โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอพนัสนิคม

ดัชนี อำเภอพนัสนิคม

อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสน.

48 ความสัมพันธ์: ชาดกชาตรี ศรีชลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธรูปมิ่งเมืองพระพนัสบดีพระกัสสปพุทธเจ้าการปกครองส่วนท้องถิ่นมณฑลเทศาภิบาลวัดหลวงพรหมาวาสวัดใต้ต้นลานวัดโบสถ์วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคมศาสนาพุทธสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสระสี่เหลี่ยมสุวรรณภูมิหมู่บ้านหลวงพ่อติ้วอำเภอบ่อทองอำเภอบ้านบึงอำเภอบ้านโพธิ์อำเภอพานทองอำเภอพนัสนิคมอำเภอหนองใหญ่อำเภอแปลงยาวอำเภอเกาะจันทร์จังหวัดชลบุรีจังหวัดฉะเชิงเทราถนนศุขประยูรทวารวดีงานบุญกลางบ้านตำบลปัญญาสชาดกแหล่งโบราณคดีบ้านบนเนินแหล่งโบราณคดีหนองในแหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือแหล่งโบราณคดีโคกพุทราโรงเรียนพนัสพิทยาคารโรงเรียนอุทกวิทยาคมโรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัยโคกพนมดีเมืองพระรถเทศบาลตำบลหมอนนางเทศบาลเมืองพนัสนิคม

ชาดก

ก (-saजातक) คือ เรื่องราวหรือชีวประวัติในอดีตชาติของพระโคตมพุทธเจ้า คือ สมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมีอยู่ พระองค์ทรงนำมาเล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่าง ๆ เพื่อแสดงหลักธรรมสุภาษิตที่พระองค์ทรงประสงค์ เรียกเรื่องในอดีตของพระองค์นี้ว่า ชาดก ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก ชาดกที่ทรงเล่านั้นมีหลายร้อยเรื่อง ว่าทรงเคยเกิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นสัตว์บ้าง แต่ที่รู้จักกันโดยทั่วไป คือ 10 ชาติสุดท้ายที่เรียกว่าทศชาติชาดก และชาติสุดท้ายที่สุดที่ทรงเสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร จึงเรียกเรื่องพระเวสสันดรนี้ว่า มหาเวสสันดรชาดก.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและชาดก · ดูเพิ่มเติม »

ชาตรี ศรีชล

ตรี ศรีชล เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชายเสียงดีเลือดนักสู้จากเมืองน้ำเค็ม เขามีความสามารถทั้งการร้องเพลง รวมทั้งการประพันธ์เพลงลูกทุ่งในระดับชั้นแนวหน้าของวงการลูกทุ่งเมืองไทย ผลงานเพลงทั้งทีเจขาร้องและประพันธ์ เป็นที่รู้จักของแฟนเพลงมากมาย ชาตรี ศรีชล เป็นเจ้าของผลงานเพลงดังอย่าง " สาวผักให่ ", สมัครรักสมัครแฟน " และอื่นๆอีกมาก.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและชาตรี ศรีชล · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปมิ่งเมือง

ระพุทธรูปมิ่งเมือง (พนัสนิคม) เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย แกะสลักด้วยไม้ประดู่ ลักษณะเป็นศิลปะของชาวลาว ประดิษฐาน ณ พระวิหารพระพุทธรูปมิ่งเมือง เทศบาลเมืองพนัสนิคม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี และกรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุเมื่อ พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระพุทธรูปมิ่งเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระพนัสบดี

ระพนัสบดี พระพุทธรูปศิลาสมัยทวารวดี(พระพนัสบดี)ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุแล้ว โดยสันนิษฐานว่าพระพนัสบดีองค์จริงนั้น สร้างขึ้นในสมัยทวารวดี และพระพนัสบดีองค์จำลอง ประดิษฐาน ณ หอพระพระพนัสบดี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี จัดเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามในประเทศไทยองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระพนัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระกัสสปพุทธเจ้า

ระกัสสปะพุทธเจ้า เป็นพระพุทธเจ้าในภัทรกัปป์นี้ ทรงจุติลงมาในโลกมนุษย์หลังจากสิ้นสุดศาสนาของพระโกนาคมพุทธเจ้าแล้ว โดยนับตั้งแต่อายุมนุษย์ลดลงจากสองหมื่นปีเหลือ 10 ปี แล้วเพิ่มขึ้นจนถึงสองหมื่นปีอีกครั้ง พระองค์จึงเสด็จลงมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและพระกัสสปพุทธเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

การปกครองส่วนท้องถิ่น

การปกครองส่วนท้องถิ่น คือหน่วยงานปกครองที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง โดยปกติการปกครองส่วนท้องถิ่นจะเปิดโอกาสให้ประชาชนในเขตท้องถิ่นนั้น ๆ เลือกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทำหน้าที่เป็นผู้บริหารท้องถิ่น หรือเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเพื่อเลือกผู้บริหารท้องถิ่นอีกทีหนึ่ง (เรียกว่าการเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมตามลำดับ) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีอำนาจอิสระ (autonomy) ในการบริหารจากรัฐได้ในระดับหนึ่งตามขอบเขตที่กฎหมายกำหนด การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง คือการเปิดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้น ๆ สามารถเลือกตั้งผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตท้องถิ่นของตนได้โดยตรง ส่วนการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยอ้อม สภาท้องถิ่นจะทำหน้าที่เลือกผู้บริหารท้องถิ่นแทนประชาชนในท้องถิ่น กล่าวคือ ประชาชนในท้องถิ่นจะทำหน้าที่เพียงแค่เลือกสมาชิกสภาท้องถิ่นเท่านั้น แล้วสมาชิกสภาท้องถิ่นจะทำหน้าที่ในการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นอีกชั้นหนึ่ง.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและการปกครองส่วนท้องถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

วัดหลวงพรหมาวาส

เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของอำเภอพนัสนิคม ในอดีตเคยเป็นสถานที่ทำพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เมื่อเข้าไปในบริเวณวัด จะสามารถสังเกตตามต้นไม้ จะเป็นที่พักพิงของค้างคาวแม่ไก่จำนวนมากกว่าพันตัว ซึ่งค้างคาวเหล่านี้อาศัยต้นไม้ภายในวัดมาเป็นเวลากว่าร้อยปีแล้ว ค้างคาวเหล่านี้จะเริ่มออกเวลาประมาณ ห้าโมงเย็นและกลับมาประมาณตีสี่ ครึ่งของทุกวัน บ้างว่าค้างคาวเหล่านี้บินไปหาอาหารไกลถึงจันทบุรี ตราดเลยก็มี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและวัดหลวงพรหมาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดใต้ต้นลาน

ราณสถาน วัดใต้ต้นลาน ตั้งอยู่ที่บ้านคลองหลวง ตำบลบ้านไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและวัดใต้ต้นลาน · ดูเพิ่มเติม »

วัดโบสถ์

วัดโบสถ์ เป็นชื่อของวัดและสถานที่ต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและวัดโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม

วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม เป็นสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและวิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สระสี่เหลี่ยม

ราณสถาน สระน้ำ สระสี่เหลี่ยม เป็นโบราณสถานแหล่งน้ำที่ใช้ในชุมชนโบราณตั้งแต่สมัยทวารวดี ที่ตั้งอยู่ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและสระสี่เหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณภูมิ

วรรณภูมิ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อติ้ว

ระพุทธรูปปางมารวิชัย หลวงพ่อติ้ว เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย แกะสลักด้วยไม้แต้ว ลักษณะเป็นศิลปะของชาวลาว ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ วัดหัวถนน ตำบลหัวถนน อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุเมื่อ..

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและหลวงพ่อติ้ว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ่อทอง

อำเภอบ่อทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอบ่อทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านบึง

อำเภอบ้านบึง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอบ้านบึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านโพธิ์

อำเภอบ้านโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอบ้านโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพานทอง

อำเภอพานทอง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอพานทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพนัสนิคม

อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสน.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอพนัสนิคม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองใหญ่

อำเภอหนองใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเนินดินสูง ๆ ต่ำ ๆ มีพื้นที่ราบเล็กน้อยตามเนินดินต่าง ๆ มีความสมบูรณ์ค่อนข้างน้อ.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอหนองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแปลงยาว

อำเภอแปลงยาว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอแปลงยาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเกาะจันทร์

อำเภอเกาะจันทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและอำเภอเกาะจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและจังหวัดชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฉะเชิงเทรา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและจังหวัดฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศุขประยูร

นนศุขประยูร หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 315 สายฉะเชิงเทรา - ชลบุรี เป็นถนนแอสฟัลต์คอนกรีต เริ่มจากทางแยกคอมเพล็กซ์ (ทางแยกกองพลทหารราบที่ 11) อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เลี้ยวขวาที่ทางแยกพนัสนิคม ไปทางทิศตะวันตก เข้าสู่พื้นที่อำเภอพานทองและอำเภอเมืองชลบุรี ผ่านทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี (สิ้นสุดทางหลวงแผ่นดินบริเวณนี้) และไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกเฉลิมไทย ช่วงจากทางแยกคอมเพล็กซ์ถึงอำเภอพนัสนิคมมีขนาด 2 ช่องจราจร ระยะทาง 25 กิโลเมตร และช่วงจากอำเภอพนัสนิคมถึงปลายทางมีขนาด 4 ช่องจราจร ระยะทาง 22 กิโลเมตร รวมทั้งหมด 47 กิโลเมตร ช่วงที่เป็นทางหลวงแผ่นดินอยู่ในความดูแลของแขวงการทางฉะเชิงเทราและแขวงการทางชลบุรี สำนักทางหลวงที่ 12 (ชลบุรี) ถนนศุขประยูรเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายฉะเชิงเทรา พนัสนิคม-ชลบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและถนนศุขประยูร · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

งานบุญกลางบ้าน

กบาลสะเดาะเคราะห์ของชาวบ้านคุ้งตะเภาในประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประเพณีงานบุญกลางบ้าน เป็นประเพณีงานบุญของชาวไทยกลุ่มวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลาง มักจัดขึ้นในราวกลางเดือน 3 ถึงเดือน 6 ตามปฏิทินจันทรคติไทย มักจะตกอยู่ในราวเดือนกุมภาพันธ์ ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีงานบุญกลางบ้านในปัจจุบัน จะจัดขึ้นหลังเสร็จสิ้นจากการเก็บเกี่ยวข้าวของเกษตรกรชาวนา โดยในแต่ละท้องถิ่นมีรายละเอียดการจัดประเพณีแตกต่างกันไป แต่ยังคงสาระหลักในการทำบุญกลางบ้าน เพื่อสร้างเสริมกำลังใจ และสร้างความสามัคคีของคนในชุมชนชนบทเอาไว้สืบมาจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและงานบุญกลางบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญาสชาดก

ปัญญาสชาดก เป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องเอกที่พระเถระนักปราชญ์ชาวเชียงใหม่ได้รวบรวมเรื่องราวปรัมปราที่เป็นนิทานพื้นถิ่นแพร่หลายในยุคนั้น แล้วนำมารจนาเป็นชาดกขึ้นในระหว่างปี..

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและปัญญาสชาดก · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน

แหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในตำบลวัดหลวง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งโบราณคดีหนองใน

แหล่งโบราณคดีหนองใน เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ สมัยสำริด ที่ตั้งอยู่ในตำบลไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีหนองใน · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ

แหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในตำบลไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งโบราณคดีโคกพุทรา

แหล่งโบราณคดีโคกพุทรา เป็นแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและแหล่งโบราณคดีโคกพุทรา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพนัสพิทยาคาร

รงเรียนพนัสพิทยาคาร (Phanatpittayakarn School, ย่อ: พ.พ., PP) เป็นโรงเรียนรัฐบาลสหศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ หมู่ที่ 6 ถนนสุขประยูร ตำบลกุฎโง้ง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี โดยมีชื่อที่เรียกกันทั่วไปของชาวพนัสนิคมว่า “โรงเรียนหลวงใหญ่” โรงเรียนพนัสพิทยาคาร อยู่ภายใต้สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 สหวิทยาเขตชลบุรี 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจำ อำเภอพนัสนิคม ก่อตั้งขึ้นในปี 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479 (อย่างเป็นทางการ) โดยปัจจุบันโรงเรียนพนัสพิทยาคารมีอายุ ปี นอกจากนี้โรงเรียนพนัสพิทยาคารได้เป็นโรงเรียนเครือข่ายห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและโรงเรียนพนัสพิทยาคาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุทกวิทยาคม

รงเรียนอุทกวิทยาคม ตั้งอยู่ที่ 22 หมู่ 4 ต.วัดโบสถ์ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี เป็นโรงเรียนขนาดเล็กประจำตำบล เป็นโรงเรียนที่ให้โอกาสแก่เด็กยากจนที่มีความประพฤติดี ได้ศึกษาต่อตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 หรือช่วงชั้นที่ 3-4 เมื่อเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถขอโควตาเรียนต่อระดับอุดมศึกษา อาทิ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ฯลฯ ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน อ.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและโรงเรียนอุทกวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย

รงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย เป็นโรงเรียนรัฐบาล แบบสหศึกษา เปิดสอนในระดับอนุบาล ประถมศึกษา ในอำเภอพนัสนิคม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและโรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โคกพนมดี

ราณสถานเนินดินโคกพนมดี เป็นชุมชนโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่ตั้งอยู่ในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและโคกพนมดี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพระรถ

มืองพระรถ เป็นเมืองโบราณ ที่ตั้งอยู่ในตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ประกอบด้วยโบราณสถานสมัยทวารวดี.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและเมืองพระรถ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหมอนนาง

ทศบาลตำบลหมอนนาง ตั้งอยู่ในเขตตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นเทศบาลมีเนื้อที่ครอบคลุมตำบลหมอนนางทั้งตำบล โดยเทศบาลถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลหมอนนาง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอพนัสนิคมลงมาเล็กน้อย มีพื้นที่ 32,600 ไร่ หรือมีพื้นที่ประมาณ 52.58 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอำเภอพนัสนิคมเป็นระยะทาง 8 กิโลเมตร ตามเส้นทางถนนสายพนัสนิคม-หนองเสม็ด-บ่อทอง.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและเทศบาลตำบลหมอนนาง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองพนัสนิคม

แผนที่เมืองพนัสนิคม หอพระพนัสบดี เทศบาลเมืองพนัสนิคม พระพนัสบดี เทศบาลเมืองพนัสนิคม หรือ เมืองพนัสนิคม ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นเทศบาลขนาดกลางมีเนื้อที่ครอบคลุมตำบลพนัสนิคมทั้งตำบล โดยเทศบาลเมืองพนัสนิคมถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 14 มีนาคม พ.ศ. 2480 ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง มีพื้นที่ 2.76 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 87 กิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองชลบุรี 22 กิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองฉะเชิงเทรา 28 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอพนัสนิคมและเทศบาลเมืองพนัสนิคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.พนัสนิคมถ้ำนางสิบสอง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »