โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและเฮ สลาฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและเฮ สลาฟ

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ vs. เฮ สลาฟ

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ (มอนเตเนโกร: Ој, свијетла мајска зоро, แปลว่า "โอ้ รุ่งสางอันสว่างไสวแห่งเดือนพฤษภา") เป็นชื่อเพลงชาติอย่างเป็นทางการของประเทศมอนเตเนโกร เพลงนี้เดิมเป็นเพลงพื้นเมืองที่ชาวมอนเตเนโกรนิยมขับร้องทั่วไปในลักษณะของเพลงประจำชาติ ซึ่งมีการแต่งเติมเสริมแต่งออกไปหลายรูปแบบและไม่มีใครทราบชัดเจนว่าผู้ใดเป็นผู้เริ่มแต่งเพลงนี้ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เซกูลา เดรลเยวิช (Sekula Drljević) นักการเมืองฟาสซิสต์ชาวมอนเตเนโกรได้ประกาศใช้เพลงนี้เป็นเพลงชาติของรัฐบาลฟาสซิสต์หุ่นเชิดของมอนเตรเนโกรในชื่อเพลงว่า "เยชนานาชาเซอร์นากอรอ" (แปลว่า มอนเตเนโกรจงเจริญชั่วกาลนาน) ซึ่งเพลงนี้ได้มีการวิจารณ์ด้วยว่า เนื้อร้องในบทเพลงฉบับดังกล่าวนั้นได้รับอิทธิพลมาจากเพลงเพลงหนึ่งของพรรคนาซี แต่เนื้อร้องที่ใช้ในปัจจุบันนนี้เป็นเนื้องร้องที่มีการประพันธ์ขึ้นใหม่ภายหลัง. ลาฟ แปลได้ว่า "เรา ชาวสลาฟ" เป็นเพลงปลุกใจของชาวสลาฟ ประพันธ์คำร้องครั้งแรก พ.ศ. 2377 เพลงนี้มีชื่อเรียกอย่างอื่นดังนี้ เฮ สโลวัก (Hej, Slováci) โดย ซามูเอล โทมาสิค และตั้งแต่นั้นมาใช้เพลงนี้เป็นเพลงของกลุ่มอุดมการณ์ร่วมสลาฟ โดยเพลงนี้ใช้เป็นเพลงชาติของสหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย และเซอร์เบียและมอนเตเนโกร รวมทั้งเป็นเพลงชาติของชาวสโลวักอย่างไม่เป็นทางการ เพลงนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเพลงชาติโปแลนด์ "มาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2469 โดยเพลงเฮ สลาฟมีท่วงทำนองบรรเลงที่ช้ากว่าเพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ ในภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย มีความแตกต่างกันในการใช้อักษรลาติน และอักษรซีริลริก องเพลง เฮ สลาฟ ดังนี้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและเฮ สลาฟ

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและเฮ สลาฟ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อักษรละตินอักษรซีริลลิกประเทศมอนเตเนโกร

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและอักษรละติน · อักษรละตินและเฮ สลาฟ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรซีริลลิก

ประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิก อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก (Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซ.

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและอักษรซีริลลิก · อักษรซีริลลิกและเฮ สลาฟ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มอนเตเนโกรก็ได้ประกาศเอกราชในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มอนเตเนโกรได้รับการกำหนดให้เป็น "รัฐประชาธิปไตย สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม".

ประเทศมอนเตเนโกรและออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ · ประเทศมอนเตเนโกรและเฮ สลาฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและเฮ สลาฟ

ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฮ สลาฟ มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 10.34% = 3 / (8 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ออย์ซีเยทลามัยสกาซอรอและเฮ สลาฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »