โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

14 สิงหาคม

ดัชนี 14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

305 ความสัมพันธ์: ชัยยง เอื้อวิริยานุกูลฟุตบอลทีมชาติอิรักพ.ศ. 1797พ.ศ. 1816พ.ศ. 1900พ.ศ. 2395พ.ศ. 2401พ.ศ. 2484พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2492พ.ศ. 2493พ.ศ. 2496พ.ศ. 2500พ.ศ. 2502พ.ศ. 2503พ.ศ. 2504พ.ศ. 2506พ.ศ. 2508พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2512พ.ศ. 2515พ.ศ. 2519พ.ศ. 2525พ.ศ. 2527พ.ศ. 2536พ.ศ. 2549พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดชพระครูวิสัยโสภณ (ทิม ธมมฺธโร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิทพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซียพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบียพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2010–11พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟคพันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถาพินิจ จารุสมบัติกสท โทรคมนาคมการยึดครองญี่ปุ่นกำพล วัชรพลกำจัดจุดอ่อนกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์เวลเตอร์เวท...มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมาตามนัดยุทธการโฉบเหนือฟ้ายูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ยูไนเต็ดคิวบ์คอนเสิร์ตรอยรักรอยบาประเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทยราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ราชวงศ์ชิงราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อบทความวันนี้ในอดีตรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทยรายชื่อผลงานของทงบังชินกีรายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แอนิเมชัน)รายชื่อตอนในสึซึมิยะ ฮารุฮิรายชื่อตอนในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบานรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิงรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กรายนามประธานาธิบดีคอสตาริการายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทยรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมลอนดอนลิเก๊..ลิเกลูนี่ตูนส์ บ้าหลุดโลกวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์โลก 2015วัดธรรมาธิปไตยวันชาติวันปลดปล่อยวันเอกราชวิลเลียม บัคแลนด์วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยศิริศิลป์ โชติวิจิตรศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7สหพันธรัฐมลายูสหพันธ์สาธารณรัฐอิรักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สายลม อาดีสาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐอาหรับซีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932สำนักพระราชวังสิงหาคมสิงหาคม พ.ศ. 2548สิงหาคม พ.ศ. 2549สินี หงษ์มานพสุขวิช รังสิตพลสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์สถิติกรีฑาในการแข่งขันซีเกมส์สตาร์ซอคเก้อร์รายวันสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08สโมสรฟุตบอลแบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559หมวดโอภาสหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุลหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากรหัวใจเถื่อนหงส์สะบัดลายอริสรา กำธรเจริญอัมสเตอร์ดัมอาเรนาอัจฉริยะข้ามคืนอาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศอาลี คาลิฟ กาลาอิดห์อาเธอร์ ปัญญโชติอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์อินดอร์ สเตเดียม หัวหมากอุทัย พิมพ์ใจชนอดิศักดิ์ ไกรษรอโรคา ตลาดนัดสุขภาพฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตดฮิซากิ ชูเฮย์จอร์โจ กีเอลลีนีจอห์น กอลส์เวอร์ธีจักรพรรดิฮะนะโซะโนะจักรพรรดิติแบริอุสที่ 2จักรพรรดิไดโงะธงชาติอาเซอร์ไบจานธงชาติปากีสถานทางผ่านกามเทพข้ามากับพระณุศรา ประวันณาดุสิต เฉลิมแสนคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศคณะคามิลเลียนคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นตะวันเดือดตำนานโหดโคตรไอ้เคี่ยมตแชสวัฟ มีวอชฉัตรชัย เอียสกุลฉัตร์ชัย บุตรดีซัมเมอร์สแลม (2011)ซัมเมอร์ไทม์กอนซันไรส์/ซันเซต~เลิฟอิสออล~ซีลอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ซีโร่ (เพลงซีล)ประชา คุณะเกษมประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศปากีสถานประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1936ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศไทยใน พ.ศ. 2395ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948ปาฏิหาริย์รักข้ามขอบฟ้าปีกมารปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์นพรัตนราชศิราภรณ์มงคลนอร์แมน ซัตตันนำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์แพนอเมริกันเกมส์แพนอเมริกันเกมส์ 1983แกะกล่องหนังไทยแมกซิมิเลียน คอลบีแมจิก จอห์นสันแม่มดน้อยโดเรมีแล้วเราจะได้รักกันไหมแฮลลี เบร์รีแคนาด อินส์ สเตเดียมโมเดิร์นไนน์การ์ตูนโรงเรียนธัญบุรีโทกูงาวะ อิเอซาดะโทกูงาวะ อิเอโมจิโทระโดระ! ยายเสือใสกับนายหน้าโหดโดดเดี่ยวด้วยกันโซ เหลียง อิงไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ไมค์ สกรอยไฮเม่ รีออสไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2556ไทระ โนะ ชิเงะโกะไปรษณีย์ไทย (บริษัท)เพอร์โซนา 3เกรียนโคตร มหาประลัยเสรีไทยเสน่ห์ หงษ์ทองเอฟ 16 ราชานนท์เอ็กซ์วายแซดเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารีเจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์เทลส์ออฟเดสตินี 2เทศกาลทูมอร์โรว์แลนด์เดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์เดอะเฟิสต์อัลบั้มเดือน 9เคอิทาโร โฮชิโนเคทูเตือนใจ นุอุปละThe Mask Singer หน้ากากนักร้อง22 มิถุนายน31 พฤษภาคม ขยายดัชนี (255 มากกว่า) »

ชัยยง เอื้อวิริยานุกูล

นายชัยยง เอื้อวิริยานุกูล (19 มีนาคม พ.ศ. 2492 —) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคนแรก สมรสกับนางปราณี เอื้อวิริยานุกูล มีบุตร 2 คน คือ ดร.ขวัญชัย เอื้อวิริยานุกูล และนางสาวสุนิตา เอื้อวิริยานุกูล เริ่มต้นชีวิตราชการ เมื่อปีการศึกษา 2516 เป็นอาจารย์ประจำแผนกวิชาช่างไฟฟ้า คณะวิชาไฟฟ้า วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและชัยยง เอื้อวิริยานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก

ฟุตบอลทีมชาติอิรัก (منتخب العراق لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐอิรัก อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของสมาคมฟุตบอลอิรัก (IFA) ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1948 และได้เข้าร่วมเป็นชาติสมาชิกของฟีฟ่า ในปี 1950 จากนั้นได้เข้าเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ในปี 1970 และเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) ในปี 2000 ทีมชาติอิรักถือว่าเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จอย่างมากชาติหนึ่งในกลุ่มประเทศแถบอาหรับ เคยเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิก 4 ครั้ง (1980,1984,1988,2004) โดยผลงานดีที่สุดของทีมชาติอิรักในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกคือการคว้าอันดับ 4 ในโอลิมปิก 2004 ที่ประเทศกรีซ และเคยผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลกรอบสุดท้าย 1 ครั้ง ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1986 ที่ประเทศเม็กซิโก สำหรับผลงานในระดับทวีปเอเชียนั้นทีมชาติอิรักเคยได้เหรียญทองในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ 1982 ที่กรุงนิวเดลี สาธารณรัฐอินเดีย และสามารถสร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์เอเชียนคัพ ซึ่งเป็นรายการใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียได้ 1 สมัย ในปี 2007 ส่วนในการแข่งขันในระดับภูมิภาค ทีมชาติอิรักเคยชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์เอเชียตะวันตก ในปี 2002 รวมถึงคว้าแชมป์ฟุตบอลรายการ อาหรับ เนชันส์คัพ ได้ถึง 4 สมัย (ปี 1964,1966,1984,1988) นอกจากนี้ทีมชาติอิรักยังเคยได้รับเลือกจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) ให้เป็นทีมชาติยอดเยี่ยมประจำทวีปเอเชียถึง 2 ครั้ง (ปี 2003 และ 2007) โดยเป็นชาติเดียวในเอเชียตะวันตกที่เคยได้รับรางวัลนี้.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและฟุตบอลทีมชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1797

ทธศักราช 1797 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 1797 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1816

ทธศักราช 1816 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 1816 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1900

ทธศักราช 1900 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 1900 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2395

ทธศักราช 2395 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1852.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2395 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2401 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2492 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2506 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2510 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2519 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร)

ระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดถ้ำผาปล่อง อ.เชียงดาว.เชียงใหม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระญาณสิทธาจารย์ (สิม พุทฺธาจาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช

ร้อยเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช หรือ พระองค์พีระ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 — 23 ธันวาคม พ.ศ. 2528) ทรงเป็นนักแข่งรถชาวไทย และทรงเป็นผู้เข้าแข่งขันกีฬาเรือใบในโอลิมปิก 1956, 1960, 1964 และ 1972.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพีรพงศ์ภาณุเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวิสัยโสภณ (ทิม ธมมฺธโร)

ระครูวิสัยโสภณ (ทิม ธัมมธโร) ท่านเกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2455 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดช้างให้ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระครูวิสัยโสภณ (ทิม ธมมฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย

มเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย (Friedrich Wilhelm I, Frederick William I of Prussia) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740) ฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งราชวงศ์โฮเฮนโซลเลิร์นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซียและอีเล็คเตอร์แห่งบรานเดนบวร์ก (ในพระนามฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2) ผู้ทรงครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 ในปี ค.ศ. 1713 และครองราชย์ต่อมาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1740 โดยมีสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 ทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ สมเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1688 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 1 และ โซฟี ชาร์ล็อทเท่แห่งฮันโนเฟอร์ สมเด็จพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มทรงได้รับสมญานามว่า “กษัตริย์ทหาร” (der Soldatenkönig) และมีความโปรดปรานการแสดงทางการทหาร ที่ทำให้ทรงพยายามจ้างบุคคลที่มีความสูงมาจากทั่วยุโรปมาเข้าสังกัดกองทหารที่มีชื่อเล่นว่า “ยักษ์พอร์ทสดัม”.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย

ระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย หรือ อเล็๋กซานเดอร์ โอเบรโนวิก (เซอร์เบีย: Александар Обреновић; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1876 - 11 มิถุนายน ค.ศ. 1903) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเซอร์เบียตั้งแต..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก (คริสเตียน เฟรเดอริค) (18 กันยายน พ.ศ. 2329 - 20 มกราคม พ.ศ. 2391) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเดนมาร์ก ระหว่าง..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ ได้อภิเษกสมรสกับเอลินอร์แห่งคาสตีล และต่อมากับพระนางมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ที่บรัฟบายแซนด์ส คัมเบอร์แลนด์ อังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้รับชัยชนะต่อเวลส์และทรงพยายามปราบปรามสกอตแลนด์แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2010–11

อฟเอพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2010-11 เป็นการแข่งขันพรีเมียร์ลีก ฤดูกาลที่ 19 นับแต่เริ่มต้นมาในปี ค.ศ. 1992 เริ่มฤดูกาลเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 2010 และสิ้นสุดฤดูกาลเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 โดย เชลซี กลับมาป้องกันแชมป์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ได้ตำแหน่งแชมป์ในนัดเสมอกับแบล็กเบิร์นโรเวิร์ส เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2010–11 · ดูเพิ่มเติม »

พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค

ริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) (PROPERTY PERFECT PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:PF) บริษัทและบริษัทย่อย ดำเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทพัฒนาที่ดินและก่อสร้างที่อยู่อาศัยโดยเน้นการพัฒนาโครงการหมู่บ้านจัดสรร และโครงการอาคารชุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นหลัก ทั้งนี้บริษัทมีรายได้หลักจากการขายที่อยู่อาศัยทั้งในแนวราบ และแนวสูงแบบรายงาน56-1 พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา

นายพันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี และเป็นเลขาธิการพรรคพลังชล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา · ดูเพิ่มเติม »

พินิจ จารุสมบัติ

นายพินิจ จารุสมบัติ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตหัวหน้าพรรคเสรีธรรม เคยร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ช่วงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 โดยใช้ชื่อจัดตั้งว่า สหายพนัส ปัจจุบันเป็นแกนนำกลุ่มวังพญานาค พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและพินิจ จารุสมบัติ · ดูเพิ่มเติม »

กสท โทรคมนาคม

ริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (CAT Telecom Public Company Limited) เป็นรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในรูปบริษัทมหาชน ที่มาจากการแปรรูป ส่วนกิจการโทรคมนาคม ของการสื่อสารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและกสท โทรคมนาคม · ดูเพิ่มเติม »

การยึดครองญี่ปุ่น

การยุบจักรวรรดิญี่ปุ่น คลิกที่รูปภาพสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม การยึดครองญี่ปุ่นโดยฝ่ายสัมพันธมิตรหลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติ อันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ และเครือจักรภพอังกฤษเป็นผู้สนับสนุน ซึ่งเป็นการยึดครองแผ่นดินญี่ปุ่นโดยชาวต่างชาติเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นกว่า 2,000 ปี การยึดครองดังกล่าวเปลี่ยนแปลงประเทศญี่ปุ่นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยซึ่งทำให้หวนคิดถึงการเมือง "นิวดีล" (New Deal) ของอเมริกาในคริสต์ทศวรรษ 1930 การยึดครองดังกล่าวมีชื่อรหัสว่า ปฏิบัติการบัญชีดำ (Operation Blacklist) สิ้นสุดลงด้วยสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก ที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและการยึดครองญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

กำพล วัชรพล

นายกำพล วัชรพล จ่าโท กำพล วัชรพล (27 ธันวาคม พ.ศ. 2462 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, เสียงอ่างทอง, ข่าวภาพ, มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและกำพล วัชรพล · ดูเพิ่มเติม »

กำจัดจุดอ่อน

กำจัดจุดอ่อน (Weakest Link) คือรายการควิซโชว์ ออกอากาศครั้งแรกในสหราชอาณาจักรทางช่อง BBC Two และ BBC One เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ออกแบบรายการโดย ฟินตัน คอยล์ (Fintan Coyle)และ เคธี ดันนิง (Cathy Dunning) พัฒนาเพื่อการออกอากาศโดย บีบีซี เอนเทอร์เทนเมนท์ เป็นรายการที่ถอดแบบมาดำเนินรายการในรูปแบบภาษาต่าง ๆ ทั่วโลก ถูกเรียกว่า "เกมโชว์แบบเรียลลิตี้" เพราะมีลักษณะคล้ายเรียลลิตี้โชว์ และเป็นรากฐานแห่งเรียลลิตี้โชว์ในปัจจุบัน ในสหราชอาณาจักร ดำเนินรายการโดย แอนน์ รอบินสัน (Anne Robinson) โดยในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ออกอากาศเป็นตอนที่ 1,000 ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 ออกอากาศตอนสุดท้.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและกำจัดจุดอ่อน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์เวลเตอร์เวท

มวยสากลสมัครเล่น รุ่น ไลท์เวลเตอร์เวท 54 กิโลกรัม ทำการแข่งขันที่เวิร์คเกอร์อินดอร์อารีน่า กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในรุ่นนี้ นักชกชาวไทยที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามาคือ มนัส บุญจำนงค์ ซึ่งสามารถคว้าเหรียญเงินที่สองของไทยใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน รวมทั้งเป็นคว้าเหรียญรางวัลจากโอลิมปิกถึงสองครั้งติดต่อกันอีกด้วย (ใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2004 มนัส บุญจำนงค์คว้าเหรียญทองมาได้).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและกีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 - ไลท์เวลเตอร์เวท · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (Rajamangala University of Technology) เป็นระบบมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 ในชื่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Phra Nakhon) เน้นการจัดการศึกษา เพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ เสื้อผ้า แฟชั่น อาหาร การบริหารจัดการ และทักษะด้านธุรกิจ สามารถปฏิบัติงานได้จริง มีความคิดสร้างสรรค์ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นมหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เน้นการจัดการศึกษาเพื่อให้บัณฑิต มีคุณลักษณะที่มีทักษะด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม การท่องเที่ยว โรงแรม ภาษา คหกรรม เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย บริหารธุรกิจและทักษะด้านธุรกิจรวมทั้งการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนานาชาติ นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้จริงมีความคิดสร้างสรรค์ ที่ทำให้สามารถประกอบอาชีพได้หลายอาชีพ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ได้รับการจัดอันดับด้านการจัดการเรียนการสอนดีเด่น จาก.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Rattanakosin).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (Rajamangala University of Technology Lanna) เป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของรัฐ ได้รับการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขต ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล โดยชื่อ "ราชมงคล" นั้น ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2533 พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ "พระมหาพิชัยมงกุฎ" และ "พระราชลัญจกร" ประจำพระองค์ ให้เป็นตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในภูมิภาคภาคเหนือของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอน 4 ระดับ คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จะได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนหรือธันวาคมเป็นประจำทุกปี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (Rajamangala University of Technology Srivijaya) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในประเทศไทย แยกตัวออกมาจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีวิทยาเขตในสังกัด 4 แห่ง เปิดทำการสอนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นหลัก.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Isan) เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีที่จัดการเรียนการสอนในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ นครราชสีมา ขอนแก่น สกลนคร และสุรินทร์ โดยได้รับการยกฐานะจากวิทยาเขตในสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 แห่งทั่วประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร พื้นที่หลักของมหาวิทยาลัยฯมีเนื่อที่ประมาณ 330 ไร่ ติดกับถนนสุรนารายณ์ และยังมีพื้นที่ป่าหนองระเวียง เดิมใช้เป็นพื้นที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเรียกว่า "ศูนย์ฝึกภาคสนามหนองระเวียง" ปัจจุบันมหาวิทยาลัยฯได้รักษาสภาพพื้นที่ป่านี้ไว้ เพื่อใช้เป็นโรงเรียนธรรมชาติ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,600 ไร่ มีรั้วล้อมรอบอย่างถาวร มีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วนๆ คือ สวนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จำนวน 200 ไร่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา จำนวน 200 ไร่ พื้นที่รองรับการขยายการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 1,100 ไร่ และพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จำนวน 1,000 ไร.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (Rajamangala University of Technology Thanyaburi) ได้รับการสถาปนาขึ้นในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มาตามนัด

มาตามนัด เป็นเกมโชว์ ผลิตโดย ห้างหุ้นส่วนจำกัด รัชฟิล์ม ทีวี ออกอากาศตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ถึง 14 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ซึ่งเปลี่ยนชื่อมาแล้วสามครั้ง โดยจะคงคำว่า มาตามนัด ไว้เสมอคือ มาตามนัด (2527 - 2535, 2537 - 2538) ก้าว-ห้า-มาตามนัด (2535 - 2536) และ มาตามนัด ฮาวมัช (2536 - 2537) เพื่อหาผู้ชนะประจำสัปดาห์ (เดอะวินเนอร์) และชิงของรางวัลสูงสุดเป็นรถยนต์ ต่อมา ตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555 รายการกลับมาออกอากาศอีกครั้ง ในชื่อใหม่ว่า มาตามนัด รีเทิร์น ทางโมเดิร์นไนน์ทีวี โดยมีบริษัท ฟันแอนด์ฟอร์จูน จำกัด เป็นผู้ผลิตรายการ ออกอากาศทุกวันพุธ เวลา 18:00-19:00 น. แต่ได้สิ้นสุดออกอากาศเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและมาตามนัด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการโฉบเหนือฟ้า

ทธการโฉบเหนือฟ้า (R2B: 리턴투베이스; R2B: Return to Base) เป็นภาพยนตร์แอ็คชั่นเกาหลีใต้ กำกับโดย คิม ดงวอน นำแสดงโดย เรน และ ชิน เซคยอง ภาพยนตร์เรื่องนี้รีเมคจากภาพยนตร์ Red Scarf ของ ชิน ซังอ๊ก ใน..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและยุทธการโฉบเหนือฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ยูไนเต็ดคิวบ์คอนเสิร์ต

ูไนเต็ดคิวบ์คอนเสิร์ตเป็นคอนเสิร์ตจัดขึ้นโดย คิวบ์เอนเตอร์เทนเมนต์ เพื่อศิลปินได้ใกล้ชิดกับแฟนคลับ มีศิลปินเช่น โฟร์มินิต บีสต์ จีน่า บีทูบี และรยู จี-ฮุนและทัวร์ตั้งแต่ เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น อังกฤษ บราซิล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและยูไนเต็ดคิวบ์คอนเสิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

รอยรักรอยบาป

รอยรักรอยบาป เป็นบทประพันธ์ของ อัจฉรียา เป็นละครพีเรียดย้อนยุคในสมัยรัชกาลที่ 5 เนื่อเรื่องเกี่ยวกับทาส การอาฆาตพยาบาทข้ามภพข้ามชาติ เมื่อละครเรื่องนี้ออกอากาศไปได้รับกระแสตอบรับที่ดีมาก โดยเฉพาะบทคุณหญิงระย้า ที่คนพูดถึงความร้ายกาจของคุณหญิงระย้าทั่วบ้านทั่วเมือง โดยเฉพาะอาวุธของเธอนั่นคือ สมุนไพรพิษ ทำให้ก่อเกิดโศกนาฏกรรม ข้ามชาติข้ามภพขึ้น จาก จวน ทาสแสนโง่เขลา อาฆาตแค้นจองหอง ไปถึงชาติภพหน้า จนเกิดชาติใหม่กลายเป็น หนูยิ้ม นิสัยก้าวร้าวอันเป็นเด็กสาวอันแสนเกรี้ยวกราด ละครเรื่องนี้สอนถึงบาปกรรม การให้อภัยและการระงับเวรด้วยการไม่จองเวร.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรอยรักรอยบาป · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง

ระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง เป็นรายการซิทคอมควบคู่กับเกมโชว์ ซึ่งผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางช่อง 5 ออกอากาศเวลา 13.55 - 15.20 น. เป็นประจำทุกวันอาทิตย์ โดยเริ่มออกอากาศในตอนแรก (ตอนที่ 747) ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553 และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 รายการระเบิดเถิดเทิงลั่นทุ่งจะเลื่อนเวลาการออกอากาศเป็นเวลา 12.00 -13.25 น. คำว่า ลั่นทุ่ง ในชื่อ"ระเบิดเถิดเทิงลั่นทุ่ง" นั้น หมายถึง หมู่บ้านลั่นทุ่ง ซึ่งเป็นชื่อหมู่บ้านที่เกิดเรื่องราวความโกลาหลต่างๆในเรื่อง ระเบิดเถิดเทิง.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและระเบิดเถิดเทิง ลั่นทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต

รายชื่อบทความวันนี้ในอดีต.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายชื่อบทความวันนี้ในอดีต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานของทงบังชินกี

ทความนี้เป็นบทความที่รวมรายชื่อผลงานอัลบั้ม ซิงเกิล และอื่น ๆ ของ ทงบังชินกี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายชื่อผลงานของทงบังชินกี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แอนิเมชัน)

ริษัท ทีไอจีเอ จำกัด ปัจจุบันในประเทศไทย ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน มีลิขสิทธิ์ฉบับ ภาพยนตร์การ์ตูน โดย TIGA จัดทำในรูปแบบของ VCD และ DVD เป็น โคนัน เดอะซีรีส์ จนถึง ปี 11 (อนึ่ง ก่อนหน้านี้บริษัท วีดิโอสแควร์ เป็นผู้ถือครองลิขสิทธิ์) นอกจากดูผ่านแผ่นแล้ว ยังมีช่องทางอื่นที่สามารถดูต่อได้อีก เช่น ช่อง 9 Modern 9 Cartoon ช่อง CTV ช่อง Cartoon Club และ ช่อง True Spark หรือ จะดูผ่าน กับ หรือ Hollywood HDTV และ AIS Play ก็ยังได้ ปัจจุบันเนื่องจากมีผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ ไปเผยแพร่ทางเว็บไซต์และโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ทางบริษัทจึงได้ยุติเผยแพร่ทาง ชั่วคราว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แอนิเมชัน) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในสึซึมิยะ ฮารุฮิ

รายชื่อตอนของสึซึมิยะ ฮารุฮิ หมายถึง รายชื่อตอนตามลำดับการฉายอะนิเมะบนโทรทัศน์ของเรื่อง สึซึมิยะ ฮารุฮิ ทั้งหมด 14 ตอน ออกฉายมาในปี พ.ศ. 2549 ทั้งนี้รวมอีก 14 ตอน ที่นำกลับมาฉายใหม่พร้อมกับ 14 ตอนแรก ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2552 ทำให้อะนิเมะในซีรีส์นี้ มีทั้งหมด 28 ตอน แบ่งลำดับการฉายได้ดังนี้.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายชื่อตอนในสึซึมิยะ ฮารุฮิ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน

รายชื่อตอนของอะนิเมะ เรื่อง ฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน ทั้งใน Season 1 และ Season 2 หมายเหตุ: ชื่อตอนในแบบฉบับภาษาไทยจะอิงจากการแปลของอะนิเมะ โดยอาจจะแตกต่างจากชื่อตอนภาษาไทยของมังงะก็ได้ ถึงแม้จะใช้ชื่อเหมือนกันในภาษาญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายชื่อตอนในฮายาเตะ พ่อบ้านประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง

* พระนามเดิม จักรพรรดิราชวงศ์ทรงอยู่ในราชสกุล อ้ายซินเจว๋หลัว (อักษรจีนตัวย่อ: 爱新觉罗; อักษรจีนตัวเต็ม: 愛新覺羅; พินอิน: àixīn juéluó) แต่ตามปฏิบัติของชาวแมนจู การเรียกชื่อไม่จำเป็นต้องรวมนามสกุล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทย

ต.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายนามนักมวยแชมป์โลกชาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี)

แชมป์โลกเฮฟวี่เวท 4 สมัย แรนดี ออร์ตัน เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ เป็นเข็มขัดระดับโลกรุ่นเฮฟวี่เวทที่เป็นกรรมสิทธิ์ของเวิลด์ เรสต์ลิง เอ็นเตอร์เทนเมนต์ (WWE) โดยเป็นเข็มขัดระดับโลกเส้นที่ 3 ที่ได้ใช้งานในดับเบิลยูดับเบิลยูอีเมื่อปี ค.ศ. 2002 ภายหลังจากการซื้อกิจการสมาคมที่ล้มละลายอย่าง เวิลด์ แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (WCW) และเอ็กซ์ตรีม แชมเปียนชิพ เรสต์ลิง (ECW) และยกเลิกสถานะดับเบิลยูซีดับเบิลยู เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปียนชิพ (WCW World Heavyweight Championship) โดยนำมารวมกับดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ แชมเปียนชิพ (WWF Championship) กลายเป็นเข็มขัดเดี่ยว ดับเบิลยูดับเบิลยูเอฟ อันดิสพิวเต็ด แชมเปียนชิพ (WWF Undisputed Championship) ซึ่งกลายเป็นกรรมสิทธิ์ของสแมคดาวน์ ภายหลังการขยายค่าย ส่งผลให้รอว์ไม่มีเข็มขัดระดับโลกไว้ในครอบครอง ทำให้ เอริค บิชอฟฟ์ อดีตผู้บริหารและเจ้าของดับเบิลยูซีดับเบิลยู ซึ่งเป็นผู้จัดการทั่วไปของรอว์ในขณะนั้น นำเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพออกมาใช้งาน ในปัจจุบัน ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของ สแมคดาวน์ การครองเข็มขัดจะถูกตัดสินโดยการปล้ำในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ หรือถูกมอบให้โดยมีเหตุจูงใจเป็นต้น โดยนักมวยปล้ำจะมีบทแสดงเป็นฝ่ายธรรมะหรืออธรรม โดยเกิดความขัดแย้งและต่อสู้กันในการแข่งขันรูปแบบต่างๆ เพื่อชิงเข็มขัดดังกล่าว ผู้ครองเข็มขัดนี้เป็นคนแรกคือ ทริปเปิล เอช ซึ่งเอริค บิชอฟฟ์มอบให้ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2002 โดยรวมมีผู้ครองเข็มขัดนี้ทั้งสิ้น 14 คน โดยมีจำนวน 28 สมัย ซึ่งทริปเปิล เอชก็เป็นผู้ครองเข็มขัดดังกล่าวมากสมัยที่สุดอีกด้วย (5 สมัย) ทางดับเบิลยูดับเบิลยูอีได้แถลงอย่างเป็นทางการว่า เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ ไม่ได้เป็นเข็มขัดเส้นเดียวกับ เอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ (NWA World Heavyweight Championship) หรือดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ (WCW Championship) แม้ว่าจะมีความคล้ายคลึงกันโดยการที่เป็น "เข็มขัดทองขนาดใหญ่" เหมือนกัน จึงทำให้ประวัติความเป็นมาและผู้ครองเข็มขัดนั้นไม่สืบเนื่องหรือเกี่ยวโยงกัน โดยเวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพเป็นเพียงรุ่นถัดมาของดับเบิลยูซีดับเบิลยู แชมเปี้ยนชิพ เหมือนที่มันเป็นรุ่นถัดมาของเอ็นดับเบิลยูเอ เวิลด์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพนั่นเอง.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรายนามเวิลด์เฮฟวีเวทแชมเปียน (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ. 2549) และประมาณ 12 - 14 ล้านคนถ้ารวมนครหลวงลอนดอนและปริมณฑล ลอนดอนเป็นเมืองที่ประกอบด้วยหลายชนชาติอย่างมาก ประชากรมีความหลากหลายทั้งด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา และภาษา ซึ่งประมาณว่ามีมากกว่า 300 ภาษา เราเรียกชาวลอนดอนว่า ลอนดอนเนอร์ (Londoner) ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมในระดับนานาชาติ และเป็นเมืองท่องเที่ยวสำคัญของทวีปยุโรป โดยสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในลอนดอน คือ ท่าอากาศยานนานาชาติฮีทโธรว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเก๊..ลิเก

ลิเก..ลิเก เป็นละครโทรทัศน์แนว โรแมนติก-คอมเมดี้ จากบทประพันธ์โดย สุรินทร์ รุ่งสว่าง และทีมเอ็กแซ็กท์ ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์มาแล้ว 2 ครั้ง โดยบริษัทเอ็กแซ็กท์ ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและลิเก๊..ลิเก · ดูเพิ่มเติม »

ลูนี่ตูนส์ บ้าหลุดโลก

ลูน่าติด บ้าหลุดโลก (Loonatics Unleashed) เป็นการ์ตูนทีวีแอนิเมชันของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตโดย Warner Bros.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและลูนี่ตูนส์ บ้าหลุดโลก · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์โลก 2015

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2015 (2015 FIVB Volleyball Boys' U19 World Championship) มีกำหนดจัดขึ้นที่กอร์เรียนเตส และเรซิสเตนเซีย, ประเทศอาร์เจนตินา ระหว่างวันที่ 14 สิงหาคม – 23 สิงหาคม พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวอลเลย์บอลยุวชนชายชิงแชมป์โลก 2015 · ดูเพิ่มเติม »

วัดธรรมาธิปไตย

วัดธรรมาธิปไตย เดิมชื่อ วัดต้นมะขาม ตั้งอยู่ใกล้สี่แยกจุดตัดถนนอินใจมี กับถนนสำราญรื่น ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นที่ตั้งอาคารธรรมสภาซึ่งเป็นสถานที่เก็บรักษาบานประตูวิหารวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นประตูไม้แกะสลักที่มีความสวยงามที่สุดในจังหวัดอุตรดิตถ์และสวยงามเป็นที่สองรองจากบานประตูวัดสุทัศนเทพวราราม วัดธรรมาธิปไตยนั้นได้เคยเป็นที่ตั้งสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประจำจังหวัดอุตรดิตถ์อยู่ระยะหนึ่ง (อาคารธรรมสภาชั้นล่าง) ปัจจุบันเป็นวัดจำพรรษาของเจ้าคณะอำเภอตรอน และเป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาประจำจังหวัดเช่น กิจกรรมอบรมและการประกวดต่าง ๆ ในเทศกาลวันสำคัญทางพระพุทธศาสน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวัดธรรมาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันปลดปล่อย

วันปลดปล่อย คือวันสำคัญวันหนึ่งของหลายประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นวันที่ได้รับอิสรภาพ เป็นวันที่เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ อาทิการปฏิวัติ เช่นในคิวบา หรือสิ้นสุดการยึดครองทางทหารโดยรัฐอื่น อย่างใดอย่างหนึ่ง คล้ายกับวันเอกราชแต่ต่างกันที่ วันเอกราชถือเป็นวันที่แยกตัวออกเป็นอีกประเทศหนึ่ง ในขณะที่วันปลดปล่อยมิได้แยกประเทศ หรืออาจรวมประเทศ หมวดหมู่:วันสำคัญ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวันปลดปล่อย · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม บัคแลนด์

วิลเลียม บัคแลนด์ (William Buckland) (12 มีนาคม ค.ศ. 1784 - (14 สิงหาคม ค.ศ. 1856) วิลเลียม บัคแลนด์เป็นนักธรณีวิทยา และ นักบรรพชีวินวิทยาชาวอังกฤษ ผู้เกิดเมื่อวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1784 แอ็กซมินสเตอร์ในมณฑลเดวอนในอังกฤษ บัคแลนด์เป็นผู้เขียนหนังสือเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ของไดโนเสาร์อย่างละเอียดเป็นเล่มแรก และเป็นผู้สนับสนุนลัทธิปฐมกำเนิดของโลกเก่า (Old Earth creationism) ผู้ต่อมากลายมาเป็นผู้ที่มีความเชื่อในทฤษฎีธารน้ำแข็งของหลุยส์ อกาสซิส (Louis Agassiz) นักบรรพชีวินวิทยา นักธรณีวิทยา และนักธารน้ำแข็งวิทยาชาวสว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวิลเลียม บัคแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศ ที่เปิดสอนหลักสูตรประชากรศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษา นอกจากนี้ ยังเปิด "ศูนย์สารสนเทศทางประชากรศาสตร์" เพื่อให้บริการด้านการเผยแพร่ความรู้ด้านวิชาการและข้อมูลต่าง ๆ ด้านประชากรศาสตร์ให้แก่ผู้สนใจด้ว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ศิริศิลป์ โชติวิจิตร

ริศิลป์ โชติวิจิตร (ชื่อเล่น: กวาง) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2525 อดีตเป็นนักร้องนำของวง เอบีนอร์มัล และผ่านการประกวดนักร้องนำยอดเยี่ยมจากการประกวด Ac Music Contest มีผลงานเพลงกับเอบีนอร์มัลตั้งแต่ชุดอัลบั้ม ปกติ และร้องเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน ในปีถัดมา ปัจจุบันเป็นศิลปินเดี่ยว อีกทั้งยังเป็นนักแข่งรถยนต์และครูสอนดำน้ำ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและศิริศิลป์ โชติวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)

ูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) (Thai-Japan Bangkok Youth Center) หรือที่นิยมเรียกว่า สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ซึ่งก่อตั้งขึ้นจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น เนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อเวลา 16:45 นาฬิกา ของวันเสาร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2525 ศูนย์เยาวชนแห่งนี้ ตั้งอยู่ริมถนนมิตรไมตรี แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ภายในบริเวณประกอบด้วยสนามกีฬาประเภทต่างๆ คือสนามฟุตบอล พร้อมลู่วิ่งมาตรฐาน สนามแข่งขันกีฬาในร่มทุกประเภท เพื่อให้บริการแก่สมาชิก ซึ่งประกอบด้วยเยาวชน และประชาชนทั่วไป และมีการจัดฝึกสอนโดยผู้เชี่ยวชาญ ปัจจุบันมี "นายกรณิศ บัวจันทร์(2560)" เป็นผู้อำนวยการศูนย์ฯ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7

มเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 (Pius VII) มีพระนามเดิมว่า บาร์นาบา นิกโกเลาะ มาเรีย ลุยจี กีอารามอนตี (Barnaba Niccolò Maria Luigi Chiaramonti)ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2343 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2366 พระองค์เป็นนักพรตคณะเบเนดิกติน ทรงเชี่ยวชาญด้านเทววิทยา และเคยดำรงตำแหน่งบิชอปแห่งตีโวลีและบิชอปแห่งอีโมลา ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐมลายู

สหพันธรัฐมลายู เป็นสหพันธ์ที่รวมรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักรในคาบสมุทรมลายู ได้แก่ รัฐเซอลาโงร์ รัฐเประก์ รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน และรัฐปะหัง ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2438 หมวดหมู่:อดีตรัฐในอารักขาของอังกฤษ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศมาเลเซีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2428 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหพันธรัฐมลายู · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอิรักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

หพันธ์สาธารณรัฐอิรัก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหพันธ์สาธารณรัฐอิรักในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สายลม อาดี

อากาศเอก สายลม อาดี เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไทย สังกัดสโมสรกองทัพอากาศ (ท.อ.) และติดทีมชาติไปแข่งขันกีฬาซีเกมส์ เอเชียนเกมส์ และโอลิมปิกเกม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสายลม อาดี · ดูเพิ่มเติม »

สาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ

วน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ (Puella Magi Madoka Magica) เป็นอะนิเมะโทรทัศน์แนวสาวน้อยเวทมนตร์ โดยShaftและ Aniplex กำกับโดย อะคิยูกิ ชินโบ ออกแบบตัวละครโดย อุเมะ อาโอกิ ดนตรีประกอบโดย ยูกิ คะจิอุระ โดยอะนิเมะสิบตอนแรกได้ออกอากาศทางช่อง TBS และ MBS ตั้งแต่วันที่ 7 มกราคม 2554 จนถึงวันที่ 11 มีนาคม 2554 ส่วนสองตอนสุดท้ายถูกเลื่อนฉายออกไปเป็นวันที่ 21 เมษายน 2554 ด้วยเหตุเนื่องมาจากแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 สำหรับวิดีโอเกมสำหรับเครื่องเล่น PSP จะวางจำหน่ายในเดือนมีนาคม 2555.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาวน้อยเวทมนตร์ มาโดกะ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐมอลตา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐสหกรณ์กายอานา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐสหกรณ์กายอานาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐสิงคโปร์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐสิงคโปร์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอาหรับซีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐอาหรับซีเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐอาหรับซีเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐอิสลามอิหร่าน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐอิสลามอิหร่านในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐโคลอมเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐโคลอมเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐโคลอมเบียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

รณรัฐเฮติ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพระราชวัง

ำนักพระราชวัง (Bureau of the Royal Household; BRH) เป็นหน่วยงานของทางราชการมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลและรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชวัง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพย์สินและผลประโยชน์ในองค์ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บังคับบัญชาสำนักพระราชวัง และเลขาธิการพระราชวังเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชกิจราชการ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสำนักพระราชวัง · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม

งหาคม เป็นเดือนที่ 8 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนสิงหาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีสิงห์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกันย์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนสิงหาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปูและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต เดือนสิงหาคมเดิมใช้ชื่อในภาษาละตินว่า ซิกซ์ตีลิส (Sextilis) เนื่องจากเป็นเดือนที่ 6 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนเป็น August เพื่อเป็นเกียรติแด่ ออกัสตัส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เข้าไปโรมในชัยชนะของเจ้าทั้งตะวันออกและตะวันตก ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนสิงหาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสิงหาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสิงหาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สินี หงษ์มานพ

นี หงษ์มานพ เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2510 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการจอแก้วด้วยการเป็นนางเอกละครจักรๆ วงศ์ๆ โดยส่วนมากคู่กับ ชาตรี พิณโณ และ ศักดิ์สิทธิ์ ทวีกุล ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือ เทพสามฤดู, แก้วหน้าม้า, นางสิบสอง, พระสุธน-มโนราห์ ฯลฯ ต่อมาจึงมีผลงานละครอื่นๆ ตามมาเช่น ปราสาทมืด, ห้องหุ่น เป็นต้น ปัจจุบันสมรสแล้ว มีลูกชายที่อยู่ในวงการบันเทิงเช่นกัน ชื่อ นล หงษ์มาน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสินี หงษ์มานพ · ดูเพิ่มเติม »

สุขวิช รังสิตพล

วิช รังสิตพล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคความหวังใหม่ และพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสุขวิช รังสิตพล · ดูเพิ่มเติม »

สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ร.คุณหญิง สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (1 พฤษภาคม 2504 -) เป็นนักการเมือง เคยร่วมประท้วงในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อดีตรัฐมนตรีเคยดำรงตำแหน่งที่สำคัญในรัฐบาล พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ปัจจุบันเป็นประธานมูลนิธิไทยพึ่งไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถิติกรีฑาในการแข่งขันซีเกมส์

นี่คือ สถิติของกรีฑาในการแข่งขันซีเกม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสถิติกรีฑาในการแข่งขันซีเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์ซอคเก้อร์รายวัน

ตาร์ ซอคเก้อร์ รายวัน (Star Soccer Daily) หรือ สยามกีฬา/สตาร์ ซอคเก้อร์ (Siamsport/Star Soccer) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันขนาดแท็บลอยด์ ประเภทข่าวกีฬาฟุตบอล ฉบับแรกของประเทศไทย ในเครือสยามสปอร์ตซินดิเคท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสตาร์ซอคเก้อร์รายวัน · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 20 ของ การท่าเรือ ในลีกสูงสุดของไทย และเป็นฤดูกาลที่ 2 ของทีมใน ไทยลีกดิวิชัน 1.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 14 ของ อาร์มี่ ยูไนเต็ด ในฟุตบอล ไทยลีก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ สุพรรณบุรี ในฟุตบอล ไทยลีก ของสโมสรฟุตบอลสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลจังหวัดสุพรรณบุรีในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08

ใน ฤดูกาล 2007-08 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดแข่งขันอยู่ในเอฟเอพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด ฤดูกาล 2007-08 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ แบงค็อก ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ที่ได้ลงเล่นตั้งแต่ฤดูกาล 2552–2553 เป็นต้นมา และในฤดูกาล 2556, ได้มาใช้ในนามสโมสรว่า แบงค็อก ยูไนเต็.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลแบงค็อก ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559

ูกาล 2559 เป็นฤดูกาลที่ 6 ของ เชียงราย ยูไนเต็ด ใน ไทยลีก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลเชียงราย ยูไนเต็ดในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2556 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559

การแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ประจำปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ในฤดูกาล 2559 · ดูเพิ่มเติม »

หมวดโอภาส

หมวดโอภาส ยอดมือปร..คดีพิศวง เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทละครชุด หรือ ซีรีส์ (Series) ภาคต่อของ สายลับเดอะซีรีส์ กับ 24 คดีสุดห้ามใจ ผลิตโดยค่ายภาพยนตร์จีทีเอช และ จอกว้าง ฟิล์ม ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 20.40 น.–21.30 น. โดยเริ่มออกอากาศครั้งแรกวันเสาร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554 ต่อมา ให้ทำภาคต่อ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น หมวดโอภาส เดอะซีรีส์ ปี 2 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ทุกวันอาทิตย์ เวลา 16.00 น.– 17.00 น. โดยเริ่มออกอากาศครั้งแรกวันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและหมวดโอภาส · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล

หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2543) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับ หม่อมหลวงใหญ่ หรือ ลำดวน อิศรเสน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและหม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร

หม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร พระโอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ กับหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร ประสูติเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2439.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและหม่อมเจ้าอมรสมานลักษณ์ กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจเถื่อน

หัวใจเถื่อน เป็นบทประพันธ์ของ บุษยมาส เป็นเรื่องราวของครอบครัวพิชิตพงษ์ อดีต รมต.กวี และคุณหญิงอำภา พิชิตพงษ์ มีลูกชายสองคนคือ ภาคย์ และ ภากร แต่ภาคย์กลับไม่ได้รับความรักจากทั้งพ่อและแม่ มีเพียงนมพริ้งและอมาวสีเท่านั้นที่รักภาคย์ อมาวสีสูญเสียพ่อแม่จากอุบัติเหตุ ท่านกวีจึงรับเลี้ยงดูมาตั้งแต่เด็กๆ ภาคย์และอมาสีมีความรักและผูกพันต่อกัน จนวันหนึ่งภาคย์ตัดสินใจหนีออกจากบ้าน ผ่านไปสิบปีไม่มีใครคิดว่าภาคย์ยังมีชีวิตอยู่ จนวันหนึ่ง อมาวสีได้พบกับ ราช รัชภูมิ ชายหนุ่มที่ดูคล้ายภาคย์มาก แต่ทว่าเขากลับปฏิเสธแข็งขัน จนวันที่อมาวสีถูกบังคับให้แต่งงานกับภากรนั่นเอง ราชวางแผนลักพาตัวเธอไปไว้ยังบ้านไร่ ทั้งนี้เพื่อแก้แค้นคนในตระกูลพิชิตพงษ์ หรืออาจเป็นเพราะเค้าไม่อยากสูญเสียอมาวสีให้กับภากร หัวใจเถื่อน ถูกนำมาสร้างครั้งแรกในรูปแบบภาพยนตร์ ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและหัวใจเถื่อน · ดูเพิ่มเติม »

หงส์สะบัดลาย

หงส์สะบัดลาย เป็นบทประพันธ์โดย ช่อมณี บทโทรทัศน์โดย สถาพร สุชาติ ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ระหว่างวันที่ 14 สิงหาคม 2555 - 25 กันยายน 2555 นำแสดงโดย ณัฐวุฒิ สกิดใจ, เจนี่ เทียนโพธิ์สุวรรณ กำกับการแสดงโดย วีระชัย รุ่งเรือง.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและหงส์สะบัดลาย · ดูเพิ่มเติม »

อริสรา กำธรเจริญ

อริสรา กำธรเจริญ ผู้ประกาศข่าว และ นักแสดงหญิงชาวไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอริสรา กำธรเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อัมสเตอร์ดัมอาเรนา

อัมสเตอร์ดัมอาเรนา (AMSTERDAM ArenA) เป็นสนามกีฬาและลานแสดงในกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นสนามที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเนเธอร์แลนด์ สร้างขึ้นตั้งแต่ปี 1993 เสร็จสิ้นในปี 1996 โดยใช้จำนวนเงินไป 140 ล้านปอนด์ และเปิดให้ใช้บริการอย่างเป็นทางการในวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1996 สนามแห่งนี้ใช้สำหรับในการแข่งขันฟุตบอล อเมริกันฟุตบอล การแสดงคอนเสิร์ต และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย มีความจุทั้งหมด 52,342 ที่นั่งในการแข่งขันฟุตบอลและการแสดงคอนเสิร์ตมีความจุ 68,000 ที่นั่ง สนามแห่งนี้ยังเคยเป็นสถานที่สำคัญในการจัดแข่งขันรายการใหญ่ของฟุตบอลยุโรป เช่น การแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก รอบชิงชนะเลิศ 1998, การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 และการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีก รอบชิงชนะเลิศ 2013 สนามแห่งนี้เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลอาเอฟเซ อายักซ์ สโมสรฟุตบอลชื่อดังในเนเธอร์แลนด์ และยังเคยเป็นสนามเหย้าของทีมอเมริกันฟุตบอลอัมสเตอร์ดัมแอดมิรัลส์ แต่ได้ยุบทีมไปในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอัมสเตอร์ดัมอาเรนา · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉริยะข้ามคืน

อัจฉริยะข้ามคืน หรือ "อัจฉริยะข้ามคืน ปี 1"(One Night Genius) สร้างสรรค์รูปแบบรายการและควบคุมการผลิตโดย รุ่งธรรม พุ่มสีนิล ออกอากาศทุกวันจันทร์ เวลา 22.30 - 24.00 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3 (3 กรกฎาคม 2549 - 7 มกราคม 2551) ดำเนินรายการโดย ปัญญา นิรันดร์กุล และ แทนคุณ จิตต์อิสระ โดยในแต่ละสัปดาห์จะมีผู้ร่วมแข่งขัน 8 คนจาก 8 สาขา โดยสถานที่ถ่ายทำจะเปลี่ยนแปลงไปทุกสัปดาห์ และรูปแบบของรายการในปีที่ 2 ดูได้ที่ อัจฉริยะข้ามคืน ปี 2.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอัจฉริยะข้ามคืน · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ

อาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดฟอร์มใหญ่แห่งปี ค.ศ. 1998 เรื่อง Armageddon นำแสดงโดย บรูซ วิลลิส, ลิฟ ไทเลอร์, เบน แอฟเฟล็ก, โอเวน วิลสัน, บิลลี่ บ็อบ ทอร์นตัน, ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน, สตีฟ บูเซมี กำกับการแสดงโดย ไมเคิล เบย์ อำนวยการสร้างโดย เจอร์รี่ บรัคไฮเมอร.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอาร์มาเก็ดดอน วันโลกาวินาศ · ดูเพิ่มเติม »

อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์

ตราจารย์ อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ (Cali Khaliif Galayr, Ali Khalif Galaid, علي خليف غلير) (เกิด พ.ศ. 2484) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อาลี คาลิฟ กาลาอิร เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเธอร์ ปัญญโชติ

อาเธอร์ ปัญญะโชติ (14 สิงหาคม พ.ศ. 2505 -) ลูกครึ่งไทย-อเมริกัน เป็นบุตรชายคนเดียวของคุณพ่อชาวอเมริกันที่ทำงานด้านการโรงแรม ส่วนคุณแม่ของเขาคือ คุณเยาวนารถ ปัญญะโชติ อดีตนางเอกภาพยนตร์ชื่อดังของวงการบันเทิงไทยและร่วมแสดงภาพยนตร์ชื่อดังเรื่อง The Bridge on the River Kwai ที่ออกฉายทั่วโลกในช่วงปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอาเธอร์ ปัญญโชติ · ดูเพิ่มเติม »

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์

อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ (Isabella Stewart Gardner) (14 สิงหาคม ค.ศ. 1840-17 กรกฎาคม ค.ศ. 1924) อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์เป็นนักสะสมศิลปะ, นักการกุศลสังคม (philanthropist) และ นักอุปถัมภ์ศิลปะคนสำคัญชาวอเมริกัน งานสะสมศิลปะของอิซาเบลลา สจวตในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ที่บอสตันในรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา อิซาเบลลา สจวตบุตรีของเดวิดและอเดเลีย สจวตเกิดที่นครนิวยอร์ก และแต่งงานกับจอห์น โลเวลล์ “แจ็ค” การ์ดเนอร์ บุตรชายของจอห์น แอล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอิซาเบลลา สจวต การ์ดเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก

อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก (Hua Mark Indoor Stadium) เป็นสนามกีฬาในร่ม โดยใช้เป็นสนามสำรอง ตั้งอยู่ภายในสนามกีฬาหัวหมาก สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาต่าง ๆ ในระดับนานาชาติ เช่น มวยสากล, บาสเก็ตบอล, ฟุตซอล และ วอลเลย์บอล และใช้เป็นสนามสำหรับการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 ที่ กรุงเทพมหานครเป็นเจ้.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก · ดูเพิ่มเติม »

อุทัย พิมพ์ใจชน

นายอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 8 สมั.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอุทัย พิมพ์ใจชน · ดูเพิ่มเติม »

อดิศักดิ์ ไกรษร

อดิศักดิ์ ไกรษร เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นให้กับเมืองทอง ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก ได้รับฉายา "AK9" สโมสรที่ชื่นชอบของเขา คือ สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอดิศักดิ์ ไกรษร · ดูเพิ่มเติม »

อโรคา ตลาดนัดสุขภาพ

อโรคา ตลาดนัดสุขภาพ เป็นรายการวาไรตี้เกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งเป็นรายการนำเสนอเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ, เกร็ดความรู้สุขภาพ รวมถึงการทำงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในแต่ละพื้นที่ ว่ามีบทบาทต่อชุมชนนั้นอย่างไรบ้าง บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, กระทรวงสาธารณสุข และ สำนักงานกองทุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) ออกอากาศในวันที่ 14 สิงหาคม 2553 เวลา 20.15 - 21.05 น. (ปัจจุบันขยับเวลาออกอากาศมาเป็น 20.30 - 21.20น.) ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก และปรับเปลี่ยนชื่อรายการเป็น อโรคา ตลาดนัดสุขภาพ แทน ปาร์ตี้วิทยาศาสตร์ ตอน อโรคา ซายส์ ปาร์ตี้.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและอโรคา ตลาดนัดสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด

ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 ฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด (Hans Christian Ørsted, 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2394) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเดสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้าและความเป็นแม่เหล็ก หรือที่เรียกว่า ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2320 เขาเป็นศาสตราจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ ประจำมหาวิทยาโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก เออร์สเตดค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กด้วยความบังเอิญ ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2363 ขณะบรรยายวิชาฟิสิกส์ในหัวข้อ คุณสมบัติของกระแสไฟฟ้า (Electricity, Galvanism and Magnetism) โดยมีอุปกรณ์ในการทำการทดลองประกอบการบรรยาย คือ แบตเตอรี่ สายไฟ และเข็มทิศ เออร์สเตดได้ทำการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เข็มทิศจะเบนเมื่อมีฝนตกหนัก และฟ้าแลบ เพื่อลองดูว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเข็มทิศ ถ้าผ่านกระแสไฟเข้าไปในลวดตัวนำ เขานำลวดตัวนำตั้งฉากกับเข็มทิศและพบว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่หลังจากการบรรยายสิ้นสุด เออร์สเตดลองวางลวดตัวนำขนานกับเข็มทิศ และผ่านกระแสไฟฟ้าไปในลวดตัวนำ กลับพบว่าเข็มทิศกระดิก และเริ่มเบน การ ค้นพบนี้ทำให้เออร์สเตดเป็นบุคคลแรกที่ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า และแม่เหล็ก หรือนำไปสู่ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างแม่เหล็กกับไฟฟ้า (Electro Magnetism Theory) ต่อมาในวันที่ 11 กันยายน ปีเดียวกันนั้นเอง การค้นพบของเออร์สเตดได้ถูกไปนำเสนอที่ราชสมาคมฝรั่งเศส โดย โดมินิก ฟร็องซัวส์ ฌอง อราโก (Dominiqiue Francois Jean Arago) เขาระบุว่าการค้นพบนี้สำคัญไม่น้อยไปกว่าการค้นพบไฟฟ้า นอกจากนี้ยังมีนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสและชาวอังกฤษอีกหลายคนที่พยายาม แข่งขันเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เออร์สเตดค้นพบ โดยเฉพาะนักทดลองชาวฝรั่งเศสที่ชื่อ ฌอง แบพติสท์ บิโอต์ (Jean Baptiste Biot) และ เฟลิกซ์ ซาวาร์ (Felix Savart) เป็นนักฟิสิกส์คนแรกๆ ที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้อย่างละเอียดได้ นับได้ว่าการค้นพบของ ฮานส์ คริสเตียน เออร์สเตด ได้จุดประกายที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์หลายคนพยายามค้นพบเรื่องแม่เหล็กไฟฟ้า รวมถึง อังเดร มารี แอมแป (Andre Marie Ampere) ผู้ค้นพบทฤษฎีแม หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวเดนมาร์ก หมวดหมู่:นักเคมีชาวเดนมาร์ก หมวดหมู่:บุคคลจากภาคใต้ของเดนมาร์ก.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและฮันส์ คริสเทียน เออร์สเตด · ดูเพิ่มเติม »

ฮิซากิ ชูเฮย์

ซากิ ชูเฮย์ ตัวละครการ์ตูนจากเรื่องเทพมรณะ เป็นยมทูตรองหัวหน้าหน่วยที่ 9 แห่ง 13 หน่วยพิทักษ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและฮิซากิ ชูเฮย์ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจ กีเอลลีนี

อร์โจ กีเอลลีนี (Giorgio Chiellini) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1984 เป็นนักฟุตบอลชาวอิตาลี ปัจจุบันเป็นรองกัปตันทีมและเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลยูเวนตุสในเซเรียอา และฟุตบอลทีมชาติอิตาลี ในตำแหน่งกองหลัง.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและจอร์โจ กีเอลลีนี · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น กอลส์เวอร์ธี

อห์น กอลส์เวอร์ธี (John Galsworthy; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1867 – 31 มกราคม ค.ศ. 1933) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ เกิดที่เขตคิงส์ตันอะพอนเทมส์ เป็นบุตรของจอห์นและบลังเช (นามสกุลเดิม บาร์ทลีต) ไบเล่ย์ ครอบครัวของกอลส์เวอร์ธีมีฐานะ กอลส์เวอร์ธีเข้าเรียนที่โรงเรียนแฮร์โรว์และวิทยาลัยนิวเพื่อเป็นทนายความ แต่ต่อมากอลส์เวอร์ธีเลือกที่จะเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ เพื่อดูแลธุรกิจขนส่งของครอบครัว ระหว่างเดินทาง กอลส์เวอร์ธีได้เป็นเพื่อนกับนักเขียน โจเซฟ คอนราด ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและจอห์น กอลส์เวอร์ธี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฮะนะโซะโนะ

นหลวงของจักรพรรดิฮะนะโซะโนะ จักรพรรดิฮะนะโซะโนะ (Emperor Hanazono) จักรพรรดิองค์ที่ 95 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้บันทึกไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิฮะนะโซะโนะทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1851 - พ.ศ. 1861.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและจักรพรรดิฮะนะโซะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิติแบริอุสที่ 2

ักรพรรดิติแบริอุสที่ 2 กงสตันตีนุส หรือ เฟลเวียส ติแบริอุส กงสตันตีนุสัส ออกัสตัส (Tiberius II Constantine; Tiberios Konstantinos) (ราว ค.ศ. 520/ค.ศ. 535 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 582) ติแบริอุสทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ของราชวงศ์จัสติเนียน ผู้ทรงครองราชย์ระหว่างปี ค.ศ. 574 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 582 ระหว่างที่ทรงราชย์จักรพรรดิติแบริอุสพระราชทานทองจำนวน 7,200 ปอนด์ทุกปีเป็นเวลาสี่ปีJ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและจักรพรรดิติแบริอุสที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไดโงะ

ักรพรรดิไดโงะ (Emperor Daigo) จักรพรรดิองค์ที่ 60 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ตามที่ได้จัดเรียงไว้ใน รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น จักรพรรดิไดโงะทรงครอง ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ระหว่างปี ค.ศ. 897 - ค.ศ. 930 พระนามของจักรพรรดิไดโงะต่อมาได้ถูกนำไปเป็นพระนามของ จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ จักรพรรดิองค์ที่ 96 และจักรพรรดิองค์แรกแห่ง ราชสำนักเหนือ แห่ง ยุคราชสำนักเหนือ-ใต้ ในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 14.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและจักรพรรดิไดโงะ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอาเซอร์ไบจาน

งชาติอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan bayrağı) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็นสามแถบ แต่ละแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันมีสีฟ้า สีแดง และสีเขียว ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีแดงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวแปดแฉกสีขาว ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในระหว่างปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและธงชาติอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปากีสถาน

งชาติปากีสถาน มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวตั้ง ตอนต้นพื้นสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 4 ส่วนของความยาวธง ส่วนที่เหลือเป็นพื้นสีเขียว ภายในมีรูปพระจันทร์เสี้ยวและดาวห้าแฉกสีขาว ธงนี้ออกแบบโดย ไซเอ็ด อาเมียร์ อุดดิน เก็ดวาอี (Syed Amir uddin Kedwaii) โดยอาศัยต้นแบบจากธงสันนิบาตมุสลิม (Muslim League) สภาแห่งชาติปากีสถานได้ประกาศให้ใช้ธงนี้เป็นธงชาติ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชจากบริติชราชในวันถัดมา ในเพลงชาติปากีสถาน ได้กล่าวถึงธงชาติไว้ในชื่อ "ธงเดือนเสี้ยวและดาว" (ภาษาอูรดู: Parcham-e-Sitāra-o-Hilāl) พื้นสีเขียวในธงชาติ หมายถึงศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ แถบสีขาวที่ต้นธง หมายถึงศาสนาอื่นๆ ของชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในปากีสถาน รูปพระจันทร์เสี้ยวที่กลางธงหมายถึงความก้าวหน้า ส่วนดาวห้าแฉกสีขาวคือแสงสว่างและความรู้ ความหมายของธงโดยรวมจึงหมายถึงศาสนาอิสลาม โลกอิสลาม และสิทธิของชนกลุ่มน้อยผู้นับถือศาสนาอื่น ธงชาติปากีสถานจะใช้ประดับในโอกาสสำคัญต่างๆ ของแต่ละปี เช่น วันสาธารณรัฐ (23 มีนาคม) และวันเอกราช (14 สิงหาคม) เป็นต้น เดิมธงชาติปากีสถานออกแบบโดย มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ ผู้ก่อตั้งประเทศปากีสถาน ลักษณะเป็นธงพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวสีขาว ใช้ในสันนิบาตมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) ในฐานะเป็นสัญลักษณ์ของเป้าหมายในการตั้งรัฐเอกราชของชาวมุสลิม แถบสีขาวได้ถูกเพิ่มเข้ามาในภายหลังเมื่อปากีสถานประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2490 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนชนกลุ่มน้อยอื่น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและธงชาติปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ทางผ่านกามเทพ

ทางผ่านกามเทพ เป็นละครโทรทัศน์ สร้างจากบทประพันธ์ของ กรุง ญ.ฉัตร โดยมีการนำมาสร้างมาแล้วทั้งหมด 2 ครั้งโดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและทางผ่านกามเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ข้ามากับพระ

้ามากับพระ เป็นละครโทรทัศน์ไทย แนวบู๊ แอ็กชั่น เคยเป็นภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและข้ามากับพระ · ดูเพิ่มเติม »

ณุศรา ประวันณา

นุศรา ประวันณา หรือ หลิน เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2519 เป็นนักแสดงชาวไทย เข้สู่วงการบันเทิงจากการประกวด The Boy Model Contest เธอมีชื่อเสียงจากการเป็นนางเอกในภาพยนตร์เรื่อง เสียดาย ซึ่งเป็นผลงานชิ้นแรกของเธอ จากการชักชวนของผู้ช่วยผู้กับกันภาพยนตร์เรื่องเสียดาย นอกจากนี้ยังมีผลงานอื่นๆตามมาได้แก่ ถ่ายแบบนิตยสารวัยรุ่น และแสดงละครโทรทัศน์ เช่น เพลิงบุญ, จากวันนี้ไป ให้เธอคนเดียว, ปีหนึ่งเพื่อนกัน และวัน(อัศจรรย์)ของผม, หนุ่มทิพย์, รักประกาศิต และละครเรื่อง แรงเงา เป็นต้น ปัจจุบันยังคงมีผลงานในวงการบันเทิงอย่างต่อเนื่อง เธอเคยออกอัลบั้มเพลงลูกทุ่งภายใต้สังกัดยูทู เรคคอร์ด ในขณะออกอัลบั้มนั้นได้ใช้ชื่อ หลิน พัชร์พิชา ปวันรักษ์พงศ์ ออกอัลบั้มจำนวน 1 ชุด ร่วมกับ ดวงตา คงทอง, ลิซ่า ไปรพิศ และ จิ้งหรีดขาว วงศ์เทวัญ ชื่ออัลบั้มว่า "ช่อมาลี 4 ใบเถา" ในปีพ.ศ. 2546.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและณุศรา ประวันณา · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต เฉลิมแสน

ต เฉลิมแสน เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวไทยในตำแหน่งกองหลัง โด่งดังมาจากทีมชาติไทยยุคดรีมทีม ปัจจุบันเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนของประจวบ เอฟซี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและดุสิต เฉลิมแสน · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ (อาจยกเว้นประเทศเจ้าภาพที่สามารถมีผู้เข้าแข่งขันเกิน 4 คนได้) แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะคามิลเลียน

ณะผู้รับใช้ผู้ป่วย (Ordo Clericorum Regularium Ministrantium Infirmis; Order of the Ministers of the Sick) หรือคณะนักบุญคามิลโล (Order of St. Camillus) หรือที่รู้จักในนามคณะคามิลเลียน (Camillians) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกที่นักบุญกามิลโล เด เลลลิส ก่อตั้งขึ้น เน้นพันธกิจด้านการพยาบาลผู้ป่ว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและคณะคามิลเลียน · ดูเพิ่มเติม »

คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาโรคต่าง ๆ ในเขตร้อน เป็นคณะด้านนี้แห่งเดียวในประเทศไทย และเป็นคณะที่มีผลงานวิจัยจำนวนมากตีพิมพ์ในวารสารระดับโลก นอกจากนี้ คณะยังมีโรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ที่เปิดให้การรักษาพยาบาลเฉพาะทางด้านโรคเขตร้อน อายุรกรรมทั่วไป และอายุรกรรมเฉพาะทางหลากหล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Faculty of Economics, Khon Kaen University) เป็นหน่วยงานอิสระเทียบเท่าระดับคณะวิชา ภายในกำกับของมหาวิทยาลัยขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 18 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเป็นคณะวิชาที่โอนย้ายมาจาก "คณะวิทยาการจัดการ" (ปัจจุบัน คือ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันเดือด

ตะวันเดือด เป็นละครโทรทัศน์ไทย ในปี พ.ศ. 2554 ออกอากาศทางช่อง 3 ทุกวันศุกร์ เวลา 20.30 - 22.30 น. เสาร์ - อาทิตย์ เวลา 20.15 - 22.15 น. นำแสดงโดย ปริญ สุภารัตน์, อุรัสยา เสปอร์บันด์, ธนวรรธน์ วรรธนะภูติ และ ชาลิดา วิจิตรวงศ์ทอง ก่อนหน้านี้ ตะวันเดือด เคยเป็นภาพยนตร์เมื่อปี พ.ศ. 2532 กำกับการแสดงโดย สุรพล อุระชื่น นำแสดงโดย ฉัตรชัย เปล่าพานิช, ไพชญิน เอี่ยมนาค, ศิริพร มารอนนี่, ลักษณ์ อภิชาติ และภูมิ พัฒนายุท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและตะวันเดือด · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานโหดโคตรไอ้เคี่ยม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและตำนานโหดโคตรไอ้เคี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ตแชสวัฟ มีวอช

ตแชสวัฟ มีวอช (Czesław Miłosz,; 30 มิถุนายน ค.ศ. 1911 – 14 สิงหาคม ค.ศ. 2004) เป็นนักเขียนและกวีชาวโปแลน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและตแชสวัฟ มีวอช · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรชัย เอียสกุล

ฉัตรชัย เอียสกุล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดหนอง.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและฉัตรชัย เอียสกุล · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตร์ชัย บุตรดี

อก ฉัตร์ชัย บุตรดี (ชื่อเล่น: สด; สังกัดกองทัพภาคที่ 1) เกิดวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2528 ที่อำเภอตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี (ปัจจุบัน คือ จังหวัดสระแก้ว) เป็นนักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและฉัตร์ชัย บุตรดี · ดูเพิ่มเติม »

ซัมเมอร์สแลม (2011)

ซัมเมอร์สแลม (2011) เป็นรายการ เพย์-เพอร์-วิว ของ WWE ในปี 2011 ซึ่งจัดเป็นปีที่ 24 แล้ว สถานที่จัดคือ Staples Center ใน Los Angeles, California เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและซัมเมอร์สแลม (2011) · ดูเพิ่มเติม »

ซัมเมอร์ไทม์กอน

ซัมเมอร์ไทม์กอน (SUMMER TIME GONE) เป็นซิงเกิลที่ 34 ของไม คุรากิ ออกจำหน่ายวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2553 เพลงดังกล่าวจะนำไปประกอบในอะนิเมะยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้ยังนำไปใช้ในโฆษณาเครื่องสำอางเอสปริกพรีเชียสของโคเซะ (KOSE ESPRIQUE PRECIOUS) อีกด้ว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและซัมเมอร์ไทม์กอน · ดูเพิ่มเติม »

ซันไรส์/ซันเซต~เลิฟอิสออล~

ซันไรส์/ซันเซต~เลิฟอิสออล~ เป็นผลงานซิงเกิลที่ 47 ของอายูมิ ฮามาซากิ วางขายในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ในรูปแบบดับเบิล เอ ไซด์ ซิงเกิล เพลง "Sunrise ~LOVE is ALL~" เป็นเพลงประกอบละครเรื่อง "ดันเดย์ ดาเดย์?~เรนไอโชเซะทสึกะ~" ทางช่องทีวีอาซาฮี และเป็นเพลงประกอบโฆษณา MUSICO ของระบบเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ NTT ส่วนเพลง "Sunset ~LOVE is ALL~" เป็นเพลงประกอบโฆษณา music.jp และโฆษณากล้องดิจิตอล LUMIX FX60 ของพานาโซน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและซันไรส์/ซันเซต~เลิฟอิสออล~ · ดูเพิ่มเติม »

ซีลอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ซีลอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและซีลอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ซีโร่ (เพลงซีล)

ZERO เป็นซิงเกิลของ ซีล ในปี พ.ศ. 2559 สังกัดค่ายเพลงมิวสิกมูฟเรคคอร์ดส ในเครือมิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ ประพันธ์คำร้อง-แต่งทำนองโดย ปฏิเวธ อุทัยเฉลิม และเรียบเรียงโดย ซีล เพลงนี้ออกจำหน่ายครั้งแรกในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 โดย Zero ในความหมายของเพลงนี้ เปรียบเสมือนพลังงานบวกที่อยากส่งถึงคนฟังเพื่อเป็นกำลังใจในการใช้ชีวิตให้ได้ลองทำในสิ่งที่ไม่เคย หรือไม่กล้า พวกเขาเชื่อว่าความสำเร็จเริ่มจากกล้าลงมือเท่านั้น เนื้อหาเป็นเรื่องราวที่เป็นไปไม่ได้ แต่ขอเพียงคุณมีความกล้าที่จะก้าวผ่านเท่านั้น เพลงนี้เหมือนเราต้องต่อสู้กับตัวเองอีกครั้งนึง ต้องแนะนำตัวเองใหม่เหมือนเริ่มจากศูน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและซีโร่ (เพลงซีล) · ดูเพิ่มเติม »

ประชา คุณะเกษม

ประชา คุณะเกษม 29 ธันวาคม พ.ศ. 2477—8 ตุลาคม พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประชา คุณะเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศพม่า เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศพม่าในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศอุรุกวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศอุรุกวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศปากีสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศปากีสถานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศปานามา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1936

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 11..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2395

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2395 ในประเทศไท.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศไทยใน พ.ศ. 2395 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

ประเทศไทย เข้าร่วมการแข่งขันใน โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ครั้งที่ 29 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ฮ่องกง ชิงเต่า ชิงหวงเต่า เซี่ยงไฮ้ และเสิ่นหยาง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 8 สิงหาคม ถึง 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551 โดยได้เหรียญทั้งหมด 5 เหรียญ: เหรียญทอง 2 เหรียญจาก สมจิตร จงจอหอ และประภาวดี เจริญรัตนธารากูล เหรียญเงิน 2 เหรียญจาก มนัส บุญจำนงค์ และบุตรี เผือดผ่อง และเหรียญทองแดง 2 เหรียญจาก เพ็ญศิริ เหล่าศิริกุล และวันดี คำเอี่ยม ซึ่งประเทศไทยได้อันดับที่ 30 ของการแข่งขันครั้งนี้.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเวเนซุเอลา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเวเนซุเอลาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเปรู เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเปรูในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 10..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948

ปวยร์โตรีโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1948 · ดูเพิ่มเติม »

ปาฏิหาริย์รักข้ามขอบฟ้า

ปาฏิหาริย์รักข้ามขอบฟ้า เป็นนวนิยายไทย จากบทประพันธ์โดยนามปากกาของ "บุษบาพาฝัน" ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2558 เขียนบทโทรทัศน์โดย ปะณะ กำกับการแสดงโดย บัณฑิต ทองดี ดำเนินงานโดย บริษัท รักละคร จำกัด ควบคุมการผลิตโดย พลังธรรม กล่อมทองสุข นำแสดงโดย วฤษฎิ์ ศิริสันธนะ, ลักษณ์นารา เปี้ยทา และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558–20 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 18.35 - 19.50 น. ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (ออริจินัล) และทีวีดิจิตอล ช่อง 3 เอชดี ช่อง 33.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและปาฏิหาริย์รักข้ามขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ปีกมาร

ปีกมาร เป็นนวนิยาย บทประพันธ์โดย นันทนา วีระชน เจ้าของบทประพันธ์ชื่อดัง "แรงเงา" ที่เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มา 3 ครั้งแล้ว ครั้งแรกสร้างเป็นภาพยนตร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและปีกมาร · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

นพรัตนราชศิราภรณ์มงคล

นพรัตนราชศิราภรณ์มงคล เป็นมงกุฎที่รัฐบาลไทยจัดสร้างถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เป็นมงกุฎที่รัฐบาลได้ทูลเกล้าฯ ถวาย ในงานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในวโรกาสที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2535 มงกุฎเพชรดังกล่าวทำด้วยทองคำหนัก 2 กิโลกรัมผ่านกรรมวิธีผสมให้เป็นทองลูกบวบแบบทองสมัยโบราณมีเพชรประธาน 1 เม็ด น้ำหนัก 2.7 กะรัต กว้าง 9 มิลลิเมตร เจียระไนจากประเทศเบลเยี่ยม และประดับด้วยเพทายขาวอีกกว่า 600 เม็ด อย่างไรก็ตาม ยังไม่พบข้อมูลว่าสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จะเคยทรงมงกุฎองค์นี้ปรากฏตามสื่อต่างๆหรือไม่ หมวดหมู่:เครื่องราชูปโภค.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและนพรัตนราชศิราภรณ์มงคล · ดูเพิ่มเติม »

นอร์แมน ซัตตัน

"ครู" นอร์แมน ซัตตัน อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบ นายนอร์แมน ซัตตัน (Norman Sutton – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2424 – 24 ธันวาคม พ.ศ. 2493) ซึ่งนักเรียนและคนทั่วไปในสมัยนั้นเรียกท่านว่า "ครูซัตตัน"อาจารย์ใหญ่โรงเรียนปทุมคงคา รักษาการณ์อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้วางโครงการเพิ่มหลักสูตรวิชาคำนวณและภาษาฝรั่งเศส เสนอให้นักเรียนสอบชิงทุนเล่าเรียนหลวงเป็นนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 8 แทนนักเรียนมัธยมปีที่ 6 และปรับปรุงหลักสูตรและวิธีการสอนให้เข้มไปพร้อมจริยศึกษาและพลศึกษา ความเข้มงวดในการอบรมสั่งสอนลูกศิษย์ให้เป็นคนดีของครูซัตตันเป็นที่เลื่องลือในบรรดาลูกศิษย์และมีการเล่าต่อๆ กันมาอีกหลายรุ่น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและนอร์แมน ซัตตัน · ดูเพิ่มเติม »

นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ นำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (2 สมัย) อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ที่ดำรงตำแหน่งเป็นคนสุดท้ายก่อนได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและนำยุทธ สงค์ธนาพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอเมริกันเกมส์

ัญลักษณ์ขององค์การกีฬาแพนอเมริกัน แพนอเมริกันเกมส์ (Pan American Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลักในทวีปอเมริกา มีนักกีฬาเข้าแข่งขันนับหลายพันคน แพนอเมริกันเกมส์เป็นงานมหกรรมกีฬาใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองรองจากโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันจัดขึ้นระหว่างนักกีฬาจากชาติทวีปอเมริกา จัดขึ้นทุกสี่ปีก่อนกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน มีการจัดกีฬาแพนอเมริกันเกมส์ฤดูหนาวครั้งหนึ่งใน..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแพนอเมริกันเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนอเมริกันเกมส์ 1983

กีฬาแพนอเมริกันเกมส์ 1983 (1983 Juegos Panamericanos) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่การากัส ประเทศเวเนซุเอลา ระหว่างวันที่ 14 - 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแพนอเมริกันเกมส์ 1983 · ดูเพิ่มเติม »

แกะกล่องหนังไทย

แกะกล่องหนังไทย (Golden Film; ในอดีตถ้าหากอยู่ในช่วงฉายภาพยนตร์ต่างประเทศจะใช้ชื่อรายการว่า แกะกล่องหนังเทศ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกการฉายหนังต่างประเทศไปแล้ว) เป็นรายการภาพยนตร์ที่ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 22.05 - 23.45 น.ทาง สถานีโทรทัศน์ทีวีไทย เป็นรายการโทรทัศน์ที่มีจุดมุ่งหมายในการนำเอาภาพยนตร์ไทยที่มีคุณค่าทั้งเก่าและใหม่ นำมาเสนอฉายทางโทรทัศน์ โดยไม่หวังผลในการแสวงหากำไร เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รับรู้ถึงคุณค่าของภาพยนตร์ไทยทั้งเก่าและใหม่ อันเป็นรากเหง้าที่สะท้อนให้เห็นถึง ภูมิปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการอันวิจิตรของคนรุ่นก่อน เพื่อสืบทอดมายังคนรุ่นปัจจุบัน และอนุรักษ์คุณค่าของภาพยนตร์ไทยสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป แกะกล่องหนังไทย เริ่มออกอากาศครั้งแรก ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงแรกของรายการแกะกล่องหนังไทยนั้น จะฉายภาพยนตร์ไทยสลับกับภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยในส่วนของภาพยนตร์ต่างประเทศนั้น จะใช้ชื่อรายการว่า "แกะกล่องหนังเทศ" แต่เนื่องจากว่ามีความซ้ำซ้อนกับรายการ บิ๊กซินีม่าของช่อง 7 ที่ฉายหนังต่างประเทศอยู่เช่นเดียวกัน ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จึงได้มีการฉายหนังไทยมาอย่างต่อเนื่องโดยไม่กลับไปฉายหนังต่างประเทศอีก รายการแกะกล่องหนังไทยได้ยุติการออกอากาศไปใน..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแกะกล่องหนังไทย · ดูเพิ่มเติม »

แมกซิมิเลียน คอลบี

อนุสาวรีย์ของคอลบีแห่งแรก ตั้งอยู่ในโปแลนด์ นักบุญแมกซิมิเลียน มาเรีย คอลบี (Maximilian Maria Kolbe, 8 มกราคม ค.ศ. 1894 - 14 สิงหาคม ค.ศ. 1941) นักบุญในคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นไฟรอาร์คณะฟรันซิสกันคอนเวนชวล (Conventual Franciscan) ชาวโปแลนด์ ผู้อาสาตายแทนคนแปลกหน้าที่ชื่อว่า ฟรานซิส กาโยนิเชค ซึ่งเป็นเชลยในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ ซึ่งตั้งอยู่ในโปแลนด์ใต้อาณัติเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาได้รับการประกาศเป็นนักบุญและมรณสักขีแห่งเมตตาธรรมเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแมกซิมิเลียน คอลบี · ดูเพิ่มเติม »

แมจิก จอห์นสัน

ออร์วิน "แมจิก" จอห์นสัน เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1959 เป็นนักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน เขาเป็นนักบาสที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดคนหนึ่งในลีกบาสเก็ตบอลอาชีพอย่าง เอ็นบีเอ ด้วยความสูงถึง 6 ฟุต 9 นิ้ว หนัก 255 ปอนด์ เออร์วิน จอห์นสัน เป็นผู้เล่นตำแหน่ง พอยท์การ์ด ที่ตัวสูงที่สุดคนหนึ่งเลยทีเดียว ทั้งๆที่ปกติตำแหน่งนี้เหมาะกับคนตัวเล็กๆเพราะจำเป็นที่จะต้องเลี้ยงลูกครองบอล ซึ่งปกติคนตัวสูงๆจะทำไม่ได้ดีนัก แต่สำหรับ แมจิก จอห์นสัน คนนี้แล้ว มันไม่ใช่อุปสรรคสำหรับเขาเลย ด้วยความสามารถของเขาที่หาจับตัวได้ยาก เออร์วิน จอห์นสัน ได้ฉายา แมจิก ซึ่งก็สมควรจะถูกขนานนามอย่างนั้น เพราะการที่สามารถควบคุมบอลได้คล่องแล้วราวกับคนตัวเล็กๆ, ความสามารถที่ไม่มีใครเทียบได้ และ นิสัยอารมณ์ดี ทั้งหมดนี้จึงไม่แปลกที่เขาจะเป็นฮีโร่ในดวงใจของเด็กๆหรือเหล่านักบาสทั่วโลก ในสมัยที่ แมจิก จอห์นสัน เล่นให้กับมหาวิทยาลัยอย่าง มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต แมจิก จอห์นสัน เป็นเหมือนกับคู่แข่งกับตำนานอีกคนอย่าง แลรี่ เบิร์ด ทั้งคู่สู้กันมาตั้งแต่เกมระดับ เอ็นซีดับเบิลเอ (NCAA ลีกระดับมหาวิทยาลัย) จนกระทั่งไปถึง เอ็นบีเอ เลยทีเดียว โดย แมจิก จอห์นสัน ถูกดราฟท์โดยทีมชื่อดังอย่าง ลอสแอนเจลิส เลเกอรส์ ในปี 1991 เขาออกมาประกาศว่าเขาเป็นหนึ่งในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี พร้อมยอมรับว่ามีเพศสัมพันธ์กับหญิงสาวมากหน้าหลายตา แต่ภรรยาและลูกของเขามีผลการตรวจเลือดเป็นลบ (Negative) จากนั้นก็เขาได้ประกาศรีไทร์ ปัจจุบันเขายังมีร่างกายแข็งแรง และยังทำหน้าที่รณรงค์การป้องกันโรคเอดส์ตลอดม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแมจิก จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

แม่มดน้อยโดเรมี

ูแม่มดน้อยโดเรมี (Magical Doremi) เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น แนวสาวน้อยเวทมนตร์ แบบออริจินอล (แต่งเรื่องขึ้นมาเอง ไม่ได้สร้างจากหนังสือการ์ตูน) ที่ทาง โตเอแอนิเมชัน ไม่ได้สร้างมานานถึง 15 ปี แต่งโดย อิซึมิ โทโด ต่อมาได้ถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ มังงะ (วาดโดย ชิซึเอะ ทาคานาชิ) และเกม หลายภาคด้วยกัน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแม่มดน้อยโดเรมี · ดูเพิ่มเติม »

แล้วเราจะได้รักกันไหม

"แล้วเราจะได้รักกันไหม" เป็นเพลงประกอบละครโทรทัศน์ซีรีส์ฟอร์มยักษ์เรื่อง ไรซิงซัน ตอน รอยฝันตะวันเดือด ประพันธ์คำร้องโดย ณรงค์วิทย์ เตชะธนะวัฒน์ แต่งทำนองและเรียบเรียงโดย นวโกเมศ เกรียงไกร ขับร้องโดยณเดชน์ คูกิมิยะ และ อุรัสยา เสปอร์บันด์ เป็นการจับไมค์ร้องเพลงร่วมกันครั้งแรกของ ณเดชน์และญาญ่า เป็นการประสานสองพลังเสียง ระหว่างหนึ่งเสียงนุ่มอบอุ่น และหนึ่งเสียงใสซึ้ง สร้างสีสันใหม่ๆให้กับทั้งคู่ มิวสิกวีดิโอเพลงนี้เผยแพร่ครั้งแรกในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2557 โดยเนื้อหาเพลงนั้นพูดถึงคนปากไม่ตรงกับใจ ไม่กล้าบอกความรู้สึกที่แท้จริงออกมา ทั้งที่หัวใจเต็มไปด้วยความรักที่ยิ่งใหญ่ จริงจัง บอกเล่าความขัดแย้งของปากกับใจได้เป็นอย่า­งดี เพลงนี้ได้รับรางวัลเพลงประกอบละครแห่งปี จากงานจีเมมเบอร์ อวอร์ด และได้รับรางวัลเพลงยอดนิยมจาก 3 สถาบันรางวัล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแล้วเราจะได้รักกันไหม · ดูเพิ่มเติม »

แฮลลี เบร์รี

แฮลลี มาเรีย เบร์รี (Halle Maria Berry) เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1966 ที่คลีฟแลนด์ โอไฮโอ สหรัฐอเมริกา เมื่ออายุ 17 ปี เธอชนะการประกวดมิสทีนออล อเมริกัน พีเจียน ซึ่งเป็นตัวแทนของรัฐโอไฮโอในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแฮลลี เบร์รี · ดูเพิ่มเติม »

แคนาด อินส์ สเตเดียม

แคนาด อินส์ สเตเดียม (Canad Inns Stadium) เป็นสนามฟุตบอลชั่วคราวตั้งอยู่ที่วินนิเพก รัฐแมนิโทบา ประเทศแคนาดา ในปี ค.ศ. 1999 สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสนามกีฬาหลักของแพนอเมริกันเกมส์ 1999 หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในประเทศแคนาดา หมวดหมู่:สนามกีฬาในประเทศแคนาดา.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและแคนาด อินส์ สเตเดียม · ดูเพิ่มเติม »

โมเดิร์นไนน์การ์ตูน

อง 9 การ์ตูน (เดิมใช้ชื่อว่า โมเดิร์นไนน์การ์ตูน) เป็นรายการโทรทัศน์การ์ตูนเช้าวันหยุดสำหรับเด็กที่ออกอากาศทาง ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี ทุกวันเสาร์ตั้งแต่เวลา 08.30-10.30 น. และวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 08.00-10.30 น. โดยเริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2523 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโมเดิร์นไนน์การ์ตูน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนธัญบุรี

รงเรียนธัญบุรี เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา และเป็นโรงเรียนประจำอำเภอธัญบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 2 พหลโยธิน 94 ตประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ใกล้กับโรงพยาบาลธัญญารักษ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโรงเรียนธัญบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอซาดะ

โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ เป็น โชกุน คนที่ 13 แห่ง ตระกูลโทะกุงะวะ (ช่วงสมัย: 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1837 ถึง 14 สิงหาคม ค.ศ. 1853) เป็นบุตรชายคนที่สี่ของโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะโยะชิ เกิดกับนางฮงจูอิน (Honju-in, 本寿院) ในสมัยของท่านต้องเผชิญกับภัยอันตรายทั้งจากภายในและนอกประเทศ เช่น ในปีแรกของการดำรงตำแหน่งคือในปี ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) ญี่ปุ่นถูกกองทัพเรือสหรัฐเข้าปิดล้อมอ่าวโตเกียวเพื่อบังคับให้เปิดประเทศ และภัยจากในประเทศคือกลุ่มคนบางกลุ่ม ซึ่งนำโดยเหล่า ซามูไร และ ไดเมียว ที่ต้องการโค่นล้ม ตระกูลโทะกุงะวะ โชกุน โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1858 ขณะอายุได้เพียง 34 ปีโดยไร้ทายาท แต่ก่อนจะเสียชีวิตโชกุนอิเอะซะดะได้แต่งตั้งให้ โทะกุงะวะ อิเอะโมจิ ผู้เป็นญาติขึ้นเป็นโชกุนคนใหม่สืบต่อไป หมวดหมู่:โชกุน หมวดหมู่:ตระกูลโทะกุงะวะ หมวดหมู่:ยุคเอะโดะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโทกูงาวะ อิเอซาดะ · ดูเพิ่มเติม »

โทกูงาวะ อิเอโมจิ

โทะกุงะวะ อิเอะโมะชิ (ญี่ปุ่น: 徳川家茂) เป็นโชกุนคนที่ 14 เกิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1846 ที่ย่าน มินะโตะ ดำรงตำแหน่งโชกุนสืบต่อจาก โทะกุงะวะ อิเอะซะดะ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 1858 ขณะอายุได้เพียง 12 ปีตลอด 8 ปีแห่งการดำรงตำแหน่งโชกุนอิเอะโมะชิต้องเผชิญภัยทั้งภายในและภายนอกโทะกุงะวะ อิเอะโมะชิถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1866 ขณะอายุได้เพียง 20 ปี 1 เดือน 12 วัน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2389 หมวดหมู่:โชกุน หมวดหมู่:การฟื้นฟูสมัยเมจิ หมวดหมู่:ตระกูลโทะกุงะวะ หมวดหมู่:บุคคลในยุคเอะโดะ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโทกูงาวะ อิเอโมจิ · ดูเพิ่มเติม »

โทระโดระ! ยายเสือใสกับนายหน้าโหด

ทระโดระ! ยายเสือใสกับนายหน้าโหด เป็นไลท์โนเวล แต่งโดย ยูยูโกะ ทาเคมิยะ และวาดภาพประกอบโดย ยาสึ วางจำหน่ายเล่มแรกเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2006 ส่วนเล่ม 10 เป็นเล่มจบของฉบับไลท์โนเวล วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2009 โดยสำนักพิมพ์ เด็งเงคิ บุงโกะ ในเครือ ASCII มีเดียเวิร์กส และมีนิยายที่มีเนื้อเรื่องแยกออกมาจากเนื้อเรื่องหลัก ใช้ชื่อว่า โทระโดระ สปริน-ออฟ! วางจำหน่ายเล่มแรกเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2007 และมังงะวาดโดย เซคเคียว ลงในนิตยสาร Dengeki Comic Gao! ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2007 สำนักพิมพ์ เด็งเงคิ คอมิคส์ โดยหลังจากนิตยสาร Dengeki Comic Gao! ปิดตัวลง วันที่ 27 มกราคม 2008 ก็ได้รับการตีพิมพ์ต่อในนิตยสาร Dengeki Daioh ในวันที่ 21 มีนาคม 2008 มีการจัดทำรายการวิทยุทางอินเทอร์เน็ต โดยเริ่มเมื่อเดือนกันยายน 2008 จัดรายการโดย Animate TV ส่วนอะนิเมะ เรื่องนี้ผลิตโดย J.C.Staff ฉายทางช่อง TV Tokyo เริ่มฉายในวันที่ 2 ตุลาคม 2008, ส่วนเกมวิชช่วลโนเวล พัฒนาโดย Namco Bandai Games ลงในเครื่อง เพลย์สเตชันพอร์เทเบิล จะวางจำหน่ายในวันที่ 30 เมษายน 2009 ในชื่อเรื่อง โทระโดระ! เป็นการนำชื่อสองตัวละครหลัก ไอซากะ ไทกะ กับ ทาคาสุ ริวจิ โดยชื่อของไทกะ มาจากคำว่า ไทเกอร์ แปลว่า เสือ ในภาษาอังกฤษ ซึ่ง เสือในภาษาญี่ปุ่นก็คือ โทระ ในส่วนแรกของชื่อริวจิก็คือ ริว แปลว่า มังกร ในภาษาญี่ปุ่น และ ดราก้อนในภาษาญี่ปุ่นจะอ่านว่า โดรากอน.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโทระโดระ! ยายเสือใสกับนายหน้าโหด · ดูเพิ่มเติม »

โดดเดี่ยวด้วยกัน

"โดดเดี่ยวด้วยกัน" เป็นซิงเกิลของวงดนตรีเก็ทสึโนวา ร่วมกับ แพรวา Yellow fang ประพันธ์เนื้อร้อง-แต่งทำนองโดย ปณต คุณประเสริฐ และเรียบเรียงโดย ปณต คุณประเสริฐ,คชภัค ผลธนโชติ,อนันต์ ดาบเพ็ชรธิกรณ์ ออกจำหน่ายในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2558 มิวสิควิดีโอนี้ เผยแพร่ครั้งแรกในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เวลา 20:00 น. กำกับโดย อั๋น-ประพัฒน์ คูศิริวานิชกร เนื้อหามิวสิควิดีโอพูดถึงคนสองคนที่ต่างคนต่างอยู่คนเดียว โดยในเอ็มวีนี้ จะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ไม่สัมพันธ์กันของสองคนนี้ สะท้อนคนในยุคนี้ที่เห็นได้จากในโซเชี่ยลมักจะมีกระทู้เกี่ยวกับ คนที่อยู่โดดเดี่ยวเยอะมาก ในปี..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโดดเดี่ยวด้วยกัน · ดูเพิ่มเติม »

โซ เหลียง อิง

น.ส.โซ เหลียง อิง หรือ หมวยโซ นางสาวโซ เหลียง อิง หรือที่นิยมเรียกกันจนติดปากว่า หมวยโซ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2515 เป็นชาวฮ่องกง มีชื่อเสียงโด่งดังจากการเป็นข่าวในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2546 เมื่อเจ้าตัวไปแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจโดยกล่าวว่า ตนเป็นนักข่าวอิสระ ถูกคนขับรถตุ๊กตุ๊ก ชื่อ นายทองใบ อำมะเหียะ และพรรคพวกรุมข่มขืนและชิงทรัพย์ ในเวลาประมาณ 21.00 น. ที่หน้ารัฐสภา เมื่อเรื่องนี้ได้ถูกแพร่กระจายออกไป ปรากฏความเป็นที่เสียหายอย่างมากต่อชื่อเสียงประเทศ โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ต่อมาไม่นาน การสืบสวนของตำรวจก็พบพิรุธ เมื่อผู้เสียหายให้การวกวนและมีพิรุธขัดแย้งกันเองหลายประเด็น จนในที่สุด ก็ได้สารภาพว่า กุเรื่องไปเพราะความมึนเมาในยาเสพติดที่ตนเสพเข้าไป โดยไม่คิดว่าเรื่องจะใหญ่โตแบบนี้ ที่สุดในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกัน ศาลอาญาชั้นต้นได้ตัดสินลงโทษจำคุก 1 ปี 6 เดือน โดยไม่รอลงอาญา ในข้อหาแจ้งความเท็จและใส่ร้ายบุคคลอื่น โดยที่ น..โซ เหลียง อิง ก็ไม่ได้อุทธรณ์ ต่อมาเมื่อถึงวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 น..โซ เหลียง อิง ได้รับการพระราชทานอภัยโทษ จึงได้ถูกส่งตัวกลับประเทศทันทีโดยสายการบินไชน่าแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ ซีไอ 642 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม ปีเดียวกัน แต่เมื่อเดินทางถึงฮ่องกง ในวันที่ 15 สิงหาคม ก็ถูกตำรวจท้องถิ่นจับกุมตัวทันทีที่สนามบิน เนื่องจากมีคดีค้างเก่าอยู่ ที่เจ้าตัวได้กระทำผิดไว้ก่อนเดินทางมาประเทศไทย ราวหนึ่งสัปดาห์ โดยติดค้างชำระเงินค่าปรับเป็นเงิน 1,700 ดอลลาร์ฮ่องกง ประมาณ 8,720 บาท เป็นโทษปรับคดีทิ้งขยะไม่เป็นที่ทำให้บ้านเมืองสกปรก แต่ไม่มีเงินจ่ายค่าปรับ เพื่อนอดีตนักข่าวด้วยกันจึงเป็นผู้ออกค่าปรับให้ด้วยความสงสาร ระหว่างที่กรณีนี้เป็นที่โด่งดังอยู่นั้น คำว่า หมวยโซ เป็นศัพท์สแลงที่นิยมใช้กัน โดยใช้เป็นคำล้อเลียนหรือเปรียบเทียบกับพฤติกรรมของบุคคลต่าง ๆ โดยเฉพาะกับหญิงสาว.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและโซ เหลียง อิง · ดูเพิ่มเติม »

ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์

นายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 -) อดีตผู้ร่วมก่อตั้งพรรคพลังธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบันเป็นเลขาธิการสมัชชาประชาชนแห่งประเทศไทย เป็นชาวจังหวัดบุรีรัมย์ จบการศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ ปี พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ สกรอย

มค์ สกรอย (Mike Sgroi; 14 สิงหาคม ค.ศ. 1978 —) เป็นทั้งผู้ฝึกสอนมวยไทย และนักกีฬาฮอกกี้น้ำแข็งระดับอาชีพในตำแหน่งปีกซ้ายชาวแคนาดา ซึ่งปัจจุบันเป็นตัวแทนอิสระแบบไม่ผูกมัด โดยเมื่อเร็ว ๆ นี้ สกรอยได้เป็นสมาชิกของทีมออร์แลนโดโซลาร์แบรส์ในศึกอีซีเอชแอล ซึ่งเป็นทีมที่ 28 ที่เขาได้เข้าร่วมในระดับอาชี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและไมค์ สกรอย · ดูเพิ่มเติม »

ไฮเม่ รีออส

ม่ รีออส (Jaime Rios) เกิดวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2496 เป็นนักมวยสากลชาวปานามา สถิติการชก 25 ครั้ง ชนะ 20 (น็อค 10) เสมอ 1 แพ้ 4.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและไฮเม่ รีออส · ดูเพิ่มเติม »

ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2556

ทยพรีเมียร์ลีก 2556 (เป็นที่รู้จักกันในชื่อ โตโยต้าไทยพรีเมียร์ลีก ตามชื่อของผู้สนับสนุนหลัก) โดยเป็นจัดขึ้นเป็นฤดูกาลที่ 17 ของการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีกนับตั้งแต่ก่อตั้งมาในปี พ.ศ. 2539 มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 18 ทีม โดยจะทำการแข่งขันกันในระบบลีกเหย้า-เยือนพบกันหม.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ไทระ โนะ ชิเงะโกะ

ไทระ โนะ ชิเงะโกะ (Taira no Shigeko, พ.ศ. 1685 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 1719) เป็นพระสนมในจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ จักรพรรดิองค์ที่ 77 และพระราชมารดาของ จักรพรรดิทะกะกุระ จักรพรรดิองค์ที่ 80 พระสนมชิเงะโกะประสูติเมื่อ พ.ศ. 1685 เป็นน้องเมียของ ไทระ โนะ คิโยะโมะริ ขุนนางผู้กุมอำนาจในราชสำนักในขณะนั้นต่อมาได้เข้าถวายตัวเป็นพระสนมเมื่อราว พ.ศ. 1703 และมีพระประสูติกาล เจ้าชายโนะบุฮิโตะ ซึ่งต่อมาขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็น จักรพรรดิทะกะกุระ เมื่อ พ.ศ. 1704 พระสนมชิเงะโกะสิ้นพระชนม์ในรัชสมัยจักรพรรดิทะกะกุระเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 1719 ขณะพระชนมายุเพียง 34 พรรษา.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและไทระ โนะ ชิเงะโกะ · ดูเพิ่มเติม »

ไปรษณีย์ไทย (บริษัท)

ริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด (ปณท) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการไปรษณีย์ของประเทศไทย ซึ่งแปรรูปมาจาก การสื่อสารแห่งประเทศไทย (ก.ส.ท.).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและไปรษณีย์ไทย (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์โซนา 3

ปกของเพอร์โซนา 3 ฉบับภาษาญี่ปุ่น เพอร์โซนา 3 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 3 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 3 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา3) และวันที่29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551ในภาคพื้นยุโรปและออสเตรเลีย ในเวลาต่อมา แอตลัสยังได้จำหน่ายภาคเสริม เพอร์โซนา 3 FES ซึ่งได้ปรับระบบการเล่นและเพิ่มเนื้อหาใหม่เข้าไป ซึ่งภาค FESนี้ วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2551 และในภาคพื้นยุโรปเมื่อวันที่17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมด้วย ซึ่งเพอร์โซนา 3 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมาย นอกจากนั้นยังมีภาครีเมคสำหรับเครื่องเพลย์สเตชันพอร์เทเบิลซึ่งมีกำนหดการวางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเพอร์โซนา 3 · ดูเพิ่มเติม »

เกรียนโคตร มหาประลัย

กรียนโคตร มหาประลัย (Kick-Ass) เป็นภาพยนตร์ซูเปอร์ฮีโรตลกที่สร้างจากการ์ตูนเรื่อง Kick-Ass ของมาร์ก มิลลา และ John Romita, Jr.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเกรียนโคตร มหาประลัย · ดูเพิ่มเติม »

เสรีไทย

รีไทย (Free Thai Movement) เป็นขบวนการใต้ดินที่ดำเนินการระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วง พ.ศ. 2484 - 2488 มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านการรุกรานของกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น รักษาเอกราชและอธิปไตยของชาติไทย ขบวนการเสรีไทยกำเนิดขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเสรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ หงษ์ทอง

น่ห์ หงษ์ทอง ผู้ประสานงานศูนย์ประสานงานกรรมกร /เป็นกรรมการบริหารมูลนิธิแรงงานสมศักดิ์ โกศัยสุข / เป็นกรรมการบริหารพรรคสังคมประชาธิปไตยไทย (เดิมการเมืองใหม่) ปฏิบัติหน้าที่นายทะเบียนสมาชิกพรรคฯ.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเสน่ห์ หงษ์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ 16 ราชานนท์

อฟ 16 กับพี่เลี้ยงในช่วงพักยก เอฟ 16 ราชานนท์ เกิดวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2534 50 คำตอบมวยดัง.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเอฟ 16 ราชานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซ์วายแซด

อ็กซ์วายแซด (XYZ) เป็นกลุ่มดนตรีสัญชาติไทย เป็นการรวมตัวกันของสมาชิกรายการสโมสรผึ้งน้อย โดยการชักจูงของ น้าหมู (สัจจา อัยศิริ) และ น้านิด (ภัทรจารีย์ อัยศิริ).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเอ็กซ์วายแซด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี

้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย อเดเลด แมรี หลุยซา (ประสูติ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2383 สวรรคต 5 สิงหาคม พ.ศ. 2444) พระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์

้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ เจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ (Princess Irene of Hesse and by Rhine พระนามเต็ม ไอรีน หลุยส์ มาเรีย แอนนา; ประสูติ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2409 สิ้นพระชนม์ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) เป็นพระธิดาในลำดับที่สามของเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักรและแกรนด์ดยุคลุดวิจที่ 4 แห่งเฮ็สเซินและไรน์ และมีพระอัยกาและอัยยิกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ส่วนพระอัยกาและอัยยิกาฝ่ายพระชนกคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งเฮ็สเซินและไรน์ และ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งปรัสเซีย พระองค์เป็นพระชายาในเจ้าชายไฮน์ริชแห่งปรัสเซีย พระญาติชั้นที่หนึ่ง และนอกจากนี้ก็ทรงเป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียเช่นเดียวกับพระกนิษฐาคือ เจ้าหญิงอลิกซ์ โดยพระโอรสสองในสามพระองค์ประชวรเป็นโรคเฮโมฟีเลียด้วย เจ้าหญิงอลิกซ์ พระขนิษฐาทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งรัสเซีย โดยทรงเปลี่ยนมาใช้พระนามใหม่ว่า อเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนา พระอัครมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย และเจ้าชายแอนสท์ ลุดวิจ พระอนุชาทรงเป็นแกรนด์ดยุคครองรัฐแห่งเฮ็สเซินและไรน์ ส่วนเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระภคินีองค์โตได้อภิเษกสมรสกับ เจ้าชายหลุยส์แห่งบัทเทนแบร์ก ซึ่งต่อมาทั้งสองทรงเป็นมาร์ควิสและมาร์ชเนสแห่งมิลฟอร์ดฮาเว็น และเจ้าหญิงเอลิซาเบธ พระภคินีอีกพระองค์หนึ่ง (ซึ่งต่อมาทรงได้รับการยกย่องจากศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียให้เป็นนักบุญเอลิซาเบธ ผู้เสียสละ) อภิเษกสมรสกับ แกรนด์ดยุคเซอร์เกย์ อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเจ้าหญิงไอรีนแห่งเฮ็สเซินและไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เทลส์ออฟเดสตินี 2

ทลส์ออฟเดสตินี 2 (テイルズ オブ デスティニー 2; Tales of Destiny 2) เป็นวิดีโอเกมแนวสวมบทบาทภาคสองของเกมชื่อเทลส์ออฟเดสตินี ผลิตโดยบริษัทนัมโคจากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมีฉากต่อสู้ที่มีการเคลื่อนไหวที่แหวกแนวไปจากเกมอาร์พีจีอื่น ๆ สำหรับตัวละครหลักของเกมนี้ ได้รับการออกแบบโดย มะสึมิ อิโนะมะตะ ซึ่งเป็นนักวาดภาพการ์ตูนชาวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเทลส์ออฟเดสตินี 2 · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลทูมอร์โรว์แลนด์

ทศกาลทูมอร์โรว์แลนด์ (Tomorrowland) เป็นเทศกาลดนตรีแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ที่จะขึ้นที่ บูม, เบลเยียม โดยเริ่มจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2005 และกลายเป็น 1 ในเทศกาลดนตรีที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และมีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก มักขายบัตรหมดภายในไม่กี่นาที.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเทศกาลทูมอร์โรว์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์

อะไรติงส์ออนเดอะวอลล์ (The Writing's on the Wall) คือสตูดิโออัลบั้มลำดับที่สองของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนจากสหรัฐอเมริกา ออกวางจำหน่ายโดยโคลัมเบียเรเคิดส์ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ในสหรัฐอเมริกา อัลบั้มนี้เปิดตัวอยู่ที่อันดับที่ 6 ในชาร์ต บิลบอร์ด 200 ซึ่งขึ้นไปในชาร์ตเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ด้วยยอดจำหน่าย 132,000 หน่วยในสัปดาห์แรก ต่อมาได้ติดอันดับที่ 5 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 และอัลบั้มนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัลแกรมมี 5 รางวัล นั่นคือ การร้องเพลงแนวอาร์แอนด์บีคู่หรือกลุ่มยอดเยี่ยม (สองรางวัล), เพลงแนวอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม, อัลบั้มเพลงแนวอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม, และเพลงแห่งปี เดอะไรติงส์ออนเดอะวอลได้มีระดับยอดขาย 9x แพลตินัม จัดโดยRIAA เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเดอะไรติงส์ออนเดอะวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเฟิสต์อัลบั้ม

The First Album เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดแรก ของวงเก็ตสึโนวา และเป็นสตูดิโออัลบั้มชุดแรกที่ออกกับค่ายไวท์มิวสิก ใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อัลบั้มนี้มี คชภัค ผลธนโชติ,สุกฤษ ศรีเปารยะ,อนันต์ ดาบเพ็ชร์ธิกรณ์ เป็นโปรดิวเซอร์ ออกจำหน่ายในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 การโปรโมตอัลบั้มนั้น ซึ่งในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ได้แถลงข่าวเปิดอัลบั้มในงานคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้ม The First Album ของ Getsunova ที่ลานกิจกรรม Groove ชั้น 1 เซ็นทรัลเวิล.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเดอะเฟิสต์อัลบั้ม · ดูเพิ่มเติม »

เดือน 9

ือน 9 คือเดือนที่เก้าของปี อาจหมายถึงเดือนกันยายนตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือเดือนที่เก้าตามปฏิทินจันทรคติ และเนื่องจากปฏิทินจันทรคติกำหนดตามดิถีจันทร์ เดือน 9 จึงไม่ตรงกันทุกปีเมื่อเทียบกับปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน แบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเดือน 9 · ดูเพิ่มเติม »

เคอิทาโร โฮชิโน

อิทาโร โฮชิโน (Keitaro Hoshino) นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 14 สิงหาคม..

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเคอิทาโร โฮชิโน · ดูเพิ่มเติม »

เคทู

right ยอดเขาเคทู (K2; บัลตี: Kechu, Ketu; کے ٹو) เป็นยอดเขาที่สูงเป็นอันดับสองของโลกรองจากยอดเขาเอเวอเรสต์ มีความสูง 8,611 เมตร (28,251 ฟุต) เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาการาโกรัมซึ่งเชื่อมต่อกับแนวเทือกเขาหิมาลัยทางด้านตะวันตก และตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเขตกิลกิต-บัลติสถานของประเทศปากีสถาน กับเทศมณฑลปกครองตนเองตัชคูร์กันทาจิกในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ของประเทศจีน รัฐบาลจีนใช้ชื่อของเคทูว่า Qogir ซึ่งเป็นคำที่มาจากนักสำรวจตะวันตก ใช้เรียกภูเขาแห่งนี้โดยตั้งชื่อตามภาษาท้องถิ่น ว่า Chogori (ภาษาบัลตี โดย Chhogo แปลว่า ใหญ่ ri แปลว่า ภูเขา).

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเคทู · ดูเพิ่มเติม »

เตือนใจ นุอุปละ

นางเตือนใจ นุอุปละ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี และเป็นกรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและเตือนใจ นุอุปละ · ดูเพิ่มเติม »

The Mask Singer หน้ากากนักร้อง

The Mask Singer หน้ากากนักร้อง เป็นรายการโทรทัศน์ประเภทเรียลลิตี้เกมโชว์และมิวสิกโชว์ โดยซื้อลิขสิทธิ์รูปแบบรายการ "Miseuteori Eumaksyo Bokmyeon-gawang" (미스터리 음악쇼 복면가왕) (Mystery Music Show: King of Mask Singer) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายการ "Ilbam" (일밤) (Sunday Night) ที่เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท Munhwa Broadcasting Corporation (MBC) จากประเทศเกาหลีใต้นำมาทำเป็นรูปแบบรายการของประเทศไทย ผลิตรายการโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ดำเนินรายการโดย กันต์ กันตถาวร.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและThe Mask Singer หน้ากากนักร้อง · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

31 พฤษภาคม

วันที่ 31 พฤษภาคม เป็นวันที่ 151 ของปี (วันที่ 152 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 214 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: 14 สิงหาคมและ31 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

14 ส.ค.๑๔ สิงหาคม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »