการระเบิด ระเบิดที่ลอนดอน วันที่ 21 กรกฎาคม 2548 ระเบิดที่ลอนดอน วันที่ 21 กรกฎาคม 2548 หมวดหมู่:การก่อการร้ายใน พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเหตุระเบิดในลอนดอน 21 กรกฎาคม 2548 · ดูเพิ่มเติม »

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนคัพ 2007

อเชียนคัพ 2007 เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียนคัพ ครั้งที่ 14 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-29 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยมี 4 ประเทศร่วมเป็นเจ้าภาพ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม และ อินโดนีเซีย ซึ่ง ทีมชาติเวียดนาม เป็นทีมเจ้าภาพทีมเดียวที่ผ่านเข้ารอบสอง นอกจากนี้ในการแข่งขัน ทีมชาติออสเตรเลียเข้าร่วมแข่งขันเป็นครั้งแรกภายหลังจากที่ย้ายมาเข้าเอเอฟซี ประเทศที่ชนะเลิศการแข่งขัน ฟุตบอลทีมชาติอิรัก โดยชนะ ซาอุดีอาระเบีย ไป 1 ประตูต่อ 0.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเอเชียนคัพ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

แฮร์มันน์ เฮนนิง คาร์ล โรแบร์ท ฟอน เทรสคอว์ (Hermann Henning Karl Robert von Tresckow) หรือ เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ (10 มกราคม ค.ศ. 1901 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดในครอบครัวทหารที่เมืองมักเดบูร์ก เขาเข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 9 พอทสดัม ขณะมีอายุเพียง 16 ปี และได้รับกางเขนเหล็กชั้นที่ 1 จากวีรกรรมในยุทธการที่แม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เทรสคอว์ลาออกจากกองทัพเพื่อไปเรียนต่อด้านกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ และแต่งงานกับบุตรสาวคนหนึ่งของครอบครัวทหาร เขากลับเข้ารับราชการทหารอีกครั้งด้วยการสนับสนุนจากเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก และเริ่มรับรู้ถึงแผนการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ที่ตั้งใจจะก่อสงครามโลกอีกครั้ง เทรสคอว์มีส่วนในการบุกครองโปแลนด์และยุทธการที่ฝรั่งเศส รวมถึงดูแลพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในช่วงแรก เทรสคอว์เป็นผู้สนับสนุนพรรคนาซี เพราะไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซาย แต่หลังจากเหตุการณ์ "คืนแห่งมีดยาว" (Night of the Long Knives) เขาก็เริ่มต่อต้านพรรคนาซีและมีส่วนในหลายแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ เช่น ปฏิบัติการสปาร์คและแผนลับ 20 กรกฎาคม ซึ่งหลังจากแผนลอบสังหารวันที่ 20 กรกฎาคม ล้มเหลว เทรสคอว์ก็ตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรมในวันต่อม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ วัดอักษร

ริญ วัดอักษร (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2510-21 มิถุนายน พ.ศ. 2547) อดีตประธานกลุ่มรักท้องถิ่นบ่อนอก ตำบลบ่อนอก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และแกนนำต่อต้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบ่อนอก.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเจริญ วัดอักษร · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์รี โกลด์สมิธ

อรัลด์ คิง "เจอร์รี" โกลด์สมิธ (10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929 - 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2004) นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 18 ครั้ง และได้รับรางวัลจากเรื่อง ดิ โอเมน (1976) ได้รับรางวัลเอมมี 4 ครั้ง โกลด์สมิธมีผลงานการแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ยาวนานถึง 53 ปี ตั้งแต่ทศวรรษ 1950 ถึง 2000 โดยเฉพาะภาพยนตร์แอคชัน ระทึกขวัญ และภาพยนตร์ไซไฟ ผลงานของโกลด์สมิธที่ได้รับการจดจำ คือดนตรีประกอบภาพยนตร์ชุดสตาร์ เทรค เขาเป็นผู้ทำดนตรีประกอบภาพยนตร์ 5 ภาค คือภาคแรก, ภาค 5, 8, 9 และ 10 และซีรีส์สตาร์ เทรค: วอยเอเจอร.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเจอร์รี โกลด์สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี

้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:شمس پهلوی, ประสูติ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1917 - สิ้นพระชนม์ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996) พระราชธิดาในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี กับสมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก และเป็นพระเชษฐภคินีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5

้าจอมมารดามรกฎ (พ.ศ. 2398 - พ.ศ. 2458) เป็นบุตรีของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) กับ ท่านผู้หญิงมหินทรศักดิ์ธำรง (หุ่น) (ธิดาพระยานครอินทร์รามัญ) เจ้าจอมมารดามรกฎ มีพระโอรสธิดา 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเจ้าจอมมารดามรกฎ ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007

ทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007 การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่เบลเกรด ประเทศเซอร์เบี.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเทศกาลโอลิมปิกฤดูร้อนเยาวชนยุโรป 2007 · ดูเพิ่มเติม »

เทคก้าแมนเบลด II

ทคก้าแมนเบลด II เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนวแฟนตาซีวิทยาศาสตร์ ที่เป็นภาคต่อของเทคก้าแมนเบลด เนื้อเรื่องกล่าวถึงเหตุการณ์ในอีก 10 ปีต่อมา เขียนบทโดย ฮิโรยูกิ คาวาซากิ ออกแบบตัวละครโดย ฮิโรโตชิ ซาโนะ และกำกับโดย ฮิเดกิ โทโนคัตสึ ออกวางจำหน่ายในรูปแบบโอวีเอ เมื่อปี พ.ศ. 2537 - 2538 ความยาว 6 ตอน.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเทคก้าแมนเบลด II · ดูเพิ่มเติม »

เทคเคน

ทคเคน ภาค 1 คะซึยะ ต่อสู้กับ คิง กล่องเกมเพลย์สเตชัน ภาค 5 เทคเคน เป็นเกมต่อสู้ที่ผลิตโดยบริษัท นัมโค จากประเทศญี่ปุ่น สำหรับเครื่องเล่นเพลย์สเตชัน และเกมตู้ โดยเกมเทคเคนนั้น เป็นเกมต่อสู้ 3 มิติที่ออกมาในยุคแรกของเกม 3 มิติ พร้อมกับเกมโทชินเดนสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน ในปัจจุบัน เกมล่าสุดในชุดเทคเคน คือ เกม เทคเคน 7 กำลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาสำหรับเครื่อง เพลย์สเตชัน 4,XBox One และ คอมพิวเตอร์ ลักษณะการเล่นเกมของเทคเคน โดยผู้เล่นจะเลือกตัวละครขึ้นมาหนึ่งตัว โดยเป็นตัวละครตัวแทนจากทุกมุมโลก และต่อสู้เพื่อชิงรางวัลอันยิ่งใหญ่ของ ไซบัตซึ ผู้จัดการแข่งขันเทคเคน โดยหัวหน้าใหญ่ในเกมจะเปลี่ยนแปลงไปทุก.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเทคเคน · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวินเนอร์เทกส์อิตออล

"เดอะวินเนอร์เทกส์อิตออล" (The Winner Takes It All) เป็นเพลงจากวงป็อปจากสวีเดน แอ็บบ้า เป็นซิงเกิลแรกของวงจากอัลบั้ม Super Trouper ซิงเกิลออกวางขายเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 เป็นเพลงบัลลาดที่สะท้อนให้เห็นถึงจุดจบของความรัก หน้าบีของซิงเกิลเป็นเพลงที่ไม่ได้อยู่ในอัลบั้ม ชื่อ "Elaine" ซิงเกิลนี้ขึ้นอันดับ 1 ในสหราชอาณาจักรยาวนาน 2 สัปดาห.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเดอะวินเนอร์เทกส์อิตออล · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

เด่นชัยเล็ก กระทิงแดงยิม

นชัยเล็ก กระทิงแดงยิม เกิดเมื่อ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเด่นชัยเล็ก กระทิงแดงยิม · ดูเพิ่มเติม »

เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22

ีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22 เป็นการประกวดร้องเพลงถ้วยพระราชทานชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ปีที่ 22 โดยเริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันตั้งแต่เดือนกรกฎาคม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและเคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22 · ดูเพิ่มเติม »

Hols: Prince of the Sun

Hols: Prince of the Sun หรือที่รู้จักกันในชื่อ Little Norse Prince Valiant, เป็นภาพยนตร์อะนิเมะที่เข้าฉายในปี ค.ศ. 1968 โดยโตเอ แอนิเมชัน เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่ อิซาโอะ ทาคาฮาตะ นั่งแท่นกำกับขณะที่ ฮายาโอะ มิยาซากิ, ยะสุโอะ โอตสุกะ และ โยอิชิ โคตะเบะ เป็นอะนิเมะเตอร์ในภาพยนตร์เรื่องนี้ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับการพิจารณาให้เป็นหลักเขตแดนในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อะนิเมะ เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกที่แหวกจากกลิ่นอายความเป็น ดิสนีย์ ของโตเอ แอนิเมชันตั้งแต่สร้างภาพยนตร์มา ภาพยนตร์ผลิตโดยกลุ่มอะนิเมะเตอร์ผู้ซึ่งผูกพันกับโตเอและการเคลื่อนไหวประท้วงของเหล่านักศึกษาในช่วง 1960s ซึ่งยังผลให้ ภาพยนตร์ประกอบไปด้วยหลายสิ่งหลายอย่างที่อ้างอิงจากการเคลื่อนไหว เช่นเดียวกันกับอาร์ตเวิร์กและเพลงประกอบที่ได้รับแรงบันดาลใจทางสังคม เป็นการยากที่จะทำงานของอิซาโอะ ทาคาฮาตะ ที่ถูกบีบให้ตัดเรื่องราวออกไปราว 30 นาทีให้สมบูรณ์ได้ ทั้งปัญหางบบานปลาย งานเสร็จล่าช้า และยังมีอีก 2 ปมที่ยังไม่จบ ยิ่งกว่านั้น ทาคาฮาตะตั้งใจจะให้ภาพยนตร์สะท้อนเรื่องราวเกี่ยวกับ Emishi (คนพื้นเมืองของญี่ปุ่นที่ถูกรังควานโดยคนญี่ปุ่นด้วยกัน) ทาคาฮาตะถูกบีบโดยโตเอให้ปรับเปลี่ยนไปเป็นเรื่องของชนชาติอื่น ดังนั้น มันจึงกลายเป็นเรื่องของชาวไวกิ้งแทน ภาพยนตร์เรื่องนี้จะเปรียบเหมือนกับผู้แผ้วถางทางสำหรับผู้บุกเบิกด้านอะนิเมะในช่วงถัดๆ มา และถูกจัดให้เป็น "ปู่" ของอะนิเมะโปรเกรสสีฟ ไม่ประสบความสำเร็จในตารางบ็อกออฟฟิศ แต่ได้รับความชื่นชมจากกลุ่มนักศึกษาที่ชอบในเรื่องลัทธิศาสนา หลังจากความล้มเหลวของมัน ทีมงานส่วนใหญ่ถูกแช่แข็ง ทาคาฮาตะถูกปิดกั้นไม่ให้กำกับภาพยนตร์เรื่องใดของโตเออีกเลย จากนั้นไม่นานนัก โอตสุกะ, มิยาซากิ และทาคาฮาตะ ก็ออกจากโตเอไปยังเอโปร ที่ซี่งพวกเขาทำ Lupin III ออกม.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและHols: Prince of the Sun · ดูเพิ่มเติม »

Sono Hanabira ni Kuchizuke wo

Sono Hanabira ni Kuchizuke wo เป็นโดจินซอฟท์เอโรเกะ โดยกลุ่มฟุงุริยะ เนื้อเรื่องแต่งโดยซาโนะ ชินอิจิโร่ ภาพประกอบโดยPeco ภาคแรกวางจำหน่ายครั้งแรกในปี 2549 และยังคงออกภาคใหม่เรื่อยๆถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีทำเป็นดรามาซีดี และนิยายภาพออกมาอีกด้วย ต่อมาเมื่อเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและSono Hanabira ni Kuchizuke wo · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 กุมภาพันธ์

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 55 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 310 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 21 กรกฎาคมและ24 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

21 July21 ก.ค.๒๑ กรกฎาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »