โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี

โนบูโอะ อูเอมัตสึ vs. ไฟนอลแฟนตาซี

นบูโอะ อูเอมัตสึ เกิดวันที่ 21 มีนาคม.. ฟนอลแฟนตาซี (Final Fantasy) เป็นเกมชุดของเกมอาร์พีจี ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง สร้างขึ้นโดยสแควร์ (ปัจจุบันคือบริษัท สแควร์เอนิกซ์) โดยเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีนี้มีในในเครื่องเล่นหลายชนิด ได้แก่ เครื่องเกมคอนโซล เครื่องเกมเคลื่อนที่ เกมออนไลน์ เกมบนโทรศัพท์มือถือ และยังมีทำเป็น ภาพยนตร์การ์ตูน 3 เรื่อง และ ภาพยนตร์เรื่องยาว 2 เรื่อง ไฟนอลแฟนตาซีชุดแรกออกวางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษเพื่อจัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือเมื่อพ.ศ. 2533 รวมทั้งวางขายภูมิภาคอื่นทั่วโลก เช่น ทวีปยุโรป และออสเตรเลีย เครื่องเล่นเกมที่มี ไฟนอลแฟนตาซี ออกจำหน่าย ได้แก่ แฟมิคอม ซูเปอร์แฟมิคอม ซูเปอร์นินเทนโด เพลย์สเตชัน วันเดอร์สวอน เพลย์สเตชัน 2 เกมคอมพิวเตอร์ เกมบอยแอดวานซ์ พีเอสพี เกมคิวบ์ นินเทนโด ดีเอส เอกซ์บอกซ์ 360 เพลย์สเตชัน 3 เอกซ์บอกซ์ วัน เพลย์สเตชัน 4 และโทรศัพท์มือถือ ในเดือนสิงหาคม 2560 เฟมในชุดเกมไฟนอลแฟนตาซีมียอดขายรวมมากกว่า 135 ล้านชุดทั่วโลก นับเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของบริษัทสแควร์เอนิกซ์ ปัจจุบันมีเกมหลักออกวางจำหน่ายแล้ว 15 ภาค และมีเกมที่เกี่ยวข้องอีกมาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สแควร์เอนิกซ์ไฟนอลแฟนตาซีไฟนอลแฟนตาซี IIไฟนอลแฟนตาซี IIIไฟนอลแฟนตาซี IVไฟนอลแฟนตาซี IXไฟนอลแฟนตาซี Vไฟนอลแฟนตาซี VIไฟนอลแฟนตาซี VIIไฟนอลแฟนตาซี VIIIไฟนอลแฟนตาซี XIIไฟนอลแฟนตาซี XIV

สแควร์เอนิกซ์

แควร์เอนิกซ์ หรือ บริษัท สแควร์เอนิกซ์ โฮลดิงส์ มหาชนจำกัด (株式会社スクウェア・エニックス・ホールディングス คะบุชิกิ-ไงฉะ ซุกุเอะอะ เอะนิกกุซุ โฮรุดิงงุซุ; Square Enix Holdings Co., Ltd) คือ ชื่อของบริษัทผลิตเกม โดยเกมที่มีชื่อเสียงคือเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี ดราก้อนเควสต์ และ คิงดอมฮาร์ต สำนักงานใหญ่อยู่ที่ โยะโยะงิ ในชิบุยะ เมืองโตเกียว สแควร์เอนิกซ์ เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัทสแควร์ และ เอนิกซ์ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546 โดยการควบรวมกันครั้งนี้ผู้ถือหุ้นในบริษัทสแควร์ได้รับส่วนแบ่งทางการตลาดเป็นสัดส่วน 0.81 และเอนิกซ์ได้รับในอัตรา 1:1 แต่นอกเหนือจากเรื่องส่วนแบ่งของผู้ถือหุ้น ในส่วนของผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ระดับสูงหลายคนของบริษัทสแควร์ได้รับบทบาทในฐานะผู้นำในสแควร์เอนิกซ์ รวมทั้งประธานบริษัทสแควร์ซึ่งก็คือนายโยอิจิ วาดะ ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานของสแควร์เอนิกซ์นั่นเอง.

สแควร์เอนิกซ์และโนบูโอะ อูเอมัตสึ · สแควร์เอนิกซ์และไฟนอลแฟนตาซี · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี

ฟนอลแฟนตาซี (Final Fantasy) เป็นเกมชุดของเกมอาร์พีจี ที่ได้รับความนิยมอย่างสูง สร้างขึ้นโดยสแควร์ (ปัจจุบันคือบริษัท สแควร์เอนิกซ์) โดยเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีนี้มีในในเครื่องเล่นหลายชนิด ได้แก่ เครื่องเกมคอนโซล เครื่องเกมเคลื่อนที่ เกมออนไลน์ เกมบนโทรศัพท์มือถือ และยังมีทำเป็น ภาพยนตร์การ์ตูน 3 เรื่อง และ ภาพยนตร์เรื่องยาว 2 เรื่อง ไฟนอลแฟนตาซีชุดแรกออกวางจำหน่ายในประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2530 และได้มีการแปลเป็นภาษาอังกฤษเพื่อจัดจำหน่ายในทวีปอเมริกาเหนือเมื่อพ.ศ. 2533 รวมทั้งวางขายภูมิภาคอื่นทั่วโลก เช่น ทวีปยุโรป และออสเตรเลีย เครื่องเล่นเกมที่มี ไฟนอลแฟนตาซี ออกจำหน่าย ได้แก่ แฟมิคอม ซูเปอร์แฟมิคอม ซูเปอร์นินเทนโด เพลย์สเตชัน วันเดอร์สวอน เพลย์สเตชัน 2 เกมคอมพิวเตอร์ เกมบอยแอดวานซ์ พีเอสพี เกมคิวบ์ นินเทนโด ดีเอส เอกซ์บอกซ์ 360 เพลย์สเตชัน 3 เอกซ์บอกซ์ วัน เพลย์สเตชัน 4 และโทรศัพท์มือถือ ในเดือนสิงหาคม 2560 เฟมในชุดเกมไฟนอลแฟนตาซีมียอดขายรวมมากกว่า 135 ล้านชุดทั่วโลก นับเป็นเกมที่ประสบความสำเร็จสูงสุดของบริษัทสแควร์เอนิกซ์ ปัจจุบันมีเกมหลักออกวางจำหน่ายแล้ว 15 ภาค และมีเกมที่เกี่ยวข้องอีกมาก.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี II

ฟนอลแฟนตาซี II (ファイナルファンタジーII; Final Fantasy II) เป็น เกมอาร์พีจี ผลิตโดยบริษัทสแควร์ (ปัจจุบันคือ สแควร์เอนิกซ์) ลงให้แก่เครื่องเล่นเกมแฟมิคอม ของบริษัทนินเทนโด เป็นครั้งแรกที่ตัวละครของเกมซีรี่นี้ ถูกกำหนดให้มีชื่อและเรื่องราวความเป็นมาเป็นของตนเอง และยังมีเนื้อเรื่องมากมายที่ต้องสลับตัวเพื่อนในกลุ่มอยู่ตลอดเวลา ทำให้ประสบความสำเร็จในยุคนั้น นอกจากนี้ยังเป็นการปรากฏตัวของตัวละครประจำซีรีส์ไฟนอลแฟนตาซีอย่าง ซิด และ โจโคโบะ อีกด้วยต่อมาจึงได้มีการรีเมคใหม่มาลงเครื่องเกมบอยแอดวานซ์ (GBA) คู่กับภาคแรกในชื่อเกม ไฟนอลแฟนตาซี I-II แอดวานซ์ ในปี ค.ศ. 2004 กับค.ศ. 2006 และสำหรับเพลย์สเตชันพอร์เทเบิล ใน..

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี II · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี II · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี III

หน้าปกของเกม ไฟนอลแฟนตาซี III รุ่นเครื่องเกมแฟมิคอม ไฟนอลแฟนตาซี III (Final Fantasy III) เป็นเกมเล่นตามบทละคร หนึ่งในเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีถูกพัฒนาครั้งแรกและวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2533 โดยบริษัทสแควร์สำหรับเล่นในเครื่องเกมแฟมิคอม ตัวละครในเรื่องออกแบบโดยโยะชิทะกะ อะมะโนะ และเพลงออกแบบโดย โนะบุโอะ อุเอะมัตสึ เหมือนในภาคก่อนหน้า โดยก่อนหน้านี้ทางบริษัทได้มีโครงการที่จะพัฒนาเกมลงเครื่องวันเดอร์สวอนแต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาได้มีการพัฒนาอีกครั้งและวางจำหน่ายในปี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 สำหรับเครื่องเกมนินเทนโด ดีเอส จากทางสแควร์เอนิกซ์ โดยในเกมที่ทำใหม่นั้นได้ปรับปรุงระบบภาพเป็นกราฟิกส์ 3 มิติ ทั้งหมด และมีระบบการเชื่อมต่อระบบวายฟายเพิ่มเข้ามา การดำเนินเรื่องของเกมเกี่ยวกับเด็กกำพร้าสี่คนได้บังเอิญมาเจอกับคริสตัลในถ้ำแห่งหนึ่ง และได้รับคำชี้แนะของทางคริสตัลว่าแท้จริงแล้วพวกเขาคือนักรบแห่งแสงสว่าง ที่จะมาช่วยกู้โลกจากความมืด หลังจากนั้นเด็กทั้งสี่ได้ผจญภัยไปในโลกกว้าง และได้รับความช่วยเหลือจากคนอื่นตลอดการเดินทางเผื่อปราบมารร้ายซันเด และนำความสงบกลับคืนมาสู่โลก ในสหรัฐอเมริกา ไฟนอลแฟนตาซี III มักจะถูกเรียกสับสนกับเกมไฟนอลแฟนตาซี VI ซึ่งเป็นเกมที่วางจำหน่ายในอเมริกาเป็นเกมลำดับที่ 3.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี III · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี III · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี IV

อง เซซิล ตัวเอกเมื่อตอนที่ยังเป็น อัศวินดำ ไฟนอลแฟนตาซี IV เป็นเกมเล่นตามบทละคร สำหรับเครื่องซูเปอร์แฟมิคอม ผลิตและจัดจำหน่ายโดยบริษัทสแควร์ (และ สแควร์เอนิกซ์ ในรุ่นต่อมา) ในปี พ.ศ. 2534 โดยถือเป็นภาคที่ประสบความสำเร็จอีกภาคหนึ่ง ภายหลังได้มีการนำมารีเมก ลงในเครื่อง เพลย์สเตชัน วันเดอร์สวอน คัลเลอร์ และ เกมบอยแอดวานซ์ และ นินเทนโด ดีเอส ตามลำดับ เรื่องราวในเกมจะเป็นเรื่องของเซซิล ผู้มีอาชีพเป็นอัศวินดำ แต่ต้องรวบรวมสมัครพรรคพวกเพื่อหยุดยั้งกอลเบซ่าในการแย่งชิงคริสตัลจากโลกเบื้องบนและโลกใต้พิภพ ในประเทศสหรัฐอเมริกา เกมไฟนอลแฟนตาซี IV บนเครื่องซูเปอร์แฟมิคอม ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "ไฟนอลแฟนตาซี II" เพราะทีมงานในสหรัฐอเมริกาใช้เวลาในการแปลภาค 1 นานจนเกินไป พอภาค 4 วางขาย จะแปลภาค 2-3 ก็ไม่ทัน จึงตัดสินใจเอาภาค 4 มาเป็นภาค II แทน.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี IV · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี IV · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี IX

ฟนอลแฟนตาซี IX เป็นเกมแนว RPG (Role-playing game) ที่สร้างโดยบริษัทสแควร์จำกัด ในปี พ.ศ. 2543 จัดจำหน่ายใน ญี่ปุ่น โดย สแควร์ และใน ทวีปอเมริกาเหนือ โดย Square Electronic Arts ใน ทวีปยุโรป โดย Infogrames ใน สหราชอาณาจักร และ ออสเตรเลีย โดย Square Europe เกม ไฟนอลแฟนตาซี IX นี้เป็น ไฟนอลแฟนตาซี ภาคสุดท้ายที่เล่นบนเครื่องเกม เพลย์สเตชัน และยังถือเป็นการกลับมาของตัวละคร เช่น วีวี่ มอนสเตอร์ และเนื้อเรื่องของ ไฟนอลแฟนตาซี ยุคคลาสสิกอีกด้วย ถือเป็นการปลุกความทรงจำที่แฟนไฟนอลดียังจำกันได้ขึ้นมาอีกครั้ง.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี IX · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี IX · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี V

ลโก้เกม ไฟนอลแฟนตาซี V ไฟนอลแฟนตาซี V (ファイナルファンタジーV; Final Fantasy V) เป็นเกมแนวเกมเล่นตามบทบาท พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบริษัท สแควร์ (ปัจจุบันคือ สแควร์อีนิกซ์) ในปี พ.ศ. 2535 ภายหลังได้ถูกรีเมค ลงบนเครื่องเพลย์สเตชัน ในปี พ.ศ. 2541 และเกมบอยแอดวานซ์ ในปี พ.ศ. 2549 ไฟนอลแฟนตาซี V ไม่มีการจำหน่ายภาคภาษาอังกฤษบนซูเปอร์ฟามิคอม เพราะทีมงานใช้เวลาแปลไม่ทัน.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี V · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี V · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี VI

ฟนอลแฟนตาซี VI เป็นเกมภาษา หรือ เกมแนว RPG ถูกพัฒนาขึ้นและจัดจำหน่ายในปี พ.ศ. 2537 โดยบริษัทสแควร์อีนิกซ์ (ชื่อเดิมคือบริษัทสแควร์) ประเทศญี่ปุ่น ภายหลังได้ถูกรีเมค ลงบนเครื่องเพลย์สเตชัน ในปี พ.ศ. 2542 และเกมบอยแอดวานซ์ ในปี พ.ศ. 2549 ภาคภาษาอังกฤษบนเครื่องซูเปอร์แฟมิคอมใช้ชื่อว่า "Final Fantasy III" เพราะไม่ได้มีการวางจำหน่ายภาค V ในสหรัฐอเมริกา จึงให้ภาค VI กลายเป็นภาค III แทน.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี VI · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี VI · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี VII

ฟนอลแฟนตาซี VII (ファイナルファンタジーVII; Final Fantasy VII) เป็นเกมแนว RPG สร้างขึ้นโดยบริษัท สแควร์อีนิกซ์ (Square-Enix) (ชื่อเดิม บริษัทสแควร์) ในปี พ.ศ. 2540 ถือเป็นเกมภาคแรกในชุด ไฟนอลแฟนตาซี สำหรับเล่นในเครื่องเกม เพลย์สเตชัน ของ โซนี่ และ พีซี รวมทั้งได้มีการเชิญ โนบุโอะ อุเอมัตสึ มาแต่งเพลงอีกด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นภาคแรกที่ทำในรูปแบบกราฟิกสามมิติ ทั้งตัวละครและฉาก จากการสำรวจที่ผ่านมา ไฟนอลแฟนตาซีภาคนี้ถือเป็นภาคที่ถูกยกให้เป็นภาคที่ขายดีที่สุดในตระกูล ไฟนอลแฟนตาซี ซึ่งขายได้มากกว่า 9.72 ล้านชุดทั่วโลก (สำรวจเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2549) เนื้อเรื่องของเกมเป็นเรื่องเกี่ยวกับการผจญภัยของกลุ่มๆหนึ่ง ทำการต่อสู้กับบริษัทยักษ์ใหญ่ที่มีชื่อว่า "ชินระ คัมพานี" โดยบริษัทนี้ได้ทำการดูดพลังชีวิตของโลกเพื่อเอาไปแปรรูปเป็นแหล่งพลังงาน ดังนั้นการปกปักษ์รักษาโลกโดยกลุ่มคนกลุ่มนี้จึงบังเกิดขึ้น.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี VII · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี VII · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี VIII

ฟนอลแฟนตาซี VIII (ญี่ปุ่น: ファイナルファンタジーVIII ฟะอินะลุฟานตะจี VIII; อังกฤษ: Final Fantasy VIII) เป็นเกมแนว RPG (Role-playing game) หรือเกมภาษา สร้างโดยบริษัทสแควร์จำกัด มีทั้งรูปแบบที่เล่นบนเครื่องเกม เพลย์สเตชัน และคอมพิวเตอร์ PC ที่ใช้ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ เป็น ระบบปฏิบัติการ เกมภาคนี้เป็นภาคที่ 8 ของเกมชุด ไฟนอลแฟนตาซี และเป็นภาคที่ 2 ที่เล่นบนเครื่อง เพลย์สเตชัน และ คอมพิวเตอร์ PC หลังจากวางขาย 3 เดือนแรก ในปี พ.ศ. 2542 ไฟนอลแฟนตาซี VIII ก็ทำสร้างยอดขายมากกว่า 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นเกม ไฟนอลแฟนตาซี ภาคที่ยังคงเป็นสถิติขายเร็วที่สุดตราบจนทุกวันนี้.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี VIII · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี VIII · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี XII

ฟนอลแฟนตาซี XII เป็นเกมอาร์พีจีในชุดไฟนอลแฟนตาซี สำหรับเครื่องเกมเพลย์สเตชัน 2 สร้างสรรค์และวางจำหน่ายโดยค่ายสแควร์เอนิกซ์ และนับเป็นภาคที่ 12 ในซีรีส์ไฟนอลแฟนตาซี ออกวางจำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2549 ที่ผ่านมา โดยทำยอดจำหน่ายไปแล้วขณะนี้มากกว่า 2 ล้านชุดในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งในประเทศไทยก็ได้ออกวางจำหน่ายไปแล้วเช่นกัน ส่วนวันวางจำหน่ายของเวอร์ชันภาษาอังกฤษในทวีปอเมริกาเหนือ อยู่ในช่วงเดือน พฤศจิกายน..

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี XII · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี XII · ดูเพิ่มเติม »

ไฟนอลแฟนตาซี XIV

ฟนอลแฟนตาซี XIV (ファイナルファンタジーXIV; Final Fantasy XIV) เป็นเกมชุดไฟนอลแฟนตาซีภาคที่ 14 ของซี่รี่ย์นี้ โดยออกจำหน่ายบนระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ ผู้ผลิตคือบริษัท สแควร์เอนิกซ์ โดยเป็นแบบออนไลน์ (MMORPG) เช่นเดียวกับไฟนอลแฟนตาซี XI เกมนี้มีการประกาศเปิดตัวครั้งแรกในงาน E3 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 หลังจากดำเนินการสร้างมาเป็นเวลากว่า 5 ปี ก่อนที่จะเปิดให้บริการในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553 โดยจำหน่ายแผ่นเกมพร้อมรหัสลงทะเบียนสำหรับเล่นบน PC ด้วยระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เกมได้เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2553 จนถึงวันที่ 11 พฤศจิกายน 2555 ในช่วงต้น เกมได้รับคำวิจารณ์ด้านลบในส่วนของคุณภาพตัวเกม ทางบริษัทสแควร์เอนิกซ์จึงทำการปรับทีมพัฒนาและตัวเกมใหม่อีกครั้ง ในวันที่ 14 ตุลาคม 2554 สแควร์เอนิกซ์ได้ประกาศว่าตัวเกมนี้คือเวอร์ชัน 1 และทำการประกาศตัวเกมภาคใหม่ที่กำลังพัฒนาในชื่อ ไฟนอลแฟนตาซี XIV: อะเรียล์มรีบอร์น ให้เป็นเวอร์ชัน 2.0 และช่วงท้ายของการให้บริการเกมในเวอร์ชัน 1 ได้จัดเหตุการณ์ในเกมให้เสมือนคล้ายวันวิปโยค เพื่อให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่องในส่วนของ อะเรียล์มรีบอร์น และตัดการเชื่อมต่อผู้เล่นออกจากเกมรวมถึงยุติการให้บริการเมื่อถึงวันที่กำหนด ตัวเกม อะเรียล์มรีบอร์น ได้เริ่มทำการทดสอบอัลฟ่าเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2555 ถัดจากนั้นจึงเข้าสู่ช่วงเบต้า โดยแบ่งออกเป็นสี่ช่วง ซึ่งในช่วงที่สามได้เพิ่มการสนับสนุนเวอร์ชัน เพลย์สเตชัน 3 และเปิดให้บุคคลภายนอกได้ทดสอบในช่วงที่ 4 ทั้งนี้ ทางแควร์เอนิกซ์ได้ให้ข้อเสนอแก่ผู้เล่นที่สั่งจองตัวเกมก่อน โดยผู้เล่นจะได้เข้าเล่นก่อนวันเปิดตัวจริงเป็นระยะเวลา 2 วัน ในภาคใหม่นี้ ตัวเกมจะยังคงเนื้อเรื่อง และระบบการเล่นจากภาคเก่าไว้ แต่เปลี่ยนแปลงในส่วนของไคลแอนต์ กราฟิกเอนจิน เซิร์ฟเวอร์ ส่วนติดต่อผู้ใช้ เพิ่มเกมการเล่นใหม่ๆ ที่หลากหลายมากขึ้น และเนื้อเรื่องเสริมเพิ่มเติม โดยเกมภาคใหม่ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการทั้งระบบปฏิบัติการวินโดวส์ และเวอร์ชันเพลย์สเตชัน 3 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556.

โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี XIV · ไฟนอลแฟนตาซีและไฟนอลแฟนตาซี XIV · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี

โนบูโอะ อูเอมัตสึ มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไฟนอลแฟนตาซี มี 116 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 8.33% = 12 / (28 + 116)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง โนบูโอะ อูเอมัตสึและไฟนอลแฟนตาซี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »