โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โพกะโยเกและไคเซ็ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง โพกะโยเกและไคเซ็ง

โพกะโยเก vs. ไคเซ็ง

โพะกะโยะเกะ เป็นระบบหรืออุปกรณ์ที่ถูกตั้งขึ้นเพื่อป้องกันการผิดพลาดของการทำงานในสายการผลิต ของโรงงานเป็นต้น ในเรื่องของอุปกรณ์ รากศัพท์ของคำว่า "โพะกะโยะเกะ" มาจากหมากล้อม,หมากรุกญี่ปุ่น ที่นำมาใช้เป็นคำศัพท์นี้ โดยปกติมีความหมายว่าเดินหมากพลาดโดยที่คิดไม่ถึง Poka เราจึง Yokeru มึความหมายแปลว่าหลีกเลี่ยง ในโรงงานจะใช้คนทำงานเสียส่วนใหญ่ ซึ่งความผิดพลาดของแต่ละคนในการทำงานก็มีมากเช่นเดียวกัน ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นก็คือของเสียเป็นต้นจะเกี่ยวเนื่องกับปัญหาเรื่องคุณภาพตามมาเสียส่วนใหญ่ หรือเมื่อความผิดพลาดที่เกิดขึ้นกลายเป็นผลิตภัณฑ์แล้วการค้นหาและการเลือกของเสียออกจากของดี ก็จะใช้เวลามากรวมถึงค่าใช้จ่ายก็จะตามมา หรือการค้นหาของไม่ดีที่เกิดขึ้นก็ยากและอาจจะหลุดลอดไปสู่ตลาดหรือลูกค้าได้ง่าย ซึ่ง ณ จุดตรงนี้ เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงการผิดพลาดของการผลิตในขบวนการสายการผลิตไม่ให้หลุดลอดออกจากขบวนการ ในขบวนการผลิตจึงได้นำหรือติดตั้ง โพะกะโยะเกะ ในสายงานของตนเอง ได้ถูกนับเป็นหนึ่งในระบบการผลิตแบบโตโยต้าซึ่งระบบการผลิตแบบโตโยต้านั้นมีความคิดที่เป็นพื้นฐานก็คือ "ขบวนการถัดไปก็คือลูกค้า" ของตนเอง ซึ่งจะหมายความว่าขบวนการของตนเองเมื่อทำเสร็จแล้วกล่าวคือ ไม่ส่งของที่ไม่ดีให้กับขบวนการถัดไป ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงของที่ไม่ดีเกิดขึ้นแล้ว ต้องรับประกันคุณภาพของในขบวนการตนเองด้วย แนวคิดพื้นฐานของโพะกะโยะเกะถูกนำเสนอและนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบโตโยต้าโดยวิศวกรชาวญี่ปุ่นชื่อ Shigeo Shingo (新郷重雄 しんごう しげお ค.ศ.1909-1990)แต่เดิมแนวคิดนี้ถูกเรียกว่า บะกะโยเกะ ซึ่งแปลตรงตัวว่า หลีกเลี่ยงความโง่ ต่อมาจึงมีการเปลี่ยนเป็น โพะกะโยะเกะ เพื่อให้ความหมายดูซอฟท์ขึ้น เมื่อเวลาที่วงการอุตสาหกรรมญี่ปุ่นได้ก้าวสู่หรือขยายไปในต่างประเทศนั้น ในต่างประเทศก็ได้มีการค้นคว้าวงการอุตสาหกรรมญี่ปุ่นเช่นกัน และคำนี้ก็ได้ขยายวงกว้างไปสู่ต่างประเทศผลที่ได้ก็คือโพะกะโยะเกะเป็นคำที่สามารถสือสารกันได้ทั่วไปในวงการผลิต หมวดหมู่:การผลิต. ซ็ง เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ดีขึ้น หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ไคเซ็งโดยความหมายทั่วๆไปแล้วจะหมายความว่า สภาพสิ่งที่ไม่ดีปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรมการผลิตไคเซ็งที่ใช้ในโรงงานผู้ปฏิบัติงานจะเป็นแกนกลางในการปฏิบัติในกิจกรรมนี้ (Bottom up).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง โพกะโยเกและไคเซ็ง

โพกะโยเกและไคเซ็ง มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): โรงงาน

โรงงาน

รงงานของโฟล์คสวาเกนใน ว็อลฟส์บูร์ก, ประเทศเยอรมนี โรงงาน เป็นสถานอุตสาหกรรม ปกติประกอบด้วยอาคารและเครื่องจักร หรือที่พบมากกว่า เป็นกลุ่มอาคารซึ่งคนงานผลิตสินค้าหรือดำเนินการเครื่องจักรเพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์หนึ่งเป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่ง ในช่วงปลายศตวรรษที่18 โรงงานต่างๆจะใช้เครื่อแรงงานคนและสัตว์เป็นหลักจนกระทั่งเกิด การปฏิวัติอุตสาหกรรม โรงงานต่างๆก็เริ่มมีการใช้เครื่องจักรแทน.

โพกะโยเกและโรงงาน · โรงงานและไคเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง โพกะโยเกและไคเซ็ง

โพกะโยเก มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไคเซ็ง มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 10.00% = 1 / (3 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง โพกะโยเกและไคเซ็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »