โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

หมึกสายและหมึกสายเล็ก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง หมึกสายและหมึกสายเล็ก

หมึกสาย vs. หมึกสายเล็ก

รูปแสดงกายภาคของหมึกสาย หมึกสาย หรือ หมึกยักษ์ เป็นมอลลัสก์ประเภทหมึกอันดับหนึ่ง ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Octopoda. หมึกสายเล็ก, หมึกยักษ์เล็ก, หมึกสายขาว (Dollfus' octopus) เป็นมอลลัสก์ประเภทหมึกสายชนิดหนึ่ง จัดเป็นหมึกสายขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ 6–12 เซนติเมตร มีหนวด 8 เส้น แต่ละเส้นมีความยาวใกล้เคียงกันโคนหนวดแต่ละเส้นมีแผ่นหนังเชื่อมติดกัน ด้านในของหนวดทุกเส้นมีปุ่มดูดเรียงกันเป็นสองแถวสำหรับจับสัตว์กินเป็นอาหาร ลำตัวสีเทาอมดำหรือสีน้ำตาลอ่อน ด้านท้องสีขาว ซ่อนตัวอยู่ตามพื้นที่เป็นโคลนหรือโคลนปนทราย พบตามชายฝั่งทะเลทั่วไป กินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ๆ เช่น กุ้ง ปู หรือหอย เป็นอาหาร เป็นหนึ่งในชนิดของหมึกสายที่พบได้ในเขตน่านน้ำไทย ในเขตจังหวัดระยอง มีชื่อเรียกในภาษาถิ่นว่า "หมึกกุ๊งกิ๊ง" อันมาจากเสียงของเปลือกหอยที่ใช้หย่อนลงไปจับกระทบกัน เป็นหมึกที่ชาวประมงจะจับโดยการใช้เปลือกหอยโนรีผูกเชือกหย่อนลงไปในทะเล รอให้หมึกเข้ามาซ่อนตัวในเปลือกหอย แล้วจึงสาวเชือกขึ้นมาหลังจากผ่านไป 2 วัน หากเป็นเรือประมงขนาดใหญ่จะวางเปลือกหอยด้วยวิธีการนี้เป็นหมื่นชิ้น แต่วิธีการนี้จะเป็นการทำลายสภาพแวดล้อมอย่างยิ่ง โดยฤดูกาลที่หมึกสายเล็กจะมีมากที่สุด คือ ช่วงเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงฤดูมรสุม อาจจับได้ปริมาณมากครั้งละ 20 กิโลกรัม ในขณะที่ภาษาใต้เรียกว่า "วุยวาย" หรือ "โวยวาย" หรือ "วาย" และมีวิธีการจับที่คล้ายกันที่จังหวัดเพชรบุรีและตราด แต่ที่อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา จะใช้วิธีการจับด้วยการใช้เหล็กแหลมแทงตามชายหาดเมื่อน้ำลด โดยล่อให้หมึกสายเล็กใช้หนวดจับเหยื่อซึ่งเป็นเนื้อปูจำพวกปูเปี้ยวหรือปูลมที่บริเวณปากรู จากนั้นจึงใช้เหล็กแหลมแทงเข้าที่บริเวณใต้ตา จึงจะได้ทั้งตัว ซึ่งวิธีการนี้ต้องใช้ความชำนาญ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง หมึกสายและหมึกสายเล็ก

หมึกสายและหมึกสายเล็ก มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชั้นเซฟาโลพอดมอลลัสกาสัตว์จังหวัดเพชรบุรี

ชั้นเซฟาโลพอด

ั้น เซฟาโลพอด (Cephalopod) เป็นชั้นในไฟลัมมอลลัสคา เซฟาโลพอดมีลักษณะเด่นตรงที่ร่างกายสมมาตร มีส่วนศีรษะเด่นออกมา การดัดแปลงส่วนเท้าของมอลลัสคา (muscular hydrostat) ไปเป็นแขนหรือหนว.

ชั้นเซฟาโลพอดและหมึกสาย · ชั้นเซฟาโลพอดและหมึกสายเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

มอลลัสกา

มอลลัสกา (ไฟลัม: Mollusca, เสียงอ่าน) เป็นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง คือสัตว์ที่มีลำตัวนิ่ม ส่วนใหญ่มีเปลือกแข็งหุ้มอยู่ภายนอก พบทั้งบนบก น้ำจืด น้ำเค็ม น้ำกร่อย ดำรงชีวิตเป็นอิสระ มีต่อมเมือกตามผิวลำตัว ระบบอวัยวะมีความซับซ้อน ลำตัวสั้น ด้านหน้าเป็นส่วนหัว ด้านล้างเป็นแผ่นเท้าสำหรับเคลื่อนที่และว่ายน้ำ ด้าบบนมีแมนเทิลที่ทำหน้าที่สร้างเปลือกแข็ง ภายในช่องปากมีแรดูลา ยกเว้นในหอยสองฝา ช่วยในการกินอาหาร มีต่อมน้ำลายและตับช่วยสร้างน้ำย่อย ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจอยู่ด้านบนและเส้นเลือดไปตามส่วนต่างๆ ระบบขับถ่ายมีเนฟริเดียม ระบบหายใจประกอบด้วยเหงือกหรือถุงหายใจที่คล้ายปอด ระบบประสาทมีปมประสาทสามคู่และมีเส้นประสาทยึดระหว่างปม มีอวัยวะสำหรับรับภาพ กลิ่นและการทรงตัว ระบบสืบพันธุ์ส่วนใหญ่แยกเพศ มีบางพวกไม่แยกเพศและเปลี่ยนเพศได้ มีการปฏิสนธิทั้งแบบภายในและภายนอก สัตว์ในไฟลัมมอลลัสกาเรียกโดยรวมว่า มอลลัสก์ (mollusc, mollusk).

มอลลัสกาและหมึกสาย · มอลลัสกาและหมึกสายเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

สัตว์

ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

สัตว์และหมึกสาย · สัตว์และหมึกสายเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

จังหวัดเพชรบุรีและหมึกสาย · จังหวัดเพชรบุรีและหมึกสายเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง หมึกสายและหมึกสายเล็ก

หมึกสาย มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ หมึกสายเล็ก มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 7.55% = 4 / (37 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง หมึกสายและหมึกสายเล็ก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »