โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เพอร์โซนา 3และเมกามิเทนเซย์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เพอร์โซนา 3และเมกามิเทนเซย์

เพอร์โซนา 3 vs. เมกามิเทนเซย์

ปกของเพอร์โซนา 3 ฉบับภาษาญี่ปุ่น เพอร์โซนา 3 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 3 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550 โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 3 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา3) และวันที่29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551ในภาคพื้นยุโรปและออสเตรเลีย ในเวลาต่อมา แอตลัสยังได้จำหน่ายภาคเสริม เพอร์โซนา 3 FES ซึ่งได้ปรับระบบการเล่นและเพิ่มเนื้อหาใหม่เข้าไป ซึ่งภาค FESนี้ วางจำหน่ายในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2551 และในภาคพื้นยุโรปเมื่อวันที่17 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมด้วย ซึ่งเพอร์โซนา 3 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมาย นอกจากนั้นยังมีภาครีเมคสำหรับเครื่องเพลย์สเตชันพอร์เทเบิลซึ่งมีกำนหดการวางจำหน่ายในเดือนพฤศจิกายน.. มกามิเทนเซย์ (女神転生; Megami Tensei) เป็นเกมชุดของเกมอาร์พีจี ที่จำหน่ายโดยแอตลัส ยกเว้นเพียงเกมของเครื่องแฟมิคอมที่จัดจำหน่ายโดยนัมโค อีกทั้งยังมีการสร้างเป็นอะนิเมะและสินค้าอื่นๆ รวมถึงมังงะ เกมอาร์พีจีแบบเล่นบนโต๊ะ และเกมการ์ดสะสม เกมชุดเมกามิเทนเซย์นี้มีเค้าโครงมาจากนิยายเรื่อง ดิจิตัลเดวิล โมโนกาตาริ: เมกามิเทนเซย์ (デジタル・デビル物語 女神転生) ซึ่งประพันธ์โดย อายะ นิชิทานิ ชื่อเมกามิเทนเซย์ (เทพธิดากลับชาติ) นั้น มีที่มาจากตัวละครเอกคนหนึ่งของนิยายและเกมภาคแรก เป็นเทพธิดาอิซะนะมิกลับชาติมาเกิด แม้ว่าในเกมภาคต่อๆมาจะไม่กล่าวถึงเนื้อเรื่องของนิยายอีก แต่ยังคงชื่อไว้ โดยตั้งแต่ภาคของเครื่องซูเปอร์แฟมิคอมได้เปลี่ยนชื่อเป็น ชินเมกามิเทนเซย์ (真・女神転生) ยกเว้นเกมในภาคเสริมชุด มาจินเทนเซย์ (魔神転生; เทพมารกลับชาติ) ซึ่งเป็นแนววางแผนการรบ เนื้อหาของเกมชุดเมกามิเทนเซย์มักเป็นการต่อสู้ระหว่างมนุษย์กับอำนาจเหนือธรรมชาติ ซึ่งสัตว์ประหลาดในเกมจะเรียกว่า ปิศาจ (悪魔) แต่จริงๆแล้วปิศาจในเกมนี้ยังรวมถึงเทพเจ้าในตำนานของศาสนาต่างๆด้วย นอกจากเป็นศัตรูแล้ว ผู้เล่นยังสามารถชักชวนมาเป็น สหายมาร (仲魔) ได้และสามารถรวมร่างสหายที่เป็นพวกเดียวกันให้กลายเป็นตัวใหม่หรืออาวุธได้ เนื่องจากลักษณะที่เกี่ยวพันกับศาสนาและความเชื่อนี้เอง ทำให้เนื้อหาของเกมชุดเมกามิเทนเซย์หลายๆภาคค่อนข้างรุนแรง เช่น ในชินเมกามิเทนเซย์ภาคสองที่มียาเวห์ของคริสต์ศาสนาเป็นศัตรูตัวสุดท้าย นอกจากภาคหลักแล้ว เมกามิเทนเซย์ยังมีเกมชุดย่อยในภาคเสริมเป็นจำนวนมาก ได้แก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เพอร์โซนา 3และเมกามิเทนเซย์

เพอร์โซนา 3และเมกามิเทนเซย์ มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2551มังงะอะนิเมะแอตลัสเพอร์โซนา 4เกมเล่นตามบทบาท13 กรกฎาคม19 เมษายน

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2551และเพอร์โซนา 3 · พ.ศ. 2551และเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

มังงะและเพอร์โซนา 3 · มังงะและเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

อะนิเมะและเพอร์โซนา 3 · อะนิเมะและเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

แอตลัส

แอตลัส อาจหมายถึง.

เพอร์โซนา 3และแอตลัส · เมกามิเทนเซย์และแอตลัส · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์โซนา 4

ปกของเพอร์โซนา 4 เพอร์โซนา 4 เป็นเกมเล่นตามบทบาทสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 เพอร์โซนา 4 เป็นภาคหนึ่งในชุด เพอร์โซนา ซึ่งเป็นชุดย่อยของเมกามิเทนเซย์ พัฒนาโดยบริษัทแอตลัส ออกวางจำหน่ายในญี่ปุ่นเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ก่อนจะจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ในเดือน ธันวาคม ปีเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า Shin Megami Tensei: Persona 4 (ชินเมกามิเทนเซย์ เพอร์โซนา4) และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552ในภาคพื้นยุโรป ภาคภาษาอังกฤษซึ่งจำหน่ายในอเมริกาเหนือยังแถมอาร์ตบุคและซาวแทร็คซีดีของเกมพร้อมกับเกมเช่นเดียวกับเพอร์โซนา 3 และเพอร์โซนา 4 ก็ได้รับคำวิจารณ์ในด้านบวกอย่างมากมายเช่นเดียวกัน ตัวละครในเกมนั้นได้รับการออกแบบโดยชิเงโนริ โซเอะจิมะ ยกเว้นเพอร์โซนาที่เป็นปิศาจจากเมกามิเทนเซย์ภาคก่อนๆซึ่งออกแบบโดยคาซึมะ คาเนโกะ ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2554 ได้เปิดตัวเว็บไซต์ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ของภาคอะนิเมะ และออกฉายในญี่ปุ่นครั้งแรกในวันที่ 6ตุลาคม..

เพอร์โซนา 3และเพอร์โซนา 4 · เพอร์โซนา 4และเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกมเล่นตามบทบาท

กมเล่นตามบทบาท หรือ เกมอาร์พีจี (Role-playing game: RPG) คือเกมประเภทหนึ่งที่ผู้เล่นสมมุติรับบทเป็นตัวละครหนึ่งในเกม โดยเล่นตามกฎกติกาของเกมผ่านการป้อนคำสั่งและเลือกเงื่อนไขที่เกมกำหนดมา โดยผลลัพธ์ที่เกิดจะแตกต่างกัน ตามเงื่อนไขที่เลือก โดยเกมอาจจะเป็นทั้งลักษณะ การเล่นโดยเขียนในกระดาษ วิดีโอเกมหรือคอมพิวเตอร์เกมก็ได้ ในยุคแรกๆเกมเล่นตามบทบาทจะเป็นลักษณะของเกมกระดาน ที่ผู้เล่นจะแบ่งฝ่ายเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งจะเป็นผู้นำในเกม ทำหน้าที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆผ่านกระดานในเกม ขณะที่ผู้เล่นอีกฝ่ายจะเป็นผู้เล่นต้องสร้างตัวละครและทอยเต๋ากำหนดค่าต่างๆ รวมถึงกระทำตามกฎต่างๆ เช่น การพูดคุยหาข้อมูล, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, การเก็บวัตถุและอาวุธ, เก็บสะสมค่าประสบการณ์และเลื่อนระดับ (เลเวล) จุดเด่นที่ทำให้เกมเล่นตามบทบาทได้รับความนิยม เพราะเกมเล่นตามบทบาทจะมีอิสระในกฎกติกา ทำให้การเล่นในแต่ละครั้งจะเปลี่ยนไปขึ้นอยู่กับที่ผู้นำเกมเลือก เกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานที่ได้รับความนิยมในต่างประเทศมีมาก แต่ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เมื่อถึงยุคที่เครื่องเกมคอมพิวเตอร์และวิดีโอเกมเริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น เกมเล่นตามบทบาทหลายๆเกมก็พัฒนากลายมาเป็นวิดีโอเกมแนวเล่นตามบทบาท โดยยังคงลักษณะเดิมของตัวเกมไว้ เช่น การให้ผู้เล่นสร้างตัวละครขึ้นเอง การต่อสู้ที่อ้างอิงหลักการทอยลูกเต๋า และอิสรภาพในเกม แต่เมื่อความนิยมเกมเล่นตามบทบาทได้เข้าในประเทศญี่ปุ่นได้เกิดเกมเล่นตามบทบาทแบบญี่ปุ่นขึ้น หรือที่เรียกว่า คอนโซล-โรลเพลย์อิงเกม (Console-Roleplaying Game) ซึ่งจะตัดทอนเสรีภาพในการเล่นลง แต่จะเสริมเนื้อหาที่เรื่องราวและตัวละครให้มากขึ้น ส่วนเกมของฝั่งอเมริกาจะเรียกว่า คอมพิวเตอร์-โรลเพลย์อิงเกม (Computer-Roleplaying Game) และฝ่ายเกมกระดานก็ถูกเรียกว่า เทเบิ้ลทอป-โรลเพลย์อิงเกม (Tabletop-Roleplaying Game) ในปัจจุบันคำจัดการความของคำว่า เกมเล่นตามบทบาท หรือ RPG นั้น ในฝั่งประเทศแถบเอเชียจะหมายถึง เกมที่มีการเก็บค่าประสบการณ์, การต่อสู้กับสัตว์ประหลาด, ฉากต่อสู้แบบตัดฉากจากฉากสนาม และเนื้อเรื่องที่สวยงามและสนุกสนาน แต่ในเกมฝั่งอเมริกาจะหมายถึง เกมที่มีเสริภาพในการเล่น, การสรรค์สร้างตัวละครได้ตามต้องการ ในประเทศไทย นักเล่นเกมคอมพิวเตอร์บางส่วนเรียกเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลว่า เกมภาษา เนื่องจาก ผู้เล่นรู้สึกว่าเกมเล่นตามบทบาทมีใช้การเลือกคำสั่ง ผ่านบทสนทนาของตัวละคร (ในช่วงแรกเป็นภาษาญี่ปุ่น) สำหรับการดำเนินเกม ในปัจจุบันถึงแม้ว่าเกมเล่นตามบทบาทบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอนโซลยังเป็นที่นิยม แต่ก็ยังมีการจำหน่ายเกมเล่นตามบทบาทแบบกระดานอยู่ เกมเล่นตามบทบาทแบบเกมกระดานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ดันเจี้ยนส์แอนด์ดราก้อน และ วอร์แฮมเมอร์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ เดียอาโบล และ ดิเอลเดอร์สครอลส์ เกมเล่นตามบทบาทของเครื่องคอมโซลที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันได้แก่ ไฟนอลแฟนตาซี และ ดราก้อนเควสต.

เกมเล่นตามบทบาทและเพอร์โซนา 3 · เกมเล่นตามบทบาทและเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

13 กรกฎาคมและเพอร์โซนา 3 · 13 กรกฎาคมและเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

19 เมษายนและเพอร์โซนา 3 · 19 เมษายนและเมกามิเทนเซย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เพอร์โซนา 3และเมกามิเทนเซย์

เพอร์โซนา 3 มี 65 ความสัมพันธ์ขณะที่ เมกามิเทนเซย์ มี 73 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 5.80% = 8 / (65 + 73)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เพอร์โซนา 3และเมกามิเทนเซย์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »