เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

สหรัฐ

ดัชนี สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 554 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบรอดเวย์บริษัทแพร่สัญญาณฟ็อกซ์บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกันบริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติบริตนีย์ สเปียส์บลูส์ชะตากรรมที่โลกไม่ลืมบัลเลต์ชัค เบอร์รีชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐบารัก โอบามาชาวรัสเซียชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาบาสเกตบอลบาโฮนวยโวแบงก์ชิคาโกชินโตบียอนเซ่ โนวส์ชนชั้นสูงช่องแคบเบริงบ็อบ ดิลลันบ้านเรียนฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลาฟังก์ฟิลิป จอห์นสันฟุตบอลฟุตบอลโลก 1994ฟุตบอลโลกหญิงฟีนิกซ์ (รัฐแอริโซนา)พ.ศ. 2375พยานพระยะโฮวาพรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)พลังงานนิวเคลียร์พอล ไรอันพายุหมุนเขตร้อนพืชดอกพี่น้องไรต์กฎบัตรสหประชาชาติกระทรวงกลาโหมสหรัฐกระทรวงศึกษาธิการสหรัฐกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐกลุ่มภาษาจีนกลุ่มเกาะกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์กวมกอล์ฟ... ขยายดัชนี (504 มากกว่า) »

  2. ประเทศในกลุ่ม 20
  3. ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ
  4. รัฐสมาชิกเนโท
  5. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2319
  6. สมาพันธรัฐสิ้นสภาพ
  7. อดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของอังกฤษในทวีปอเมริกา

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู สหรัฐและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

บรอดเวย์

รอดเวย์ อาจหมายถึง.

ดู สหรัฐและบรอดเวย์

บริษัทแพร่สัญญาณฟ็อกซ์

ลโก้ของบริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง บริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง หรือที่ชาวอเมริกันทั่วไปเรียกว่า “ฟ็อกซ์” (FOX) เป็นธุรกิจสถานีโทรทัศน์ของเครือ นิวส์ คอร์ปอเรชัน ยักษ์ใหญ่ด้านสื่อที่มีนายรูเพิร์ต เมอร์ด็อก เป็นเจ้าของ โดยสถานีฟ็อกส์นับได้ว่าเป็นสถานีโทรทัศน์ที่เติบโตอย่างรวดเร็วมาก ก่อตั้งเมื่อเพียง ค.ศ.

ดู สหรัฐและบริษัทแพร่สัญญาณฟ็อกซ์

บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน

ริษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพอเมริกัน (The American Broadcasting Company; ชื่อย่อ: เอบีซี; ABC) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ ในสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและบริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน

บริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ

ริษัท การกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งชาติ (ชื่อย่อ: เอ็นบีซี; NBC) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ของสหรัฐอเมริกา มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่อาคารจีอี ร็อกกีเฟลเลอร์ เซ็นเตอร์ ในนครนิวยอร์ก มีสมญานามว่า "เครือข่ายนกยูง'" (Peacock Network) ตามสัญลักษณ์ของสถานี ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและบริษัทแพร่สัญญาณแห่งชาติ

บริตนีย์ สเปียส์

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ บริตนีย์ (อัลบั้ม) บริตนีย์ จีน สเปียส์ (Britney Jean Spears) เป็นศิลปินเพลงป็อปหญิงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ดู สหรัฐและบริตนีย์ สเปียส์

บลูส์

ลูส์ (Blues) เป็นรูปแบบของดนตรีประเภทหนึ่ง เกิดจากสภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของคนดำที่หลั่งไหลเข้าสู่สหรัฐเพื่อการเป็นทาส สภาพชีวิตที่คับแค้นของพวกเขาได้ถูกนำเสนอผ่านบทเพลงด้วยการร้อง หรือสวดอ้อนวอนในทางศาสนาที่ เป็นท่วงทำนองที่น่าเศร้า อันเป็นเอกลักษณ์ของการร้องและท่วงทำนองที่เกิดจากเครื่องดนตรีที่ไม่มีคุณภาพจากความแร้นแค้น และความรู้ในด้านทฤษฎีดนตรีที่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ทำให้มีเสียงหรือคอร์ดความเพี้ยนซึ่งต่อมาก็ได้สร้างความแปลกหู จนเป็นลักษณะและเอกลักษณ์เฉพาะ ลักษณะสำคัญของเพลงบลูส์คือ การใช้เสียงร้อง หรือเสียงของเครื่องดนตรีที่เพี้ยนจากเสียงในบันไดเสียง ซึ่งเรียกกันว่า เบนท์ หรือ บลูโน้ต และการสไลด์เสียง ปกติเพลงบลูส์เป็นเพลงในอัตราจังหวะ 4/4 ใน 1 วรรคจะมี 12 ห้องเพลง การร้องแต่ละวรรคจะมีการอิมโพรไวเซชั่นไปจากทำนองเดิม เช่นเดียวกับการบรรเลงโดยเครื่องดนตรี ลักษณะเฉพาะของเพลงบลูส์ถูกวางด้วยด้วยรากฐานจากความเจ็บปวดแร้นแค้น ทุกข์ทรมาน ของชีวิต เนื้อเพลง และสำเนียงของบลูส์จึงแฝงความเจ็บปวดคล้ายการสะอึกสะอื้นเวลาร้องให้ จึงใช้แสดงอารมณ์เศร้าได้ดี นอกจากนั้น เรื่องของจังหวะ (rhythm) ของบลูส์ที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และเป็นแบบแผนนำไปสู่ดนตรีรูปแบบอื่นมากมาย เช่น ฟังค์,โซลฟังค์,ริทึ่ม แอนด์ บลูส์, ร็อก แอนด์ โรล เป็นต้น ศิลปินบลูส์ที่น่าสนใจมีด้วยกันในหลายยุค เช่น BB.king ("You Know I Love You," "Woke Up This Morning," "Please Love Me,"), Muddy Waters, Buddy Guy, Stevie Ray Vaughan, Eric Clapton, John Lee Hooker,Jimi Hendrix ที่มาของคำว่า บลูส์ ในภาษาอังกฤษ blues หมายถึง อาการโศกเศร้า ในประโยคเช่น I feel blues.

ดู สหรัฐและบลูส์

ชะตากรรมที่โลกไม่ลืม

ตากรรมที่โลกไม่ลืม (Schindler's List) เป็นผลงานแนวประวัติศาสตร์ ดราม่า ของผู้กำกับสตีเว่น สปีลเบิร์ก ดัดแปลงผลงานของทอมัส คนีลลีย์ นิยายเรื่อง Schindler's Ark นำแสดงโดย เลียม นีสัน, เรล์ฟ ไฟนส์ และ เบน คิงสลี.

ดู สหรัฐและชะตากรรมที่โลกไม่ลืม

บัลเลต์

Classical bell tutus in ''The Dance Class'' by Degas, 1874 บัลเลต์ บัลเลต์ (ballet) หมายถึง การแสดงที่ประกอบด้วยการเต้น และ ดนตรีมีลักษณะเช่นเดียวกับอุปรากร เพียงแต่บัลเลต์เป็นการนำเสนอเนื้อเรื่อง โดยใช้การเต้นเป็นสื่อ มีกำเนิดขึ้นในระหว่างศตวรรษที่ 15 ที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมาในศตวรรษที่ 19 ได้แพร่หลายเข้าไปในประเทศอิตาลี การพัฒนาในยุคนี้คือ นิยมให้ผู้หญิงเป็นผู้แสดงเอก เรียกว่า บัลเลรินา (Ballerina) ศตวรรษที่ 20 บัลเลต์ได้รับการพัฒนาให้มีรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า โมเดิร์นแดนซ์ (Modern Dance) คือ การนำเอาหลักของบัลเลต์มาผสมผสานดัดแปลงให้เป็นการเต้น โดยไม่ต้องใส่รองเท้าบัลเลต์และไม่ต้องใช้ปลายเท้าในลักษณะของบัลเลต์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการประพันธ์เพลงบัลเลต์ ได้แก่ ไชคอฟสกี โปรโกเฟียฟ คอปแลนด์ และฟัล.

ดู สหรัฐและบัลเลต์

ชัค เบอร์รี

Chuck Berry, ''You can't catch me'', 1956. ชาร์ลส เอ็ดวาร์ด แอนเดอร์สัน "ชัค" เบอร์รี (Charles Edward Anderson "Chuck" Berry) (18 ตุลาคม พ.ศ. 2469 – 18 มีนาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและชัค เบอร์รี

ชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ

ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา หรือเรียกว่า ชายฝั่งตะวันออก (Eastern Seaboard) หมายถึง รัฐฝั่งทะเลซึ่งตั้งในภาคกลางหรือภาคเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยมีอาณาเขตติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก และแคนาดา ด้วยเหตุผลทางด้านภูมิศาสตร์ คำว่า ชายฝั่งตะวันออก (Eastern Seaboard) ได้มีการใช้อย่างกว้างขวาง; ในการใช้ที่ได้รับความนิยม "East Coast" มักเป็นคำที่ใช้ซึ่งเจาะจงหมายถึงเฉพาะครึ่งทางเหนือของพื้นที่ดังกล่าวเท่านั้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนครึ่งทางใต้ของพื้นที่ดังกล่าวมักถูกพิจารณาว่าเป็นภาคใต้หรือภาคตะวันออกเฉียงใต้ เขตมหานครหลักของฝั่งทะเลด้านตะวันออกรวมไปถึงนครขนาดใหญ่และพื้นที่โดยรอบของบอสตัน, โปรวิเดนซ์, นิวยอร์กซิตี, บัฟฟาโล, ฟิลาเดลเฟีย, บัลติมอร์, วอชิงตัน, ริชมอนด์, ราลี, ชาร์ลอตต์, ออร์แลนโด, แอตแลนตา, แจ็กสันวิลล์, ไมอามี ประชากรโดยประมาณของพื้นที่ดังกล่าว จากรัฐเมนจนถึงรัฐฟลอริดา อยู่ที่ 111,508,688 คน (ราว 36% ของประชากรทั้งประเทศ) หมวดหมู่:สหรัฐ.

ดู สหรัฐและชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐ

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ดู สหรัฐและบารัก โอบามา

ชาวรัสเซีย

วรัสเซีย (русские) เป็นกลุ่มคนเผ่าพันธุ์สลาฟ ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศรัสเซีย โดยประชากรส่วนใหญ่พูดภาษารัสเซี.

ดู สหรัฐและชาวรัสเซีย

ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา

ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกาที่มีชื่อเสียง แถวบน:ดับเบิลยู. อี. บี. ดู บอยส์ • มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ • เอดเวิร์ด บรูกแถวล่าง:มัลคอล์ม เอกซ์ • โรซา พรากส์ • ซอเยอร์เนอร์ ทรูธ ในสหรัฐอเมริกา คำว่า ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา (African-American, Afro-American) ภาษาปากว่า ชาวอเมริกันผิวดำ (Black American) เป็นชื่อเรียกของคนที่มีผิวสีดำแตกต่างจากคนอเมริกันที่มีผิวขาว โดยต้นกำเนิดของคนผิวสีส่วนใหญ่แล้วจะเริ่มมาจากทวีปแอฟริกา แต่เนื่องจากเหตุการณ์การล่าอาณานิคมและธุรกิจการค้าทาส ทำให้ผู้คนเหล่านี้ถูกพาเข้ามาอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก ในอดีตสหรัฐอเมริกามีปัญหาการเหยียดสีผิวอย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันนี้ทุกคนได้รับความเท่าเทียมกันในสังคม วัฒนธรรมของคนดำนั้นได้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับมากขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านดนตรี รวมทั้งการแต่งกายและการกีฬา หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกัน.

ดู สหรัฐและชาวอเมริกันเชื้อสายแอฟริกา

บาสเกตบอล

การแข่งขันบาสเกตบอลหญิงชิงถ้วยยุโรปของ FIBA ปี พ.ศ. 2548 ไมเคิล จอร์แดน ขณะกระโดดแสลมดังก์ บาสเกตบอล (อังกฤษ: basketball) เป็นกีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแบ่งผู้เล่นเป็น 2 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่น 5 คนพยายามทำคะแนนโดยการโยนลูกเข้าห่วงหรือตะกร้า (basket) ภายใต้กติกาการเล่นมาตรฐาน ตั้งแต่ที่คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและบาสเกตบอล

บาโฮนวยโวแบงก์

นวยโวแบงก์ (Bajo Nuevo Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่เป็นเกาะที่มีขนาดเล็ก อยู่ในแนวปะการัง ที่มีขนาดเล็กบาง เกาะเล็กเกาะน้อย ที่ปกคลุมด้วย หญ้า ที่ตั้งอยู่ในทิศตะวันตก ทะเลแคริบเบียน ที่ 15 ° 53 'n 78 ° 38 'w พิกัด: 15 ° 53 'n 78 ° 38' กับ ประภาคาร โลว เคย์ ที่ 15 ° 51 'n 78 ° 38'.

ดู สหรัฐและบาโฮนวยโวแบงก์

ชิคาโก

ก (Chicago; คำอ่าน) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐอิลลินอยส์ รู้จักกันในชื่อ "เมืองแห่งลม" (Windy City) ชื่อเล่นนี้ มีที่มาจากการที่นักข่าวเขียนล้อเลียนนักการเมืองของ ชิคาโกใน ศตวรรตที่ 19 เกี่ยวกับการพูดจากลับกลอกไปมา บางคนเชื่อว่ามีที่มาจากการที่เป็นเมืองที่มีลมพัดแรงตลอดเวลาแต่ไม่ได้มีหลักฐานใดๆเขียนสนับสนุนทฤษฎีนี้ ชิคาโกเป็นเมืองใหญ่อันดับสามในสหรัฐอเมริกาเทียบตามจำนวนประชากร รองจากเมืองนิวยอร์ก และลอสแอนเจลิส เมืองชิคาโกตั้งอยู่ในเคาน์ตีคุก รัฐอิลลินอยส์ เขตมิดเวสต์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อรวมเคาน์ตีรอบ ๆ ชิคาโกทั้ง 8 เคาน์ตีจะเรียกเขตว่า ชิคาโกแลนด์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 9 ล้านคน ชิคาโกพัฒนาจากเมืองทุ่งนาจากปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและชิคาโก

ชินโต

ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.

ดู สหรัฐและชินโต

บียอนเซ่ โนวส์

ียอนเซ่ จิเซลล์ โนวส์ เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1981 เป็นนักร้องสไตล์อาร์แอนด์บี, นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์, นักแสดง และ นางแบบ ชาวอเมริกัน โนวส์เกิดและเติบโตที่ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส ในวัยเด็กบียอนเซ่ได้เข้าร่วมในการแสดงหลากหลายเรียนอนุบาลถึงประถม ซึ่งรวมไปถึงการร้องเพลง อันเป็นการปูทางสำหรับอาชีพการเป็นนักร้อง บียอนเซ่เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในช่วงปี 1990 ในฐานะสมาชิกคนสำคัญของเดสทินีส์ไชลด์ วงดนตรีหญิงล้วนแนวอาร์แอนด์บีชื่อดังในยุคนั้น ตลอดชีวิตการทำงานของเธอ มียอดขายเกินกว่า 100 ล้านชุดในฐานะศิลปินเดียว ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.

ดู สหรัฐและบียอนเซ่ โนวส์

ชนชั้นสูง

ห้างสรรพสินค้าแฮร์รอดส์ พ.ศ. 2452 เป็นศูนย์รวมพบปะของชนชั้นสูงในกรุงลอนดอน ชนชั้นสูง (upper class) ในสังคมสมัยใหม่ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดของสังคมและรวมถึงผู้ที่ทรงอิทธิพลทางการเมือง ดังนั้นจึงสามารถจำแนกชนชั้นสูงออกได้ตามความร่ำรวยซึ่งส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น ดังตัวอย่างที่เห็นได้ชัดในสหรัฐอเมริกา กลุ่มคนที่รวยที่สุดของประเทศ 1% ถือครองทรัพย์สินกว่า 34% ของประเทศ คนในชนชั้นนี้ส่วนใหญ่มักเป็นชนชั้นสูงมาตั้งแต่กำเนิด ชนชั้นสูงอาจสูญเสียอิทธิพลทางการเมืองในสังคมที่ตนเองอาศัยอยู่ เราจะเรียกกลุ่มคนเหล่านี้ว่าผู้ดีเก่า ซึ่งเกิดขึ้นมากในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากยุคศตวรรษที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21 จากการเมืองการปกครองที่เปลี่ยนแปลงไปตามวิถีประชาธิปไตยและรวมไปถึงการกำเกิดใหม่มากมายของคนชนชั้นกลาง ในภายหลังถือว่าปริมาณความมั่งคั่งและชื่อเสียงไม่ใช่ตัวชี้วัดที่จะแบ่งคนในชนชั้นนี้ออกได้ ชนชั้นสูงมีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมร่วมกันในชนชั้น ในประวัติศาสตร์ มีชนชั้นสูงจำนวนไม่น้อยที่สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องทำมาหาเลี้ยงชีพ แต่อาศัยกินดอกผลจากค่าเช่าที่ดินหรือผลตอบแทนในกิจการที่เป็นสมบัติตกทอดกันมา ดังนั้นหากวัดด้วยจำนวนเงินแล้ว ชนชั้นสูงอาจจะไม่ได้ร่ำรวยเท่ากับพวกพ่อค้าวาณ.

ดู สหรัฐและชนชั้นสูง

ช่องแคบเบริง

ทางอากาศของช่องแคบเบริง ช่องแคบเบริง (Bering Strait; Берингов пролив Beringov proliv) เป็นช่องทะเลเล็ก ๆ ระหว่างแหลมเดจเนฟ ประเทศรัสเซีย จุดตะวันออกสุดของทวีปเอเชีย (169°43' ตะวันตก) กับแหลมพรินซ์ออฟเวลส์ รัฐอะแลสกา จุดที่อยู่ตะวันตกสุดของทวีปอเมริกาเหนือ (168°05' ตะวันตก) อยู่ค่อนมาทางใต้เส้นอาร์กติกเซอร์เคิลเล็กน้อย เป็นหนึ่งในช่องแคบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อของช่องแคบได้มาจากชื่อนักสำรวจชาวเดนมาร์ก นามว่าไวทัส เบริง นักสำรวจชาวเดนมาร์กในกองทัพเรือรัสเซีย ซึ่งเดินทางข้ามช่องแคบในปี..

ดู สหรัฐและช่องแคบเบริง

บ็อบ ดิลลัน

็อบ ดิลลัน (Bob Dylan) หรือชื่อจริง โรเบิร์ต อัลเลน ซิมเมอร์แมน (Robert Allen Zimmerman; เกิด 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ศิลปิน จิตรกร นักประพันธ์ และกวีชาวอเมริกัน ที่มีผลงานในวงการดนตรีมาตลอดกว่า 5 ทศวรรษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงทศวรรษ 1960 จนได้รับฉายาให้เป็น "ราชาแห่งโฟล์ก" ด้วยภาพลักษณ์ของดิลลันในการแต่งเพลงที่เน้นเนื้อหาทางสังคมและการต่อต้านสงคราม มีเพลงตัวอย่างเช่น "Blowin' in the Wind" และ "The Times They Are a-Changin'" ที่ได้กลายมาเป็นหนึ่งในเพลงสัญลักษณ์ของการเคลื่อนไหวทางสิทธิมนุษยชนและการต่อต้านสงครามในสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้เขายังได้ออกซิงเกิล "Like a Rolling Stone" ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปี..

ดู สหรัฐและบ็อบ ดิลลัน

บ้านเรียน

้านเรียน (homeschool) คือระบบการศึกษาซึ่งจัดการโดยครอบครัว หรือกลุ่มของครอบครัว โดยไม่ได้พึ่งพาระบบการศึกษากระแสหลัก เช่นโรงเรียน หรือระบบการศึกษาของรัฐ โดยครอบครัวหรือชุมชนเป็นผู้จัดการศึกษาตามปรัชญาความเชื่อของตนหรือของชุมชนแตกต่างกันไป ซึ่งในปัจจุบันในประเทศไทยการจัดการศึกษาในรูปแบบนี้ได้รับการรับรองตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาต..

ดู สหรัฐและบ้านเรียน

ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา

ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา (Francis Ford Coppola; 7 เมษายน ค.ศ. 1939) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากผลงานกำกับภาพยนตร์ เดอะก็อดฟาเธอร์ และ Apocalypse Now นอกเหนือจากผลงานภาพยนตร์แล้ว เขายังเป็นนักธุรกิจเจ้าของโรงบ่มไวน์ ธุรกิจโรงแรม และนิตยสาร คอปโปลาเกิดที่โรงพยาบาลเฮนรี ฟอร์ด ในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน จึงมีชื่อกลางว่า "ฟอร์ด" ตามชื่อของเฮนรี ฟอร์ด; can be viewed at http://www.youtube.com/watch?v.

ดู สหรัฐและฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา

ฟังก์

ฟังก์ (Funk) เป็นแนวเพลงชนิดหนึ่งเกิดขึ้นในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนักดนตรีชาวแอฟริกัน-อเมริกัน ได้รวมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอาร์แอนด์บี ให้มีจังหวะ สามารถเต้นรำได้ เกิดแนวเพลงชนิดใหม่ ฟังก์ได้ลดความเด่นของเมโลดี้และความกลมกลืนลง และนำจังหวะสนุกสนานเพิ่มขึ้นด้วยเบสอิเล็กทรอนิกและกลองให้ชัดขึ้น ไม่เหมือนกับเพลงอาร์แอนด์บีหรือโซล ที่มีการเปลี่ยนคอร์ดหลายครั้ง เพลงฟังก์มักจะมีคอร์ดเดียว ฟังก์ประกอบด้วยจังหวะของเครื่องดนตรีอย่าง กีตาร์ไฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และกลอง เล่นในจังหวะที่เกาะเกี่ยวกัน วงฟังก์มักจะมีเครื่องเป่าอยู่ด้วย อย่าง แซกโซโฟน ทรัมเป็ต หรือในบางครั้งก็มี ทรอมโบน ผู้มีอิทธิพลต่อดนตรีฟังก์ เช่น เจมส์ บราวน์,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมิลี สโตน, จอร์จ คลินตัน แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟังก์คาเดลิก,เคอร์ติส เมฟิลด์, เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอลลินส์ และ พรินซ์ วงดนตรีที่เป็นที่รู้จักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วินด์แอนด์ไฟร์,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอร์ส และคูลแอนด์เดอะแก๊ง ที่โด่งดังหลายๆ วง ก็เล่นเพลงในแนวดิสโก้และโซลด้วย ดนตรีฟังก์ได้มีการพัฒนาอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 ในช่วงที่ดนตรีดิสโก้โด่งดัง มีความนิยมในการใช้ท่อมแซมเปิ้ลของดนตรีฟังก์ในดนตรีฮิปฮอป และฟังก์ยังมีอิทธิพลต่อแนวดนตรี โก-โก ฟังก์อย่างมีอิทธิพลต่อเพลงแนวนิวเวฟและโพสต์พังก์บ้าง.

ดู สหรัฐและฟังก์

ฟิลิป จอห์นสัน

ฟิลิป คอร์เทลยู จอห์นสัน (Philip Cortelyou Johnson) (8 กรกฎาคม ค.ศ. 1906 - 25 มกราคม ค.ศ. 2005) เป็นสถาปนิกผู้ทรงอิทธิพลชาวอเมริกัน ที่มีผลงานสถาปัตยกรรมลักษณะ กระจกมีกรอบมน หนา จอห์นสันเป็นหนึ่งหนึ่งในผู้สร้างสรรค์ผลงานสถาปัตยกรรมมีชื่อเสียงมาหลายทศวรรษ เขาศึกษาที่บัณฑิตวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดด้านการออกแบบ ในปี..

ดู สหรัฐและฟิลิป จอห์นสัน

ฟุตบอล

ฟุตบอล หรือ ซอกเกอร์ เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น11คน โดยใช้ลูกบอล เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายว่าเป็นกีฬาที่เป็นที่นิยมมากที่สุดในโลก โดยจะเล่นในสนามหญ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ สนามหญ้าเทียม โดยมีประตูอยู่กึ่งกลางที่ปลายสนามทั้งสองฝั่ง เป้าหมายคือทำคะแนนโดยพาลูกฟุตบอลให้เข้าไปยังประตูของฝ่ายตรงข้าม ในการเล่นทั่วไปผู้รักษาประตูจะเป็นผู้เล่นเพียงคนเดียวที่สามารถใช้มือหรือแขนกับลูกฟุตบอลได้ ส่วนผู้เล่นอื่นๆจะใช้เท้าในการเตะลูกฟุตบอลไปยังตำแหน่งที่ต้องการ บางครั้งอาจใช้ลำตัว หรือ ศีรษะ เพื่อสกัดลูกฟุตบอลที่ลอยอยู่กลางอากาศ โดยทีมที่พาลูกฟุตบอลเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามได้มากกว่าจะเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนเท่ากันให้ถือว่าเสมอ แต่ในบางเกมที่เสมอกันในช่วงเวลาปกติแล้วต้องการหาผู้ชนะจึงต้องมีการต่อเวลาพิเศษ และ/หรือยิงลูกโทษขึ้นอยู่กับกฎระเบียบของรายการแข่งขันนั้นๆ โดยกฎกติกาการเล่นสมัยใหม่จะถูกรวบรวมขึ้นในประเทศอังกฤษ โดย สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและฟุตบอล

ฟุตบอลโลก 1994

ฟุตบอลโลก 1994 (พ.ศ. 2537) เป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 15 จัดที่ประเทศสหรัฐ มีสมาชิกที่ผ่านรอบคัดเลือกร่วมทั้งหมด 24 ทีม โดยเป็นครั้งแรกที่ฟุตบอลโลกจัดการแข่งขันที่ทวีปอเมริกาเหนือด้วย และเป็นครั้งแรกที่ใช้การนับแต้มระบบ ชนะได้ 3 แต้มซึ่งเป็นการคาดหวังว่าจะทำให้ทุกทีมหันมาเน้นกันทำประตูกันมากขึ้น โดยในครั้งนี้ไม่มีมหาอำนาจลูกหนังโลกขวัญใจชาวไทย อย่างอังกฤษ และ ฝรั่งเศสลงแข่งขันด้วย เนื่องจากไม่ผ่านรอบคัดเลือก.

ดู สหรัฐและฟุตบอลโลก 1994

ฟุตบอลโลกหญิง

ฟุตบอลโลกหญิง (FIFA Women's World Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับโลกสำหรับทีมชาติทีมหญิงเช่นเดียวกับ ฟุตบอลโลก จัดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศจีน เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและฟุตบอลโลกหญิง

ฟีนิกซ์ (รัฐแอริโซนา)

ฟีนิกซ์ (Phoenix) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดของรัฐแอริโซนาในสหรัฐอเมริกา มันยังเป็นเมืองเอกของรัฐแอริโซนาและเป็นเมืองเอกของรัฐที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐฯ ในแง่ของประชากร มันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐฯ และอยู่ในเขตเวลาภูเขา นอกจากนี้มันบังเป็นเมืองใหญ่ที่สุดอันดับสองรองลงมาจากลอสแอนเจลิส ในบริเวณภาคตะวันตกของสหรัฐฯ มันเป็นเมืองศูนย์กลางทางการเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ หุ้น เทคโนโลยี และ การคมนาคม ของรัฐแอริโซนา เมืองถูกรู้จักกันในชื่อเล่นว่า หุบเขาแห่งพระอาทิตย์/เดอะ วัลเลย์ (Valley of the Sun/The Valley) เพราะว่าเมืองฟีนิกซ์ถูกล้อมรอบด้วยภูเขาทุก ๆ ด้าน ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองนี้ถูกเรียกว่า ชาวฟีนิเชียน (Phoenicians).

ดู สหรัฐและฟีนิกซ์ (รัฐแอริโซนา)

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู สหรัฐและพ.ศ. 2375

พยานพระยะโฮวา

นพระยะโฮวา (Jehovah's Witnesses) คือชื่อเรียกที่มาจากคัมภีร์ไบเบิล อิสยาห์ บทที่ 43 ข้อ 10 ที่ใช้ชื่อนี้เพราะพวกเขาเป็นผู้ที่เป็นพยานให้กับพระยะโฮวา ในเรื่องที่ว่าพระยะโฮวาเป็นพระเจ้าองค์เที่ยงแท้องค์เดียวเป็นผู้เดียวที่สมควรได้รับการนมัสการจากสิ่งมีเชาว์ปัญญาทั้งหลาย และยังเป็นพยานให้กับสิ่งที่พระยะโฮวาได้ทรงทำแล้วในอดีตจนถึงปัจจุบัน.

ดู สหรัฐและพยานพระยะโฮวา

พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)

รรคริพับลิกัน (Republican Party หรือ Grand Old Party, อักษรย่อ: GOP) เป็นพรรคการเมืองอนุรักษนิยม ซึ่งเป็นหนึ่งในสองพรรคของสหรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (อีกพรรคหนึ่งคือ พรรคเดโมแครต) ประธานาธิบดีจากพรรคนี้คนล่าสุดคือ ดอนัลด์ ทรัมป์ ถ้านับตั้งแต่ ค.ศ.

ดู สหรัฐและพรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)

พรรคเดโมแครต (สหรัฐ)

รรคเดโมแครต (Democratic Party) เป็นหนึ่งในสองพรรคการเมืองใหญ่ของสหรัฐ (อีกพรรคหนึ่งคือ ริพับลิกัน).

ดู สหรัฐและพรรคเดโมแครต (สหรัฐ)

พลังงานนิวเคลียร์

รงไฟฟ้าพลังไอน้ำ Susquehanna แสดงเครื่องปฏิกรณ์ต้มน้ำร้อน. เครื่องปฏิกรณ์ตั้งอยู่ภายในอาคารเก็บกักรูปสี่เหลี่ยมที่อยู่ด้านหน้าของหอให้ความเย็น.

ดู สหรัฐและพลังงานนิวเคลียร์

พอล ไรอัน

พอล ไรอัน (ภาษาอังกฤษ; Paul Davis Ryan; เกิด 29 มกราคม พ.ศ. 2511) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาคนที่ 54 และคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและพอล ไรอัน

พายุหมุนเขตร้อน

รนแบนด์โดยรอบ, และลักษณะของพายุหมุนเขตร้อน ที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนจากอวกาศ พายุหมุนเขตร้อน คือ ระบบพายุที่พัฒนามาจากศูนย์กลางของหย่อมความกดอากาศต่ำ, ลมแรง และการจัดเกลียวของพายุฝนฟ้าคะนอง ทั้งนี้ขึ้นกับสถานที่และความรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งมีชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น พายุเฮอร์ริเคน, พายุโซนร้อน, พายุไซโคลน, พายุดีเปรสชันเขตร้อน และพายุไซโคลนอย่างง่าย โดยทั่วไปรูปแบบพายุหมุนเขตร้อนจะมีขนาดใหญ่ขึ้นกับความสัมพันธ์กับน้ำอุ่น โดยพายุจะได้รับพลังงานผ่านการระเหยของน้ำบริเวณพื้นผิวมหาสมุทร ซึ่งในที่สุดน้ำเหล่านั้นจะควบแน่นอีกครั้งและเข้าไปอยู่ในกลุ่มเมฆและฝน เมื่ออากาศชื้นและความเย็นอิ่มตัว ซึ่งแหล่งพลังงานนี้จะแตกต่างกับพายุหมุนละติจูดกลาง ตัวอย่างเช่น นอร์อิสเทิร์น และพายุลมยุโรป ซึ่งได้รับพลังพลักดันหลักจากความแตกต่างของอุณหภูมิในแนวนอน โดยลมหมุนวนรอบอย่างรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อนนั้นเป็นผลมาจากการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม ซึ่งเกิดจากสภาวะการหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะที่อากาศไหลเข้ามาสู่แกนกลางของการหมุน ผลที่ตามมา คือ พายุมักไม่ค่อยเกิดขึ้นภายใน 5° จากศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนโดยทั่วไปเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 100 - 4,000 กิโลเมตร คำว่า พายุหมุน (หรือไซโคลน) หมายถึง พายุหมุนตามธรรมชาติ ซึ่งลมจะพัดหมุนทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ และจะพัดหมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้ ซึ่งทิศทางตรงข้ามการของการไหลเวียนลม เป็นผลมาจากคอริโอลิส ส่วนคำว่า เขตร้อน หมายถึง แหล่งกำเนิดของพายุทางภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษของทะเลในเขตร้อน นอกจากลมแรงและฝนตก พายุหมุนเขตร้อนมีความสามารถในการสร้างคลื่นสูง และก่อให้เกิดความเสียหายจากน้ำขึ้นจากพายุ และทอร์นาโด ซึ่งมักจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่พายุอยู่บนแผ่นดิน เนื่องจากถูกตัดขาดจากแหล่งพลังงานหลักของมัน จากเหตุผลนี้ ทำให้บริเวณชายฝั่งทะเล มักมีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากพายุหมุนเขตร้อนมากกว่า เมื่อเทียบกับในแผ่นดิน อย่างไรก็ตามในแผ่นดินเองก็เกิดความเสียหายได้จากน้ำท่วมบนแผ่นดิน จากฝนตกหนัก และน้ำขึ้นจากพายุสามารถก่อให้เกิดน้ำท่วมบนแผ่นดินได้กว้างถึง 40 กิโลเมตร จากชายฝั่งทะเล แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนจะส่งผลกระทบต่อประชากรมนุษย์มหาศาล แต่พายุยังสามารถช่วยบรรเทาภาวะภัยแล้งได้ พวกมันยังพาพลังงานความร้อนออกไปจากเขตร้อน ข้ามผ่านไปยังละติจูดในเขตอบอุ่น ซึ่งอาจมีบทบาทสำคัญในการปรับเปลี่ยนสภาวะภูมิอากาศในระดับภูมิภาคและระดับโลก.

ดู สหรัฐและพายุหมุนเขตร้อน

พืชดอก

ืชดอก ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Magnoliophyta เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Angiospermae หรือ Angiosperms เป็นกลุ่มของพืชกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่ง มีดอกไม้ และเมล็ดเป็นส่วนประกอบ ซึ่งเมล็ดจะกลายเป็นผลไม้ พืชดอกแบ่งได้ออกเป็นกลุ่มใหญ่ 8 กลุ่มดังนี้ เรียงตามจำนวนสปีชี.

ดู สหรัฐและพืชดอก

พี่น้องไรต์

การบินครั้งแรกในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1903) พี่น้องไรต์ (Wright brothers) ได้แก่ ออวิลล์ ไรต์ (19 สิงหาคม พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871) - 30 มกราคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและพี่น้องไรต์

กฎบัตรสหประชาชาติ

กฎบัตรสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)คือ ข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและกฎบัตรสหประชาชาติ

กระทรวงกลาโหมสหรัฐ

กระทรวงกลาโหมสหรัฐ (United States Department of Defense; ย่อ: DoD) เป็นกระทรวงของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ ที่ทำหน้าที่ประสานงานและตรวจตราการทำงานและหน่วยงานราชการของรัฐบาลสหรัฐที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับความมั่นคงของชาติและการทหาร.

ดู สหรัฐและกระทรวงกลาโหมสหรัฐ

กระทรวงศึกษาธิการสหรัฐ

กระทรวงศึกษาธิการสหรัฐอเมริกา (United States Department of Education) เป็นกระทรวงของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 17 ตุลาคม..

ดู สหรัฐและกระทรวงศึกษาธิการสหรัฐ

กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ

กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ (Department of Homeland Security) เป็นกระทรวงหนึ่งของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐอเมริกา เมื่อแรกก่อในปี..

ดู สหรัฐและกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ

กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในภาษาอังกฤษย่อว่า LGBT (หรือ GLBT) ซึ่งเป็นตัวอักษรตัวแรกของคำว่า lesbian (เลสเบี้ยน), gay (เกย์), bisexual (ไบเซ็กชวล), และ transgender/transsexual (คนข้ามเพศ) มีการใช้คำว่า LGBT มาตั้งแต่ยุค 90 ซึ่งดัดแปลงมาจาก “LGB” ที่ใช้ในการแทนวลี "สังคมเกย์" (Gay community) ที่ในหลาย ๆ กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ไม่รู้สึกว่าอธิบายกลุ่มคนพวกนี้ได้อย่างถูกต้องตามที่กล่าว ในการใช้สมัยใหม่ LGBT มีความหมายถึงความหลากหลายของเพศวิถี (Sexuality) และลักษณะการแสดงเพศทางสังคม และในบางครั้งอาจหมายถึงกลุ่มคนที่ไม่ใช่กลุ่มรักต่างเพศ แทนการระบุว่าเป็นเลสเบี้ยน เกย์ ไบเซ็กชวล หรือ คนข้ามเพศ คำนี้ในภาษาอังกฤษ ยังมีการนำมาปรับใช้ในสังคมกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ และสื่อมวลชนในกลุ่มผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก.

ดู สหรัฐและกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..

ดู สหรัฐและกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ

กลุ่มภาษาจีน

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน.

ดู สหรัฐและกลุ่มภาษาจีน

กลุ่มเกาะ

กลุ่มเกาะมะริด ในประเทศพม่า กลุ่มเกาะ (archipelago หรือ island group) เป็นหมู่เกาะที่โยงกันเป็นโซ่หรือเป็นกลุ่ม คำว่า archipelago มาจากภาษากรีก ἄρχι ("หลัก") และ πέλαγος ("ทะเล") ผ่านกลุ่มเกาะอิตาลี ในภาษาอิตาลี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าหลักจากประเพณีความเก่าแก่ กลุ่มเกาะ (จากภาษากรีกสมัยกลาง ἀρχιπέλαγος) เป็นชื่อเฉพาะของทะเลอีเจียน และภายหลัง การใช้ได้เปลี่ยนเป็นหมายถึงหมู่เกาะอีเจียน (เพราะทะเลดังกล่าวมีชื่อเสียงกันว่ามีเกาะอยู่เป็นจำนวนมาก) ปัจจุบัน ใช้หมายถึงกลุ่มเกาะใด ๆ หรือ บางครั้ง ทะเลที่บรรจุเกาะกระจัดกระจายกันจำนวนมาก เช่น ทะเลอีเจียน กลุ่มเกาะอาจพบห่างไกลในแหล่งน้ำหรืออยู่ใกล้กับผืนดินขนาดใหญ่ก็ได้ ตัวอย่างเช่น สกอตแลนด์มีเกาะมากกว่า 700 เกาะล้อมแผ่นดินใหญ่ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นกลุ่มเกาะ กลุ่มเกาะนี้มักมีภูเขาไฟ ก่อตัวขึ้นตามหมู่เกาะโค้งที่เกิดจากเขตมุดตัวของเปลือกโลกหรือจุดศูนย์รวมความร้อน แต่ยังอาจเกิดจากการกัดเซาะ การทับถมและความสูงของพื้นที่ดิน ประเทศสมัยใหม่ขนาดใหญ่ที่สุดห้าประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเกาะ ได้แก่ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักร รัฐกลุ่มเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในโลกตามพื้นที่ คือ อินโดนีเซีย กลุ่มเกาะที่มีเกาะมากที่สุดอยู่ในทะเล Archipelago ในฟินแลน.

ดู สหรัฐและกลุ่มเกาะ

กลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์

กลุ่มเกาะอเล็กซานเดอร์ กลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์ (Alexander Archipelago) เป็นกลุ่มเกาะของสหรัฐอเมริกา ที่มีความยาวราว 300 ไมล์ (500 กม.) ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐอะแลสกา มีเกาะทั้งสิ้นประมาณ 1,100 เกาะ ซึ่งกลุ่มเกาะนี้เกิดจากการยุบตัวของชายฝั่งเหลือเฉพาะยอดเขาที่โผล่พ้นน้ำ ทำให้มีร่องน้ำลึกและชายฝั่งมีลักษณะเว้าแหว่ง เกาะที่สำคัญได้แก่ เกาะชิชากอฟ แอดมิรัลตี บารานอฟ คูพรีนอฟ พรินซ์ออฟเวลส์ และริวิลลากิกีโด เมืองที่ใหญ่ที่สุดได้แก่เมืองเคตซิแกนบนเกาะริวิลลากิกีโด และเมืองซิตกาบนเกาะบารานอฟ.

ดู สหรัฐและกลุ่มเกาะอะเล็กซานเดอร์

กวม

กวม (Guam; ชามอร์โร: Guåhån) หรือชื่อทางการว่า ดินแดนกวมของสหรัฐอเมริกา (U.S. Territory of Guam) เป็นเกาะหนึ่งในมหาสมุทรแปซิฟิก และเป็นดินแดนที่ยังไม่ได้ปกครองตนเองของสหรัฐอเมริกา ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวชามอร์โรซึ่งอพยพมาอยู่ที่เกาะเป็นครั้งแรกเมื่อ 3,500 ปีมาแล้ว กวมเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและอยู่ทางใต้สุดของหมู่เกาะมาเรียนา มีเมืองหลวงคือ ฮากัตญา (Hagåtña) เดิมเรียกว่า "อากาญา" (Agana) รายได้หลักของเกาะมาจากการท่องเที่ยว (โดยเฉพาะจากญี่ปุ่น) และจากการเป็นฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกา สหประชาชาติจัดให้กวมอยู่ในรายชื่อดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองและมีประชากรทั้งเกาะประมาณ 173,000คน.

ดู สหรัฐและกวม

กอล์ฟ

ลูกกอล์ฟและหลุมกอล์ฟ กอล์ฟ คือกีฬาหรือเกมประเภทบอลชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้เล่นใช้ไม้หลายชนิดตีลูกบอลให้ลงหลุม จากกฎของกอล์ฟ ระบุว่า "กีฬากอล์ฟประกอบด้วยการเล่นลูกใดลูกหนึ่งด้วยไม้กอล์ฟจากแท่นตั้งทีไปลงหลุมโดยการสโตรคหนึ่งครั้งหรือหลายครั้งต่อเนื่องกันตามกฎข้อบังคับ" กอล์ฟเป็นหนึ่งในกีฬาประเภทบอลเพียงไม่กี่ชนิดที่ไม่มีอาณาเขตการเล่นที่แน่นอน (สนามกอล์ฟแต่ละแห่งสามารถมีรูปร่างและขนาดต่างกัน) ต้นกำเนิดของกอล์ฟนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ระหว่างเนเธอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และจีน โดยมีการเล่นกอล์ฟมาแล้วอย่างน้อยห้าศตวรรษในหมู่เกาะบริเตน กอล์ฟในรูปแบบปัจจุบันได้มีการเล่นในสกอตแลนด์ตั้งแต่พ.ศ.

ดู สหรัฐและกอล์ฟ

กองทัพบกสหรัฐ

กองทัพบกสหรัฐ (United States Army) เป็นเหล่าที่ใหญ่ที่สุดในกองทัพสหรัฐ และดำเนินการปฏิบัติการทางทหารบก เป็นหนึ่งในเจ็ดของเหล่าทัพสหรัฐ โดยถูกกำหนดให้เป็นกองทัพบกสหรัฐ ในรัฐธรรมนูณสหรัฐ มาตราที่ 2 หมวด 2 วรรค 1 ในฐานะที่เป็นเหล่าที่ใหญ่และอาวุโสที่สุดในกองทัพสหรัฐ เดิมทีกองทัพสหรัฐมีรากฐานมาจากกองทัพภาคพื้นทวีป สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน..

ดู สหรัฐและกองทัพบกสหรัฐ

กองทัพอากาศสหรัฐ

กองทัพอากาศสหรัฐ (United States Air Force; USAF) คือกองกำลังพิเศษทางอากาศและอวกาศของกองทัพสหรัฐ และเป็นกองกำลังหนึ่งในเจ็ดของหน่วยงานที่ใส่เครื่องแบบของสหรัฐ ในอดีตวันที่ 1 สิงหาคม..

ดู สหรัฐและกองทัพอากาศสหรัฐ

กองทัพเรือสหรัฐ

ระวังสับสนกับ กระทรวงทหารเรือสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐ (อังกฤษ: United States Navy, USN) เป็นกองกำลังทางทะเลในสังกัดกองทัพสหรัฐ และหนึ่งในเจ็ดองค์กรในเครื่องแบบของสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐเป็นกองทัพเรือที่ใหญ่ และมีความสามารถมากที่สุดในโลก โดยมีขนาดกองเรือตามน้ำหนักที่มากที่สุด กองทัพเรือสหรัฐมีกองเรือบรรทุกอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีเรือบรรทุกอากาศยาน 10 ลำในสถานะประจำการ อีก 2 ลำในสถานะกองเรือสำรอง และกำลังก่อสร้างเรือบรรทุกอากาศยานใหม่อีก 3 ลำ กองทัพเรือสหรัฐมีกำลัง 323,792 นายในสถานะประจำการ และอีก 108,515 นายในกองทัพเรือสำรอง มีเรือรบพร้อมประจำการ 274 ลำ และมีอากาศยานที่ใช้การได้มากกว่า 3,700 ลำ ตามข้อมูลในเดือนตุลาคม..

ดู สหรัฐและกองทัพเรือสหรัฐ

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

ัญลักษณ์ของ IMF กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี..

ดู สหรัฐและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ

การบุกครองคูเวต

การบุกครองคูเวต หรือที่รู้จักกันในนาม สงครามอิรัก–คูเวต เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลพรรคบาธของประเทศอิรักกับเอมิเรตแห่งคูเวต อิรักสามารถยึดคูเวตได้อย่างง่ายดายและปกครองคูเวตอยู่ 7 เดือน จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาภายใต้ประธานาธิบดีจอร์จ เอช.

ดู สหรัฐและการบุกครองคูเวต

การยอมจำนนของญี่ปุ่น

ูเอสเอส ''มิสซูรี'' (BB-63) ขณะที่พลเอก ริชาร์ด เค. ซูเธอร์แลนด์ มองจากฝั่งตรงข้าม การยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ดู สหรัฐและการยอมจำนนของญี่ปุ่น

การรู้หนังสือ

thumb การรู้หนังสือ (literacy) คือ ความสามารถที่เข้าใจภาษาในระดับที่เหมาะกับการติดต่อสื่อสาร และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับสังคมต่างๆ มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์ หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของดิจิทัล ซึ่งจะเห็นได้ว่า ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ สถาบันการศึกษาของอังกฤษ มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับวัฒนธรรม การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของมโนคติวิทยา ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย หมวดหมู่:ภาษา หมวดหมู่:ความรู้ หมวดหมู่:สังคม หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์ประยุกต์ หมวดหมู่:สังคมเศรษฐศาสตร์.

ดู สหรัฐและการรู้หนังสือ

การลงประชาทัณฑ์

การลงประชาทัณฑ์หรือการรุมประชาทัณฑ์ (lynching) หมายถึง การที่ฝูงชนกลุ้มรุมทำร้าย เป็นการลงโทษบุคคล ที่ตนเข้าใจหรือนึกว่ามีความผิด โดยไม่ดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม การลงประชาทัณฑ์ยังอาจใช้เพื่อข่มขู่ ควบคุมหรือชักใยประชากร การลงประชาทัณฑ์นี้เกี่ยวเนื่องกับวิธีการควบคุมทางสังคมอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ้นในชุมชน การลงประชาทัณฑ์เกิดขึ้นบ่อยครั้งกว่าในช่วงที่เกิดความตึงเครียดทางสังคมและเศรษฐกิจ และมักเป็นวิธีที่ประชากรที่ครอบงำทางการเมืองใช้เพื่อบีบบังคับคู่แข่งทางสังคม.

ดู สหรัฐและการลงประชาทัณฑ์

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

ดู สหรัฐและการล่มสลายของสหภาพโซเวียต

การสมรสเพศเดียวกันในสหรัฐอเมริกา

มื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ดู สหรัฐและการสมรสเพศเดียวกันในสหรัฐอเมริกา

การสื่อสารมวลชน

การสื่อสารมวลชน เป็นคำที่ใช้อธิบายถึงสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดข้อมูลผ่านสื่อมวลชนให้คนส่วนใหญ่ มักมีความหมายเกี่ยวข้องกับหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ ที่ใช้ในการเผยแพร่ข่าวหรือโฆษณา หมวดหมู่:การสื่อสาร หมวดหมู่:สื่อสารมวลชน.

ดู สหรัฐและการสื่อสารมวลชน

การผ่อนคลายความตึงเครียด

เลโอนิด เบรจเนฟ แห่งสหภาพโซเวียต (ซ้าย) และริชาร์ด นิกสัน แห่งสหรัฐอเมริกา (ขวา) ระหว่างการเยือนสหรัฐอเมริกาของเบรจเนฟในปี 2516 นับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในช่วงการผ่อนคลายความตึงเครียด การผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente) คือ ช่วงเวลาระหว่าง..

ดู สหรัฐและการผ่อนคลายความตึงเครียด

การผ่อนคลายความตึงเครียดสหรัฐ–คิวบา

การผ่อนคลายความตึงเครียดคิวบา (date; access-date) เป็นการฟื้นความสัมพันธ์คิวบา–สหรัฐอเมริกาซึ่งเริ่มในเดือนธันวาคม 2557 ยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสองประเทศที่กินเวลา 54 ปี ในเดือนมีนาคม 2559 บารัก โอบามาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนแรกที่เยือนคิวบานับแต่ปี 2471 วันที่ 17 ธันวาคม 2557 ประธานาธิบดีสหรัฐ บารัก โอบามา และประธานาธิบดีคิวบา ราอูล กัสโตร ประกาศการเริ่มกระบวนการปรับความสัมพันธ์ระหว่างคิวบาและสหรัฐให้เป็นปกติ ความตกลงการปรับให้เป็นปกติมีการเจรจาทางลับหลายเดือนก่อนหน้านั้น ซึ่งอำนวยความสะดวกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส และส่วนใหญ่มีรัฐบาลแคนาดาเป็นเจ้าภาพ มีการจัดการประชุมทั้งในประเทศแคนาดาและนครวาติกัน ความตกลงนี้จะยกเลิกการจำกัดการท่องเที่ยวของสหรัฐบางส่วน มีการจำกัดเงินที่ส่งไปให้น้อยลง การเข้าถึงระบบการเงินคิวบาของธนาคารสหรัฐ และการเปิดสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐในกรุงฮาวานาและสถานเอกอัครราชทูตคิวบาในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและการผ่อนคลายความตึงเครียดสหรัฐ–คิวบา

การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์

การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ (majority rule) เป็นกฎเกณฑ์การตัดสินใจซึ่งเลือกทางที่มีคะแนนเสียงข้างมาก คือ มีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เป็นกฎเกณฑ์การตัดสินใจทวิภาคที่ใช้มากที่สุดในหน่วยงานวินิจฉัยสั่งการที่มีอิทธิพล รวมทั้งสภานิติบัญญัติของชาติประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน นักวิชาการบางส่วนแนะนำคัดค้านการใช้การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์อย่างน้อยในบางพฤติการณ์ เพราะป็นการแลกโดยปริยายระหว่างประโยชน์ของการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์กับคุณค่าอื่นที่สำคัญต่อสังคมประชาธิปไตย ข้อโต้แย้งที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์อาจนำไปสู่ "ระบบเผด็จการโดยเสียงข้างมาก" ฉะนั้น จึงแนะนำให้ใช้คะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (supermajority) และการจำกัดอำนาจรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญเพื่อบรรเทาผลกระทบเหล่านี้ ล่าสุด นักทฤษฎีการออกเสียงลงคะแนนแย้งว่า การถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เป็นเกณฑ์ที่ดีที่สุดในการคุ้มครองฝ่ายข้างน้อ.

ดู สหรัฐและการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์

การทำลายป่า

การทำลายป่าฝนอะเมซอน จากภาพถ่ายดาวเทียม จะเห็นถนนในป่ามีลักษณะเป็นรูปก้างปลา ("fishbone" pattern) การทำลายป่า คือ สภาวะของป่าตามธรรมชาติที่ถูกทำลายโดยการตัดไม้และการเผาป่า เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การนำต้นไม้และถ่านไม้มาใช้หรือจำหน่ายเป็นโภคภัณฑ์ ในระหว่างที่ทำการเลี้ยงสัตว์ เพาะปลูก และตั้งถิ่นฐาน บนพื้นที่ว่าง การตัดไม้โดยไม่ปลูกทดแทนด้วยจำนวนที่เพียงพอ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อที่อยู่อาศัย ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และปัญหาความแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลเสียต่อการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศโดยพืช พื้นที่ป่าที่ถูกทำลายโดยมากจะเกิดความเสียหายจากการพังทลายของหน้าดิน และพื้นที่มักด้อยคุณภาพลงจนกลายเป็นที่ดินที่ทำประโยชน์มิได้.

ดู สหรัฐและการทำลายป่า

การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ

การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ เป็นการโจมตีจักรวรรดิญี่ปุ่นด้วยอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายสงครามโลกครั้งที่สอง โดยคำสั่งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา แฮร์รี เอส.

ดู สหรัฐและการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ

การขนส่งระบบราง

รถไฟ InterCity Express ในประเทศเยอรมนี การขนส่งระบบราง (Rail transport) เป็นการขนส่งผู้โดยสารหรือสินค้าด้วยยานพาหนะที่วิ่งไปตามราง การขนส่งระบบรางเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่โลจิสติก ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความสะดวกให้กับการค้าระหว่างประเทศและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในหลายๆประเทศ โดยทั่วไปรางรถไฟจะประกอบไปด้วยราว 2 ราวคู่ขนานกันไป ปกติแล้วจะทำมาจากเหล็กกล้าแล้วหนุนด้วยไม้หมอน ไม้หมอนจะช่วยรักษาระยะห่างหรือความกว้างระหว่างราวทั้งสองข้าง ซึ่งจะมีความกว้างแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ เพื่อรักษา บางประเทศก็ใช้ไม้หมอนชนิดไม้ บางประเทศก็ใช้ชนิดคอนกรีตแข็ง ทั้งหมดนี้ได้.

ดู สหรัฐและการขนส่งระบบราง

การตื่นทองที่แคลิฟอร์เนีย

การล่องเรือมายังแคลิฟอร์เนียในช่วงเริ่มต้นการตื่นทอง การตื่นทองที่แคลิฟอร์เนีย (California Gold Rush) เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 24 มกราคม 1848 เมื่อทองคำถูกค้นพบโดยเจมส์ ดับเบิลยู.

ดู สหรัฐและการตื่นทองที่แคลิฟอร์เนีย

การซื้อลุยเซียนา

การซื้อลุยเซียนา (Louisiana Purchase) หรือ การขายลุยเซียนา (Vente de la Louisiane) คือการที่สหรัฐได้ดินแดนลุยเซียนา (พื้นที่ 828,000 ตารางไมล์ หรือ 2.14 ล้านตารางกิโลเมตร) มาเป็นส่วนหนึ่งของตนด้วยการซื้อจากฝรั่งเศสในปี..

ดู สหรัฐและการซื้อลุยเซียนา

การซื้ออะแลสกา

็ค 7.2 ล้านดอลลาร์ที่ใช้ซื้ออะแลสกา (คิดเป็น 119 ล้านดอลลาร์ ตามค่าเงินในปี 2014) การซื้ออะแลสกา (Alaska Purchase; Продажа Аляски) เป็นการที่สหรัฐอเมริกาได้มาซึ่งรัชเชียนอเมริกาจากจักรวรรดิรัสเซีย ใน..

ดู สหรัฐและการซื้ออะแลสกา

การปฏิวัติอุตสาหกรรม

รงงานปั่นด้ายในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เครื่องจักรไอน้ำของเจมส์ วัตต์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการปฏิวัติอุตสาหกรรม ภาพ ''เหล็กและถ่านหิน'' โดยวิลเลียม เบลล์ สกอตต์, ค.ศ.

ดู สหรัฐและการปฏิวัติอุตสาหกรรม

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ดู สหรัฐและการปฏิวัติอเมริกา

การประชุมยัลตา

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การประชุมยัลตา บ้างเรียก การประชุมไครเมีย และชื่อรหัสว่า การประชุมอาร์โกนอต (Argonaut Conference) จัดระหว่างวันที่ 4 ถึง 11 กุมภาพัน..

ดู สหรัฐและการประชุมยัลตา

การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ

การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ (UNCIO) เป็นการประชุมของผู้แทนจาก 50 ชาติฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งมีขึ้นระหว่างวันที่ 25 เมษายน จนถึง 26 มิถุนายน..

ดู สหรัฐและการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ

การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919

การประชุมสันติภาพปารี..

ดู สหรัฐและการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919

การแยกใช้อำนาจ

การแยกใช้อำนาจ เป็นแบบจำลองวิธีการปกครองรัฐ มีขึ้นครั้งแรกในกรีซโบราณ ภายใต้แบบจำลองนี้ รัฐแบ่งออกเป็นอำนาจต่าง ๆ ซึ่งแต่ละอำนาจมีอำนาจแยกเป็นเอกเทศต่อกัน และมีขอบเขตความรับผิดชอบต่างกัน เพื่อที่อำนาจของอำนาจหนึ่งจะไม่ไปขัดกับอำนาจที่สัมพันธ์กับอีกอำนาจหนึ่ง การแยกใช้อำนาจนี้ปกติแบ่งเป็นอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหารและอำนาจตุลาการ หมวดหมู่:กฎหมายรัฐธรรมนูญ หมวดหมู่:ปรัชญากฎหมาย หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง.

ดู สหรัฐและการแยกใช้อำนาจ

การแข่งรถ

การแข่งรถ (หรือเรียกว่าแข่งรถยนต์หรือรถแข่ง) เป็นมอเตอร์สปอร์ตที่เกี่ยวข้องกับการแข่งโดยใช้รถยนต์สำหรับการแข่งขัน.

ดู สหรัฐและการแข่งรถ

การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน

การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน (privatization) เป็นกรณีหรือกระบวนการโอนความเป็นเจ้าของธุรกิจ วิสาหกิจ หน่วยงาน บริการสาธารณะหรือทรัพย์สินจากภาครัฐ (รัฐหรือรัฐบาล) มาเป็นภาคเอกชน (ธุรกิจซึ่งดำเนินการเพื่อกำไรส่วนตน) หรือองค์การไม่แสวงหาผลกำไรเอกชน คำดังกล่าวยังใช้ในความหมายที่แตกต่างออกไปด้วย โดยหมายถึง การที่รัฐบาลจ้างบริษัทเอกชนทำงานแทน เช่น การเก็บรายได้และภาษีอากร การบังคับใช้กฎหมาย การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการเรือนจำหรือสถานคุมขังกักกัน การแปรรูปกิจการของรัฐโดยทั่วไปเชื่อกันว่าจะเพิ่มผลผลิต กำไรและประสิทธิภาพขององค์การที่ถูกแปรรูป.

ดู สหรัฐและการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน

การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์

การโจมตีท่าเพิร์ลเป็นการโจมตีทางทหารอย่างจู่โจมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อฐานทัพเรือสหรัฐที่ท่าเพิร์ล ดินแดนฮาวาย ในเช้าวันที่ 7 ธันวาคม..

ดู สหรัฐและการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ดู สหรัฐและการไม่มีศาสนา

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรั..

ดู สหรัฐและการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงการกระจายทางสถิติของรูปแบบสภาพอากาศเมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นกินเวลานาน (เช่น หลายสิบปีถึงหลายล้านปี) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉลี่ย หรือความแปรผันของเวลาของสภาพอากาศเกี่ยวกับภาวะเฉลี่ยที่กินเวลานาน (คือ มีเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วมากขึ้นหรือน้อยลง) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีสาเหตุจากปัจจัยอย่างกระบวนการชีวนะ ความแปรผันของรังสีดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับ การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค และการปะทุของภูเขาไฟ กิจกรรมบางอย่างของมนุษย์ยังถูกระบุว่าเป็นสาเหตุสำคัญของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศล่าสุด มักเรียกว่า "โลกร้อน".

ดู สหรัฐและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

กำมะถัน

กำมะถัน(สุพรรณถัน) หรือ ซัลเฟอร์ (Sulfur หรือ Sulphur) เป็นธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ S และเลขอะตอม 16 เป็นอโลหะที่มีอยู่ทั่วไป ไม่มีรสหรือกลิ่น และมีวาเลนซ์ได้มากมาย กำมะถันในรูปแบบปกติเป็นของแข็งสีเหลืองที่เป็นผลึก ในธรรมชาติ สามารถพบได้ในรูปธาตุเอง หรือแร่ซัลไฟด์และซัลเฟต เป็นธาตุจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต และพบในกรดอะมิโนหลายชนิด การใช้ในเชิงพาณิชย์ที่เป็นหลัก คือ ในปุ๋ย แต่นอกจากนี้ยังใช้ในดินปืน ไม้ขีดไฟ ยาฆ่าแมลง และยาฆ่าร.

ดู สหรัฐและกำมะถัน

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ดู สหรัฐและกีฬาโอลิมปิก

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ดู สหรัฐและกติกาสัญญาวอร์ซอ

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L.

ดู สหรัฐและฝันอเมริกัน

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ดู สหรัฐและฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู สหรัฐและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ดู สหรัฐและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ดู สหรัฐและฝ่ายอักษะ

ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด

วะน้ำตาลสูงในเลือด หรือภาวะกลูโคสสูงในเลือด (hyperglycemia หรือ hyperglycaemia) หมายถึง ภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า 11.1 มิลลิโมลต่อลิตร (200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) แต่มักไม่ปรากฏอาการจนค่าสูงกว่า 15–20 มิลลิโมลต่อลิตร (~250–300 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) ผู้รับการทดลองที่มีพิสัยต้องกันระหว่าง ~5.6 ถึง ~7 มิลลิโมลต่อเดซิลิตร (100–126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) ตามแนวทางของสมาคมเบาหวานอเมริกา ถือว่ามีภาวะน้ำตาลสูงในเลือดเล็กน้อย ส่วนหากมีค่าสูงกว่า 7 มิลลิโมลต่อเดซิลิตร (126 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) โดยทั่วไปถือว่าเป็นเบาหวาน สำหรับเบาหวาน ระดับน้ำตาลที่ถือว่ามีภาวะน้ำตาลสูงเกินไปในเลือดแตกต่างกันได้ตามบุคคล ส่วนใหญ่เนื่องจากขีดแบ่งกลูโคสของไต และความทนทานต่อกลูโคสโดยรวม แต่โดยเฉลี่ย ระดับเรื้อรังสูงกว่า 10–12 มิลลิโมลต่อลิตร (180–216 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) จะก่อให้เกิดความเสียหายต่ออวัยวะที่สังเกตได้ตามเวลา หมวดหมู่:ความผิดปกติของตับอ่อนไร้ท่อ หมวดหมู่:ภาวะตรวจพบของเลือดทางคลินิกและห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ หมวดหมู่:ความผิดปกติที่ทำให้เกิดการชัก.

ดู สหรัฐและภาวะน้ำตาลสูงในเลือด

ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม

วะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม หรือ ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ไอที (Dot-com bubble หรือ I.T. bubble) คือภาวะการเก็งกำไรอันเกินควรของตลาดหลักทรัพย์ภาคเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ดู สหรัฐและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม

ภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่

วะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก..

ดู สหรัฐและภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่

ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่

วะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (Great Depression) เป็นเหตุการณ์เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ที่เกิดในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ในปี..

ดู สหรัฐและภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่

ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ

ีดีพีต่อหัว (พีพีพี) ในปี ค.ศ. 2014 ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ (purchasing power parity, PPP) หรือ ประสิทธิผลของเงิน เป็นค่าค่าหนึ่งที่เกิดจากการประมาณทางเทคนิคโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เพื่อคำนวณหาระดับการบริโภคสินค้าและบริการในแต่ละประเทศ โดยใช้ราคาสินค้าและบริการในสหรัฐอเมริกาเป็นฐานในการคำนวณ และแสดงผลในสกุลเงินดอลลาร์สหรั.

ดู สหรัฐและภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ

ภาวะเงินเฟ้อ

อัตราเงินเฟ้อทั่วโลกในปี 2550 ภาวะเงินเฟ้อ (inflation) หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าหรือบริการในระยะเวลาหนึ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง ภาวะเงินเฟ้อมีผลต่อเศรษฐกิจทั้งบวกและลบ ผลเสียที่เกี่ยวข้องกับภาวะเงินเฟ้อรวมถึงการเพิ่มของต้นทุนค่าเสียโอกาสในการไม่ใช้เงินและการทำให้ผู้บริโภคกักตุนสินค้าเนื่องจากประเมินว่าราคาจะเพิ่มขึ้นในอนาคต (หากอัตราเงินเฟ้อเพิ่มอย่างรวดเร็ว) ผลเชิงบวกของอัตราเงินเฟ้อมีดังนี้.

ดู สหรัฐและภาวะเงินเฟ้อ

ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน

ษากวางตุ้งมาตรฐาน หรือ สำเนียงกวางเจา คือสำเนียงของภาษากวางตุ้งที่เป็นที่ยอมรับให้เป็นสำเนียงมาตรฐาน ใช้เป็นภาษาราชการที่พูดกันในฮ่องกงและมาเก๊า ทั้งในรัฐบาลและการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษานี้เป็นภาษาประจำถิ่นของเมืองกวางเจา มณฑลกวางตุ้ง และบริเวณโดยรอบทางตอนใต้ของประเทศจีน.

ดู สหรัฐและภาษากวางตุ้งมาตรฐาน

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ดู สหรัฐและภาษาญี่ปุ่น

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดู สหรัฐและภาษาละติน

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ดู สหรัฐและภาษาสเปน

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู สหรัฐและภาษาอังกฤษ

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน (American English, AmE) เป็นกลุ่มของภาษาถิ่นของภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกาเป็นส่วนใหญ่ ประมาณสองในสามของเจ้าของภาษาอังกฤษอาศัยอยู่ในสหรัฐ พจนานุกรมเล่มแรกของภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน เขียนโดยโนอาห์ เว็บสเตอร์ ในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ดู สหรัฐและภาษาอิตาลี

ภาษาฮาวาย

ษาฮาวาย (Hawaiian: Ōlelo Hawaii) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโพลินีเซียซึ่งได้ชื่อภาษามาจากเกาะฮาวาย เกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนตอนเหนือ ภาษาฮาวายและภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของมลรัฐฮาวาย พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3ได้สถาปนารัฐธรรมนูญที่เขียนขึ้นเป็นภาษาฮาวายครั้งแรกในปี..

ดู สหรัฐและภาษาฮาวาย

ภาษาจีนมาตรฐาน

ภาษาจีนมาตรฐาน (Standard Chinese) หรือ ผู่ทงฮฺว่า ("ภาษาสามัญ") เป็นภาษามาตรฐานซึ่งเป็นภาษาราชการเพียงหนึ่งเดียวของทั้งประเทศจีนและประเทศไต้หวัน ทั้งยังเป็นหนึ่งในภาษาราชการทั้งสี่ของประเทศสิงคโปร์ ภาษาจีนมาตรฐานออกเสียงตามสำเนียงเป่ย์จิง (北京話) ใช้คำศัพท์ตามสำเนียงกลาง และใช้ไวยากรณ์ตามภาษาจีนที่ใช้เขียนในชีวิตประจำวัน (written vernacular Chinese) ภาษาจีนมาตรฐานมีวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีนแบบอื่น ๆ เมื่อเทียบกับภาษาจีนที่ใช้ในตอนใต้แล้ว ภาษาจีนมาตรฐานมีพยัญชนะต้นมากกว่า แต่มีสระ พยัญชนะท้าย และวรรณยุกต์ น้อยกว่า นอกจากนี้ ภาษาจีนมาตรฐานยังเน้นหัวเรื่อง (topic-prominent) และเรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม ภาษาจีนมาตรฐานนั้นใช้อักษรแบบเต็มหรือแบบย่อเขียนก็ได้ ส่วนการถอดเป็นอักษรโรมันนั้นใช้อักษรพินอินแบบฮั่น หมวดหมู่:ภาษามาตรฐาน หมวดหมู่:ภาษาจีนมาตรฐาน หมวดหมู่:ภาษาไต้หวัน หมวดหมู่:ภาษาจีนในสิงคโปร์.

ดู สหรัฐและภาษาจีนมาตรฐาน

ภาษาตากาล็อก

ษาตากาล็อก เป็นหนึ่งในภาษาหลักของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน มีความสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซีย ภาษามลายู ภาษาฟิจิ ภาษาเมารี ภาษาฮาวาย ภาษามาลากาซี ภาษาซามัว ภาษาตาฮีตี ภาษาชามอร์โร ภาษาเตตุม และตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนในไต้หวันเป็นภาษาประจำชาติและภาษาราชการคู่กับภาษาอังกฤษในประเทศฟิลิปปินส์ ใช้เป็นภาษากลางภายในประเทศ มีผู้พูดราว 85 ล้านคน ในทางธุรกิจนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากกว.

ดู สหรัฐและภาษาตากาล็อก

ภาษาโปรตุเกส

ษาโปรตุเกส (português ปุรตุเกฌ) เป็นภาษากลุ่มโรมานซ์ที่พูดในประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศโปรตุเกส ประเทศบราซิล ประเทศแองโกลา ประเทศโมซัมบิก และประเทศติมอร์-เลสเต ภาษาโปรตุเกสมีคนพูดเป็นภาษาแม่มากกว่า 200 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่งในไม่กี่ภาษาที่พูดทั่วโลก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากเป็นอันดับ 5 หรือ 6 ของโลกปัจจุบัน ภาษาโปรตุเกสถูกขนานนามว่า A língua de Camões อาลิงกวาดึกามอยช์ ("ภาษาของกามอยช์" ตามชื่อลูอิช ดึ กามอยช์ ผู้ประพันธ์ The Lusiad: ลูเซียด) และ A última flor do Lácio อาอุลตีมาโฟลร์ดูลาซีอู ("ดอกไม้ดอกสุดท้ายของละติอุม") คนที่พูดภาษาโปรตุเกสเรียกว่า ลูซิตานิก: Lusitanic หรือ ลูโซโฟน: Lusophones.

ดู สหรัฐและภาษาโปรตุเกส

ภาษาเชอโรกี

ษาเชอโรกี (ᏣᎳᎩ tsalagi) เป็นภาษาในตระกูลภาษาอิโรควอยอันเขียนด้วยอักษรเชอโรกี พูดโดยชาวเชอโรกี ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกา ภาษาเชอโรกีเป็นภาษาเดียวในสาขาใต้ของตระกูลภาษาอิโรควอยอันที่ยังมีผู้พูดอยู.

ดู สหรัฐและภาษาเชอโรกี

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ดู สหรัฐและภาษาเกาหลี

ภาษาเยอรมัน

ษาเยอรมัน (German; Deutsch) เป็นภาษากลุ่มเจอร์แมนิกด้านตะวันตก และเป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในสหภาพยุโรป ส่วนใหญ่พูดในประเทศเยอรมนี ออสเตรีย ลิกเตนสไตน์ ส่วนมากของสวิตเซอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก แคว้นปกครองตนเองเตรนตีโน-อัลโตอาดีเจในอิตาลี แคว้นทางตะวันออกของเบลเยียม บางส่วนของโรมาเนีย แคว้นอาลซัสและบางส่วนของแคว้นลอแรนในฝรั่งเศส นอกจากนี้ อาณานิคมเดิมของประเทศเหล่านี้ เช่น นามิเบีย มีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันได้พอประมาณ และยังมีชนกลุ่มน้อยที่พูดภาษาเยอรมันในหลายประเทศทางยุโรปตะวันออก เช่น รัสเซีย ฮังการี และสโลวีเนีย รวมถึงอเมริกาเหนือ (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) รวมถึงบางประเทศในละตินอเมริกา เช่น อาร์เจนตินา และในบราซิล โดยเฉพาะในรัฐ รีโอกรันดีโดซูล ซันตากาตารีนา ปารานา และเอสปีรีตูซันตู ชาวอามิช รวมถึงชาวเมนโนไนต์บางคนก็เป็นภาษาเยอรมันอย่างหนึ่ง ประมาณ 120 ล้านคน คือ 1/4 ของชาวยุโรปทั้งหมด พูดภาษาเยอรมัน ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนทั่วโลกมาเป็นอันดับ 3 และเป็นภาษาต่างประเทศที่สอนมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในยุโรป (เป็นรองภาษาอังกฤษ) สหรัฐอเมริกา และเอเชียตะวันออก (ประเทศญี่ปุ่น) เป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ผู้รู้ภาษาเยอรมันในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป.

ดู สหรัฐและภาษาเยอรมัน

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ดู สหรัฐและภาษาเวียดนาม

ภาคเศรษฐกิจขั้นที่ 3

รษฐกิจขั้นที่ 3 (บางครั้งเรียกว่า อุตสาหกรรมบริการ) เป็นภาคเศรษฐกิจที่มิได้ผลิตสิ่งบริโภคหรือผลิตสิ่งใด แต่บริการให้กับอุตสาหกรรมอื่น ๆ หรือ คนทั่วไป การธนาคาร การแต่งผม การขนส่ง และ โรงละคร เป็นต้น เหล่านี้ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบริการ ในระบบเศรษฐกิจที่พัฒนาแล้ว อุตสาหกรรมบริการมีแนวโน้มที่จะเพิ่มความสำคัญมากขึ้นในสังคม ยกตัวอย่างเช่นในประเทศอังกฤษ (ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและภาคเศรษฐกิจขั้นที่ 3

ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น

Cwa ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น (ตามระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน แทนด้วยอักษรย่อ Cfa หรือ Cwa) เป็นภูมิอากาศที่ปรากฏในเขตกึ่งเขตร้อน มีฤดูร้อนที่มีความชื้น และฤดูหนาวที่มีอากาศอบอุ่นถึงหนาวเย็น จากระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นจะครอบคลุมลักษณะของภูมิอากาศหลายชนิด หากอ้างอิงจากระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ภูมิอากาศแบบนี้มีอุณหภูมิในเดือนที่หนาวเย็นที่สุดระหว่าง −3 °C และ 18 °C มีอุณหภูมิในเดือนที่อบอุ่นที่สุดมากกว่า 22 °C นักกาลวิทยาบางท่านกำหนดให้อุณหภูมิ 0 °C เป็นอุณหภูมิต่ำที่สุดของเดือนที่มีอากาศหนาวเย็นที่สุดในภูมิอากาศแบบนี้ ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นจะมีฤดูหนาวที่แห้งแล้ง (อักษรย่อตามระบบของเคิปเปน: w) — หรือไม่มีฤดูแล้งที่แน่นอน (อักษรย่อตามระบบของเคิปเปน: f).

ดู สหรัฐและภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น

ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร

ตภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร ตามระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ชนิด "Cfb", "Cfc", "Cwb" and "Cwc" ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร เป็นภูมิอากาศในเขตชายฝั่งตะวันตกและบริเวณละติจูดกลางของทวีปส่วนใหญ่บนโลก ภูมิอากาศแบบนี้มักมีฤดูร้อนซึ่งอบอุ่น (แต่ไม่ร้อน) และฤดูหนาวซึ่งเย็นสบาย (แต่ไม่หนาวเย็นจนเกินไป) มีช่วงอุณหภูมิในแต่ละปีค่อนข้างแคบ ไม่ค่อยพบฤดูแล้ง ปริมาณหยาดน้ำฟ้ากระจายตัวทั่วทั้งปี ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรมีอิทธิพลมากบริเวณตอนเหนือของยุโรปตะวันตก บางส่วนของเทือกเขาแอปปาลาเชียน บางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ และพื้นที่ส่วนน้อยในทวีปแอฟริกา, ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ตามระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ตัวอย่างของเขตซึ่งมีลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรจะแทนด้วยตัวอักษร Cfb บางครั้งพื้นที่ซ่งแทนด้วยตัวอักษร Csb หรือพื้นที่บริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียนก็ไม่ได้มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน แต่กลับมีภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรแทน (Cfb).

ดู สหรัฐและภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร

ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน

ื้นที่ที่มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน เป็นภูมิอากาศที่ปรากฏในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน และเป็นหนึ่งในภูมิอากาศแบบกึ่งเขตร้อน นอกจากดินแดนบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียนแล้วนั้น สหรัฐอเมริกายังเป็นอีกดินแดนหนึ่งที่มีภูมิอากาศแบบนี้ โดยส่วนมากจะอยู่บริเวณรัฐแคลิฟอร์เนีย และทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐออริกอน ภูมิอากาศแบบนี้ยังพบได้มากในรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียและรัฐเซาท์ออสเตรเลีย, ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศแอฟริกาใต้, บางส่วนของเอเชียกลาง, และตอนกลางของประเทศชิลี.

ดู สหรัฐและภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน

มหาวิทยาลัยชิคาโก

ตราสัญลักษณ์รูปนกฟินิกซ์ ของมหาวิทยาลัยชิคาโก. มหาวิทยาลัยชิคาโก (University of Chicago หรือที่เรียกโดยย่อว่า UC หรือ UofC) ตั้งอยู่ในชุมชนไฮด์พาร์ก (Hyde Park) ซึ่งอยู่ทางใต้ของใจกลางเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประมาณ 6 ไมล์ เป็นมหาวิทยาลัยเน้นการวิจัย (Research University) ที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของสหรัฐอเมริกาและของโลก โดยเฉพาะในด้านวิชาการ และผลงานวิจัยต่าง ๆ ทั้งทางวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกาที่มีผู้เกี่ยวข้องได้รับ รางวัลโนเบลเป็นจำนวนมากที.

ดู สหรัฐและมหาวิทยาลัยชิคาโก

มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

ในตัวมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ (University of California, Berkeley.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมืองเบิร์กลีย์ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองซานฟรานซิสโก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์

มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

Alma Mater มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ดู สหรัฐและมหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ดู สหรัฐและมหาสมุทรแปซิฟิก

มหาอำนาจ

มหาอำนาจ หมายถึงรัฐซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีความสามารถแผ่อิทธิพลในระดับโลกได้ ลักษณะของรัฐมหาอำนาจ คือ ครอบครองอำนาจทางทหารและเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลทางการทูตและอำนาจแบบอ่อน (soft power) ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ประเทศด้อยอำนาจต้องพิจารณาความเห็นของมหาอำนาจก่อนดำเนินการใด ๆ ของตน นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ระบุว่า ลักษณะของสถานภาพมหาอำนาจสามารถจำแนกเป็นขีดความสามารถของอำนาจ และมิติสถานภาพ ในบางครั้ง สถานภาพมหาอำนาจได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในการประชุมที่สำคัญ ดังเช่น การประชุมแห่งเวียนนาDanilovic, Vesna.

ดู สหรัฐและมหาอำนาจ

มอรมอน

รัสเซลล์ เอ็ม. เนลสัน เป็นผู้นำศาสนาคริสต์นิกายมอรมอนคนปัจจุบัน จำนวนสมาชิกของศาสนจักรมอรมอนทั่วโลกเมื่อปี 2009https://www.mormonnewsroom.org/facts-and-statistics มอรมอน (Mormon) เป็นคริสต์ศาสนิกชนกลุ่มหนึ่งในขบวนการวิสุทธิชนยุคสุดท้าย ซึ่งโจเซฟ สมิธ เป็นผู้ริเริ่มขบวนการนี้ขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1820 ปัจจุบันชาวมอรมอนส่วนใหญ่เป็นสมาชิกศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้าย ชาวมอรมอนมีบทบาทมากในรัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา แต่ศาสนิกชนส่วนมากอาศัยอยู่นอกสหรัฐ ชาวมอรมอนยอมรับคัมภีร์ไบเบิลและคัมภีร์อื่น ๆ ด้วยโดยเฉพาะพระคัมภีร์มอรมอน และเชื่อว่าโจเซฟ สมิธ เป็นผู้ฟื้นฟูคริสตจักรของพระคริสต์ และยังมีการสืบทอดตำแหน่งผู้เผยพระวจนะและอัครทูตในฐานะผู้นำคริสตจักร ในปี..

ดู สหรัฐและมอรมอน

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ดู สหรัฐและมะเร็ง

มะเร็งปอด

รคมะเร็งปอด (lung cancer) เป็นโรคซึ่งมีการเจริญของเซลล์ในเนื้อเยื่อปอดอย่างควบคุมไม่ได้ การเจริญนี้นำไปสู่การแพร่กระจาย มีการรุกรานเข้าไปในเนื้อเยื่อข้างเคียงและแทรกซึมเข้าไปในอวัยวะนอกปอด มะเร็งปอดส่วนใหญ่เป็นมะเร็งชนิดเยื่อบุ เจริญมาจากเซลล์เนื้อเยื่อบุผิว มะเร็งปอดเป็นสาเหตุการตายของผู้เสียชีวิต 1.3 ล้านรายทั่วโลกใน..

ดู สหรัฐและมะเร็งปอด

มาริลิน มอนโร

มาริลิน มอนโร (Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (Norma Jeane Mortenson) เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ดู สหรัฐและมาริลิน มอนโร

มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์

มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ (Martin Luther King, Jr.; 15 มกราคม พ.ศ. 2472 - 4 เมษายน พ.ศ. 2511) เป็นศาสนาจารย์และนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน ชาวผิวสี.

ดู สหรัฐและมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์

มาร์ติน สกอร์เซซี

มาร์ติน สกอร์เซซี (Martin Scorsese) เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1942 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์รางวัลออสการ์ชาวอเมริกัน นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้สร้างและนักประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ เขาเป็นผู้ก่อตั้ง World Cinema Foundation และยังได้รับรางวัลความสำเร็จในชีวิตจาก AFI เขาได้รับหลายรางวัลจากรางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลบาฟต้าและรางวัลจากสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์อเมริกัน สกอร์เซซียังเป็นประธาน Film Foundation มูลนิธิไม่แสวงหาประโยชน์ ที่รักษาและป้องการเสื่อมสลายของภาพยนตร์ ผลงานของสกอร์เซซี มีเนื้อหาอย่างเช่นความเป็นชาวอเมริกัน-อิตาลี แนวความคิดเรื่องโรมันคาทอลิกเกี่ยวกับความสำนึกผิดและการไถ่บาป ความเป็นลูกผู้ชายและความรุนแรง สกอร์เซซีมีผลงานอันโดดเด่นอย่างเช่น Taxi Driver, Raging Bull และ Goodfellas ที่ทั้งสามเรื่องได้นักแสดงอย่างโรเบิร์ต เดอ นิโรมาแสดง เขาได้รับรางวัลออสการ์สาขาผู้กำกับยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง The Departed.

ดู สหรัฐและมาร์ติน สกอร์เซซี

มาดอนน่า

มาดอนนา ลูอิส ชีโคเน (Madonna Louise Ciccone) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อของ มาดอนน่า เป็นนักร้องสาวแนวเพลงป็อปชาวอเมริกัน เป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมาก มีชื่อเสียงแพร่หลายไปทั่วทุกมุมโลก ด้วยภาพลักษณ์ที่แรง เป็นคนกล้า มุ่งมั่น และชัดเจน อันเป็นเอกลักษณ์ของเธอเสมอมา โดยเป็นนักร้องหญิงเพียงคนเดียวที่มีเพลงขึ้นอันดับหนึ่งมากกว่า 10 เพลงทั้งฝั่งอเมริกา และอังกฤษ และได้รับฉายาว่าเป็น"ราชินีแห่งเพลงป็อป" นอกจากความสามารถด้านการร้องเพลงแล้ว มาดอนน่ายังเป็นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักแสดงอีกด้ว.

ดู สหรัฐและมาดอนน่า

มิลตัน ฟรีดแมน

มิลตัน ฟรีดแมน มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman; 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2455-16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549) เจ้าของประโยคที่โด่งดัง “โลกนี้ไม่มีอะไรที่ได้มาฟรี ๆ” (There's no such thing as a free lunch.) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ประจำสำนักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมของมหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกา ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ดู สหรัฐและมิลตัน ฟรีดแมน

มิดเวย์อะทอลล์

แผนที่มิดเวย์อะทอลล์ มิดเวย์อะทอลล์ (Midway Atoll) ตั้งอยู่มหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ห่างจากซานฟรานซิสโก ทางตะวันตก ราว 2,800 ไมล์ทะเล(5,200 กม./3,200 ไมล์) และ ห่างจากโตเกียวทางตะวันออก ราว 2,200ไมล์ทะเล(4,100 กม./2,500 ไมล์) มีพื้นที่ 6.2 ตารางกิโลเมตร มีสภาพเป็นหมู่เกาะปะการัง มีแนวปะการังล้อมรอบ จุดสูงสุดอยู่ที่ 13 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีประชากรทั้งหมด 40 คน เป็นเจ้าหน้าที่ปลาของสหรัฐอเมริกา มีท่าเรือที่สำคัญอยู่บนเกาะแซนด์ มีสนามบินอยู่ 3 แห่ง มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจจากองค์กรของสหรัฐที่อยู่บนหมู่เกาะ การทหารนั้นก็ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ มิดเวย์อะทอลล์ตกเป็นเมืองขึ้นของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและมิดเวย์อะทอลล์

ยอดเขาเดนาลี

right ยอดเขาเดนาลี (Mount Denali) หรือ ยอดเขาแมกคินลีย์ ตั้งอยู่ในรัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา อยู่ในแนวเทือกเขาอะแลสกา ซึ่งเป็นแนวต่อเนื่องมาจากแนวเทือกเขาร็อกกี เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ สูงถึง 6,194 เมตร จากระดับน้ำทะเล ยอดเขาแห่งนี้เป็นจุดเด่นกลางอุทยานแห่งชาติเดนาลีด้ว.

ดู สหรัฐและยอดเขาเดนาลี

ยาฮู!

ู! (Yahoo! Inc.) คือบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสัญชาติอเมริกันซึ่งประกอบไปด้วยเว็บท่า, เสิร์ชเอนจิน, Yahoo! Directory, Yahoo! Mail, Yahoo! News, Yahoo! Photos (ซึ่งในวันที่ 20 กันยายน ปี 2550 ได้โอนไปรวมเข้ากับ Flickr), ฯลฯ ยาฮู! ก่อตั้งขึ้นโดยนักศึกษาปริญญาเอกสองคนจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เจอร์รี่ หยาง (Jerry Yang) และ เดวิด ฟิโล (David Filo) ในเดือนมกราคมปี 1994 และเริ่มดำเนินกิจการในรูปแบบบริษัทครั้งแรกในวันที่ 2 มีนาคม ปี 1995 ปัจจุบัน ยาฮู! มีบริษัทมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองซันนีเวล รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา อ้างอิงสถิติการเยี่ยมชมเว็บไซต์ (รวมถึงอเล็กซ่า และเน็ตคราฟต์) ยาฮู! ยังคงเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในโลกอินเทอร์เน็ต ด้วยจำนวนผู้ใช้ 412 ล้านคน เครือข่ายของยาฮู! ทั่วโลกมีเพจวิวโดยเฉลี่ยกว่า 3.4 พันล้านหน้าต่อวัน (อัปเดตเมื่อเดือนตุลาคม 2005) ปัจจุบันยาฮู! เปิดให้บริการในประเทศไทยด้วยและเริ่มเปิดตัวในประเทศไทยด้วย หรือ Yahoo! Answers ในภาคภาษาไท.

ดู สหรัฐและยาฮู!

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ดู สหรัฐและยุโรปตะวันตก

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

ดู สหรัฐและยูทูบ

ยูเอสแอร์เวย์

ูเอสแอร์เวย์ เป็นสายการบินต้นทุนต่ำสัญชาติอเมริกัน และยังเป็นสายการบินที่มีขนาดใหญ่อันดับ 5 ของสหรัฐอเมริกา ให้บริการ 241 จุดหมายปลายทาง ไปยังแคริบเบียน, ยุโรป, อเมริกากลาง, อเมริกาเหนือ และฮาวาย ยูเอสแอร์เวย์ มีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ชาร์ล็อตต์, ฟิลาเดลเฟีย, ฟีนิกซ์ และลาสเวกัส และยังมีท่าอากาศยานรองอยู่ที่พิตส์เบิร์ก รวมถึงเมืองสำคัญอย่างนิวยอร์ก-ลากวาเดีย, วอชิงตัน-เรแกน และบอสตัน ยูเอสแอร์เวย์ยังให้บริการในชื่อยูเอสแอร์เวย์ชัตเทิล และยูเอสแอร์เวย์เอ็กซ์เพรส และเมื่อวันที่ 27 กันยายน..

ดู สหรัฐและยูเอสแอร์เวย์

ยูเอสเอทูเดย์

อาคารสำนักงานใหญ่ของ ยูเอสเอ ทูเดย์ ในเมืองแมกลีน รัฐเวอร์จิเนีย ยูเอสเอทูเดย์ (USA Today) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันของสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์โดยบริษัทแกนเนตต์ ก่อตั้งโดยอัล นูฮาร์ธ ถือเป็นหนังสือพิมพ์ที่มียอดขายมากที่สุดกว่าหนังสือพิมพ์ใดในสหรัฐอเมริกา (เฉลี่ย 2.11 ล้านเล่ม ในวันธรรมดา) และในบรรดาหนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่ภาษาอังกฤษทั่วโลกแล้ว มียอดขายเป็นอันดับ 2 รองจาก เดอะไทมส์ออฟอินเดีย ที่ขายได้ 3.14 ล้านเล่มต่อวัน ยูเอสเอทูเดย์ ออกวางขายใน 50 รัฐของสหรัฐอเมริกา แคนาดา วอชิงตันดีซี เปอร์โตริโก และเกาะกวม.

ดู สหรัฐและยูเอสเอทูเดย์

รอย ลิกเทนสไตน์

รอย ฟอกซ์ ลิกเทนสไตน์ (Roy Fox Lichtenstein; 27 ตุลาคม ค.ศ. 1923 – 29 กันยายน ค.ศ. 1997) เป็นศิลปินป็อปอาร์ตชาวอเมริกัน ที่มีผลงานโดดเด่นร่วมกับศิลปินอื่น ๆ อาทิ แอนดี วอร์ฮอล, แจสเปอร์ จอนส์ และเจมส์ โรเซนควิสต์ งานของเขาเป็นการนิยามสมมติฐานเบื้องต้นมากกว่าการล้อเลียน ซึ่งงานส่วนมากได้รับแรงบันดาลใจหลักมาจากบทการ์ตูน ลิกเทนสไตน์ผลิตผลงานที่มีองค์ประกอบค่อนข้างแม่นยำ งานของเขาได้รับอิทธิพลจากโฆษณาที่โด่งดัง และหนังสือการ์ตูน รอยได้กล่าวว่า ป็อปอาร์ตไม่ใช่ภาพเขียนแนวอเมริกัน แต่เป็นภาพเขียนแนวอุตสาหกรรม ภาพเขียนของเขาได้จัดแสดงในหอศิลป์เลโอ กัสเตลลี (Leo Castelli) ในนครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม..

ดู สหรัฐและรอย ลิกเทนสไตน์

รอยเตอร์ส

อาคารสำนักงานใหญ่ที่กรุงลอนดอน สำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) คือผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ให้แก่สำนักข่าวต่างๆ ของโลก สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยรอยเตอร์สได้รับรายได้ส่วนมาก (กว่าร้อยละ 90) จากการให้บริการข้อมูลทางการเงินต่างๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นต้น และการให้บริการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตต่างๆ โดยปัจจุบันนี้รอยเตอร์สมีส่วนแบ่งการตลาดในด้านการบริการข้อมูลทางการเงินมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 23 รองจาก บลูมเบิร์ก (Bloomberg) ที่ควบคุมส่วนแบ่งการตลาดมากถึงร้อยละ 33 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู สหรัฐและรอยเตอร์ส

รองประธานาธิบดีสหรัฐ

รองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (Vice President of the United States; ย่อ: VPOTUS) เป็นบุคคลแรกภายใต้โครงสร้างการบริหารของประธานาธิบดีสหรัฐ และจะได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีเมื่อประธานาธิบดีคนปัจจุบันถึงแก่อสัญกรรม ลาออกหรือถูกถอดถอนจากตำแหน่ง ตามรัฐธรรมนูญสหรัฐนั้น รองประธานาธิบดียังได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานวุฒิสภาอีกด้วย แต่จะไม่มีอำนาจในการลงมติ เว้นแต่เพื่อการชี้ขาดในกรณีคะแนนเสียงเท่ากัน รองประธานาธิบดีคนปัจจุบันของสหรัฐภายใต้การนำของประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ คือนาย ไมก์ เพนซ์ ดูบทความเพิ่มเติมได้ที่ รายนามรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ ส หมวดหมู่:รองประธานาธิบดีสหรัฐ หมวดหมู่:คณะรัฐมนตรีสหรัฐ.

ดู สหรัฐและรองประธานาธิบดีสหรัฐ

ระบบสภาเดี่ยว

ระบบสภาเดี่ยว (unicameralism) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติหรือรัฐสภาแห่งเดียว ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียวส่วนใหญ่เป็นประเทศเล็กและเป็นรัฐที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน จึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีสภาสูง.

ดู สหรัฐและระบบสภาเดี่ยว

ระบบสองสภา

ระบบสองสภา (อังกฤษ: bicameralism -bi + Latin camera หรือ chamber) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติสององค์หรือมีรัฐสภาสองสภา ดังนั้น ระบบสองสภา หรือ สององค์นิติบัญญัติจึงประกอบด้วย 2 องค์ประชุมคือสภาสูงและสภาล่าง ระบบสองสภานับเป็นหัวใจสำคัญของรูปแบบคลาสสิกของรัฐบาลผสม องค์นิติบัญญัติแบบสองสภาจึงจำเป็นต้องมีเสียงข้างมากในการผ่านกฎหม.

ดู สหรัฐและระบบสองสภา

ระบบธนาคารกลางสหรัฐ

ระบบธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve (System) หรือ Fed) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 1913 ด้วยการตรารัฐบัญญัติธนาคารกลาง หลังเกิดวิกฤตการเงินขึ้นหลายครั้ง (โดยเฉพาะวิกฤตการเงินปี 1907) นำให้มีความต้องการควบคุมกลางซึ่งระบบการเงินเพื่อบรรเทาวิกฤตการเงิน เหตุการณ์ในเวลาต่อมาอย่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 1930 และภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 2000 นำสู่การขยายบทบาทและความรับผิดชอบของระบบธนาคารกลาง รัฐสภาสหรัฐตั้งวัตถุประสงค์สำคัญสามข้อสำหรับนโยบายการเงินในรัฐบัญญัติธนาคารกลาง ได้แก่ การเพิ่มการจ้างงานให้สูงสุด การรักษาเสถียรภาพราคา และการรักษาอัตราดอกเบี้ยระยะยาว วัตถุประสงค์สองข้อแรกบางทีเรียก อาณัติคู่ของธนาคารกลาง หน้าที่ของธนาคารฯ ขยายขึ้นตามเวลา และในปี 2009 ยังรวมถึงการควบคุมดูแลและการวางระเบียบธนาคาร การรักษาเสถียรภาพของระบบการเงิน และให้บริการทางการเงินแก่สถาบันรับฝาก รัฐบาลสหรัฐและสถาบันราชการของต่างประเทศ ระบบธนาคารกลางวิจัยเศรษฐกิจและให้สิ่งพิมพ์เผยแพร่ต่าง ๆ ได้แก่ หนังสือเบจ (Beige Book) และฐานข้อมูลเฟรด ระบบธนาคารกลางประกอบด้วยหลายชั้น มีคณะกรรมการผู้ว่าการธนาคารหรือคณะกรรมการระบบธนาคารกลางซึ่งมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดีเป็นผู้บริหาร ธนาคารระบบธนาคารกลางภูมิภาคสิบสองแห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในนครต่าง ๆ ทั่วประเทศ ควบคุมดูแลธนาคารสมาชิกของสหรัฐที่เอกชนเป็นเจ้าของ กฎหมายกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตระดับชาติถือครองหลักทรัพย์ในธนาคารระบบธนาคารกลางในภูมิภาคของตน ซึ่งทำให้ธนาคารเหล่านั้นมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกคณะกรรมการบางส่วนได้ คณะกรรมการตลาดเสรีกลาง (Federal Open Market Committee) กำหนดนโยบายการเงิน ประกอบด้วยสมาชิกคณะกรรมการผู้ว่าการทั้งเจ็ดคน และประธานธนาคารภูมิภาคสิบสองคน แม้ครั้งหนึ่ง ๆ ประธานธนาคารเพียงห้าคนเท่านั้นที่สามารถออกเสียงลงคะแนนได้ ได้แก่ ประธานระบบธนาคารกลางนิวยอร์กหนึ่งคนและประธานธนาคารอื่นอีกสี่คนหมุนเวียนกันโดยมีวาระละ 1 ปี นอกจากนี้ ยังมีสภาที่ปรึกษาต่าง ๆ ฉะนั้น ระบบธนาคารกลางสหรัฐจึงมีทั้งส่วนภาครัฐและเอกชน โครงสร้างดังกล่าวถือว่าเป็นเอกลักษณ์ต่างจากธนาคารกลางประเทศอื่น นอกจากนี้ ยังผิดปกติที่กระทรวงการคลังสหรัฐ ซึ่งเป็นหน่วยงานนอกธนาคารกลาง พิมพ์เงินตราที่หมุนเวียน แม้ระบบธนาคารกลางจะเป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐบาลสหรัฐ แต่ระบบธนาคารกลางถือตนว่าเป็น "ธนาคารกลางอิสระเพราะการตัดสินใจนโยบายการเงินไม่จำเป็นต้องได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดีหรือบุคคลอื่นใดในอำนาจบริหารหรือสภานิติบัญญัติ ไม่ได้รับสนับสนุนเงินทุนจากรัฐสภา และวาระของสมาชิกคณะกรรมการผู้ว่าการกินเวลาหลายวาระของประธานาธิบดีและรัฐสภา" รัฐบาลกลางกำหนดเงินเดือนของผู้ว่าการทั้งเจ็ดคนของคณะกรรมการ รัฐบาลกลางได้รับกำไรประจำปีทั้งหมดของระบบ หักการจ่ายเงินปันผลตามกฎหมาย 6% แก่การลงทุนของธนาคารสมาชิก และคงบัญชีเกินดุลแล้ว ในปี 2015 ระบบธนาคารกลางฯ สร้างกำไร 100,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และโอน 97,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐแก่กระทรวงการคลัง.

ดู สหรัฐและระบบธนาคารกลางสหรัฐ

ระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต

ระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต ดไวต์ ดี.

ดู สหรัฐและระบบทางหลวงอินเตอร์สเตต

ระบบประธานาธิบดี

ระบบประธานาธิบดี คือ ระบอบที่ตั้งให้ประมุขแห่งรัฐมีอำนาจสูงสุดอย่างเต็มที่ คณะรัฐบาลอยู่ใต้อำนาจของประมุขแห่งรัฐ (เช่น อำนาจในการแต่งตั้งหรือถอดถอนคณะรัฐบาล) ในรัฐธรรมนูญของบางประเทศ อาจให้มีตำแหน่งนายกรัฐมนตรีควบคู่ไปกับประธานาธิบดีได้ แต่ส่วนมากนายกรัฐมนตรีในระบบประธานาธิบดีจะไม่มีอำนาจเท่ากับในระบอบรัฐสภา ระบบประธานาธิบดีมีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกา ประเทศที่ใช้ระบบประธานาธิบดีได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล เม็กซิโก เป็นต้น.

ดู สหรัฐและระบบประธานาธิบดี

ระบอบนาซี

นาซี (Nazism; บ้างสะกดว่า Naziism "JAPAN: Imitation of Naziism?"; Nationalsozialismus) หรือ ชาติสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์และวิถีปฏิบัติของพรรคนาซีและนาซีเยอรมนีPayne, Stanley G.

ดู สหรัฐและระบอบนาซี

รักบี้ยูเนียน

รักบี้ยูเนียน (rugby union) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า รักบี้ (rugby) เป็นกีฬาประเภททีมที่ต้องปะทะกัน เล่นระหว่างสองทีมโดยแต่ละทีมมีผู้เล่น 15 คน ซึ่งกีฬานี้มีต้นกำเนิดมาจากประเทศอังกฤษในครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19.

ดู สหรัฐและรักบี้ยูเนียน

รักร่วมสองเพศ

รักร่วมสองเพศ หรือ ไบเซ็กชวล (Bisexual) เป็นรสนิยมทางเพศ ที่ชอบคนทั้ง 2 เพศ ทั้งชายและหญิง คนที่มีรสนิยมแบบไบเซ็กชวลอาจมีประสบการณ์ทางเพศ ภาวะอารมณ์ ความรัก กับทั้งเพศตัวเองและเพศตรงข้าม และยังมีความหมายถึงความรู้สึกส่วนตัวและอัตลักษณ์ทางสังคม โดยยึดจากความสนใจทางเพศ การแสดงออกทางพฤติกรรม และการเป็นสมาชิกในกลุ่มสังคม และยังถือเป็น 1 ใน 4 ของการจำแนกเพศ ร่วมไปกับรักต่างเพศ รักเพศเดียวกัน และไม่ฝักใจทางเพศ จากการสำรวจของอัลเฟรด คินเซย์เกี่ยวกับเพศของมนุษย์ ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 กล่าวว่า มีมนุษย์หลายคนที่ไม่ได้เป็นบุคคลรักเพศตรงข้าม และรักเพศเดียวกัน แต่อยู่ระหว่างนั้น มีการวัดความสนใจทางเพศและพฤติกรรม ความกว้าง 0-7 โดย 0 (รักเพศตรงข้าม) ถึง 6 (รักเพศเดียวกัน) จากการศึกษาพบว่ามีจำนวนมากที่อยู่ระหว่าง 1 ถึง 5 (ระหว่างรักเพศตรงข้ามและรักเพศเดียวกัน) แต่วิธีนี้ก็ได้รับการวิจารณ์ว่า เลขการวัดยังคงกว้างที่จะอธิบายเพศของมนุษย์ ไบเซ็กชวล ได้รับการสังเกตในสังคมมนุษย์หลายสังคม รวมไปถึงอาณาจักรสัตว์ด้วย จากประวัติการบันทึก เกี่ยวกับไบเซ็กชวล น่าจะเกิดขึ้นในเวลาเดียวกับ รักร่วมเพศ และรักเพศเดียวกัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ดู สหรัฐและรักร่วมสองเพศ

รักร่วมเพศ

รักร่วมเพศ (homosexuality) หมายถึงพฤติกรรมทางเพศหรือความสนใจของคนในเพศเดียวกันหรือรสนิยมทางเพศ ในเรื่องรสนิยมทางเพศหมายถึง "มีเพศสัมพันธ์หรือความรักในทางโรแมนติกพิเศษกับบุคคลในเพศเดียวกัน" และยังหมายถึง "ความรู้สึกส่วนตัวและการแสดงออกทางสังคมโดยยึดจากความชอบ พฤติกรรมที่พวกเขาแสดงออก และการเป็นสมาชิกในกลุ่มสังคมเดียวกันของพวกเขา" รักร่วมเพศ, ไบเซ็กชวล และรักต่างเพศ ถือเป็นกลุ่มคนหลัก 3 ประเภทของรสนิยมทางเพศ สัดส่วนของประชากรที่เป็นกลุ่มคนรักเพศเดียวกันค่อนข้างยากที่จะประเมินLeVay, Simon (1996).

ดู สหรัฐและรักร่วมเพศ

รักเธอสุดที่รัก

รักเธอสุดที่รัก (The Great Gatsby) เป็นนวนิยายที่เขียนโดยเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์นักเขียนชาวอเมริกัน ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ.

ดู สหรัฐและรักเธอสุดที่รัก

รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์

นกกระเรียนกู่ รัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ (Endangered Species Act of 1973) (7 และ 16 et seq., ESA) คือรัฐบัญญัติที่เกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมของสหรัฐอเมริกาหลายฉบับที่ได้รับการอนุมัติโดยรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 1970 วัตถุประสงค์ของกฎหมายฉบับนี้เพื่อการพิทักษ์สิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ให้พ้นจากการสูญพันธุ์โดยสิ้นเชิงซึ่งเป็น “ผลสะท้อนอันเกิดจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาอันปราศจากความคำนึงอันพอเพียง และ การอนุรักษ์ของสถานที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต” สาระสำคัญของรัฐบัญญัติว่าด้วยการพิทักษ์สัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์.

ดู สหรัฐและรัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์

รัฐบัญญัติคุ้มครองผู้ป่วยและการบริบาลที่เสียได้

รัฐบัญญัติคุ้มครองผู้ป่วยและการบริบาลที่เสียได้ (Patient Protection and Affordable Care Act) มักย่อเป็นรัฐบัญญัติการบริบาลที่เสียได้ (ACA) และมีชื่อเล่นว่า โอบามาแคร์ (Obamacare) เป็นกฎหมายกลางของสหรัฐซึ่งรัฐสภาสหรัฐที่ 111 เป็นผู้ตรา และประธานาธิบดีบารัก โอบามาลงนามเป็นกฎหมายเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 ภายใต้รัฐบัญญัตินี้ โรงพยาบาลและแพทย์ปฐมภูมิจะเปลี่ยนเวชปฏิบัติของพวกตนทั้งด้านการเงิน เทคโนโลยีและคลินิกเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น ราคาถูกลง และปรับปรุงวิธีการกระจายและการเข้าถึงได้ รัฐบัญญัติการบริบาลที่เสียได้ออกแบบมาเพื่อเพิ่มคุณภาพและการเสียได้ของประกันสุขภาพ ลดอัตราผู้ไม่ได้เอาประกันโดยขยายความคุ้มครองของประกันและลดราคาของบริการสุขภาพ รัฐบัญญัติฯ ริเริ่มกลไกซึ่งรวมถึงการมอบอำนาจ เงินอุดหนุนและตลาดประกัน รัฐบัญญัติฯ ยังกำหนดให้ผู้ประกันยอมรับผู้สมัครทุกคน ครอบคลุมรายการจำเพาะและคิดเบี้ยประกันอัตราเดียวโดยไม่คำนึงถึงภาวะก่อนหน้านี้หรือเพศ รัฐบัญญัติฯ ก่อให้เกิดการลดจำนวนและร้อยละของผู้ไม่มีประกันสุขภาพอย่างสำคัญ โดยประเมินไว้ระหว่าง 20-24 ล้านคนที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างปี 2559 การเพิ่มรายจ่ายด้านบริการสุขภาพโดยรวมชะลอลงนับแต่นำกฎหมายนี้ไปปฏิบัติ ซึ่งรวมเบี้ยประกันสำหรับแผนประกันที่อาศัยนายจ้าง สำนักงานงบประมาณของรัฐสภารายงานในการศึกษาหลายครั้งว่ารัฐบัญญัติฯ จะลดการขาดดุลงบประมาณ และการยกเลิกจะเพิ่มการขาดดุล นับแต่เริ่มนำไปปฏิบัติ ผู้คัดค้านใช้คำว่า "โอบามาแคร์" เรียกรัฐบัญญัติฯ และต่อมาผู้อื่นก็นำไปใช้ด้วย กฎหมายและการนำไปปฏิบัติเผชิญการคัดค้านในรัฐสภาและศาลกลาง และจากรัฐบาลของบางรัฐ กลุ่มผลประโยชน์อนุรักษนิยม สหภาพแรงงานและองค์การธุรกิจขนาดย่อม ศาลสูงสุดแห่งสหรัฐสนับสนุนความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของการมอบอำนาจปัจเจกของรัฐบัญญัติฯ ว่าเป็นการใช้อำนาจเก็บภาษีของรัฐสภา วินิจฉัยว่าไม่สามารถบังคับรัฐให้เข้าร่วมการขยายเมดิเคด (Medicaid) ของรัฐบัญญัติฯ และวินิจฉัยว่าเงินอุดหนุนของกฎหมายนี้เพื่อช่วยปัจเจกบุคคลในการจ่ายประกันสุขภาพมีได้ในทุกรัฐ ไม่เพียงเฉพาะในรัฐที่จัดตั้งตลาดของรัฐเท่านั้น กฎหมายนี้เป็นการยกระดับระเบียบที่สำคัญที่สุดในระบบบริการสุขภาพของสหรัฐ ร่วมกับการแก้ไขรัฐบัญญัติบริการสุขภาพและการปรองดองการศึกษา (Health Care and Education Reconciliation Act) นับแต่การผ่านเมดิแคร์ (Medicare) และเมดิเดดในปี 2508.

ดู สหรัฐและรัฐบัญญัติคุ้มครองผู้ป่วยและการบริบาลที่เสียได้

รัฐฟลอริดา

รัฐฟลอริดา (Florida, เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ สหรัฐอเมริกา ทิศตะวันตกติดต่อกับอ่าวเม็กซิโก ทิศเหนือติดต่อกับรัฐอะลาบามา และรัฐจอร์เจีย ทิศตะวันออกติดต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้ติดต่อกับช่องแคบฟลอริดา รัฐฟลอริดาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 22 มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 และหนาแน่นมากเป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา แจ็กสันวิลล์เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐฟลอริดา และมีพื้นที่มากที่สุดในสหรัฐอเมริกาแผ่นดินใหญ่ มีเขตเมืองไมแอมี (Miami metropolitan area) เป็นเขตเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และมีแทลลาแฮสซีเป็นเมืองหลวงของรัฐ รัฐฟลอริดาเป็นที่รู้จักกันในนาม ซันไชน์สเตต (Sunshine State) คำว่า "ฟลอริดา" เป็นภาษาสเปนซึ่งหมายถึง "ที่ซึ่งอุดมไปด้วยดอกไม้" ชื่อของแหลมฟลอริดาตั้งชื่อโดยควน ปอนเซ เด เลออง (Juan Ponce de León) ซึ่งมาเทียบที่ชายฝั่งเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ.

ดู สหรัฐและรัฐฟลอริดา

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ

รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม (Secretary of Defense) เป็นหัวหน้าและประธานบริหารกระทรวงกลาโหม อันเป็นกระทรวงหนึ่งของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐDoDD 5100.1: Enclosure 2: a อำนาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเหนือกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นรองเพียงประธานาธิบดีTrask & Goldberg: p.11 ประธานาธิบดีแต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโดยคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา เป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีโดยจารีตประเพณี และเป็นสมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติตามกฎหม.

ดู สหรัฐและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ

รัฐลุยเซียนา

ลุยเซียนา (Louisiana, ออกเสียง หรือ) เป็นรัฐทางใต้ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีลักษณะผสมผสานของวัฒนธรรมฝรั่งเศส ซึ่งในรัฐลุยเซียนามีการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เป็นภาษาทางการของรัฐ ถึงแม้ว่าภาษาฝรั่งเศสจะมีใช้เพียงประมาณ 5% เมืองสำคัญของรัฐคือ นิวออร์ลีนส์ เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในรัฐ ในขณะที่เมืองหลวงของรัฐคือ แบตันรูช ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงในรัฐได้แก่ นิวออร์ลีนส์เซนต์และนิวออร์ลีนส์ฮอร์เนตส์ ในปี 2550 ลุยเซียนามีประชากร 4,089,963คน ในทุกปี จะมีงานเฉลิมฉลองขนาดใหญ่จัดขึ้นที่นิวออร์ลีนส์ชื่องานว่า มาร์ดีกรา (Mardi Gras) จะมีขบวนพาเหรดและงานรื่นเริงต่างๆ โดยจัดในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์หรือต้นเดือนมีนาคม ในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและรัฐลุยเซียนา

รัฐวอชิงตัน

รัฐวอชิงตัน (Washington) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ในวอชิงตันมีธุรกิจชั้นนำของโลกหลายบริษัทได้แก่ โบอิง (ปัจจุบันย้ายไปที่ รัฐอิลลินอยส์) ไมโครซอฟท์ แอมะซอน.คอม นินเทนโดอเมริกา และเศรษฐกิจอื่นได้แก่ การท่องเที่ยว อิเล็กทรอนิกส์ การทำเหมืองแร่ ป่าไม้ และผลิตภัณฑ์จากไม้ ถึงแม้ว่าชื่อจะคล้ายกัน วอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและรัฐวอชิงตัน

รัฐสภาสหรัฐ

รัฐสภาสหรัฐ (United States Congress) เป็นสภานิติบัญญัติสูงสุดในระบบการปกครองสหรัฐ ซึ่งเป็นระบบสภาคู่ ที่ประกอบด้วย วุฒิสภา (Senate) และ สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) สมาชิกของทั้งสองสภาได้รับเลือกจากประชาชนโดยตรง สมาชิก 435 คนของสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนจากเขตการปกครอง (district) และมีหน้าที่สองปี ผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตั้งมาจากเขตการปกครองตามจำนวนประชากรที่ระบุไว้ในเขตการเลือกตั้งสหรัฐซึ่งเปลื่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ฉะนั้นทุกสองปีหนึ่งในสามของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องได้รับเลือกตั้งใหม่ ส่วนสมาชิกวุฒิสภา 100 คนของวุฒิสภารับหน้าที่ครั้งละหกปี แต่ละมลรัฐมีสิทธิในการเลือกสมาชิกวุฒิสภาสองคนไม่ว่าจะเป็นรัฐมีประชากรมากหรือน้อยเท่าใด รัฐธรรมนูญสหรัฐให้อำนาจในการออกกฎหมายแก่รัฐสภาทั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรมีอำนาจเท่ากันในกระบวนการออกกฎหมาย กฎหมายทุกฉบับที่นำมาปฏิบัติได้ต้องได้รับการอนุมัติจากทั้งสองสภา แต่รัฐธรรมนูญให้อำนาจพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์บางอย่างแก่ทั้งสองสภา เช่นวุฒิสภามีอำนาจในการอนุมัติสนธิสัญญา และ การแต่งตั้งตำแหน่งของหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาลที่เสนอโดยประธานาธิบดี แต่กฎหมายเกี่ยวกับการหารายได้เพิ่มเป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรที่จะเสนอ นอกจากนั้นสภาผู้แทนราษฎรก็ยังมีอำนาจฟ้องขับเจ้าหน้าที่ชั้นสูงออกจากตำแหน่ง (impeachment) ขณะที่วุฒิสภามีอำนาจในการพิจารณาฟ้องดังกล่าว ปัจจุบันเป็นสมัยประชุมที่ 115 เริ่มเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ดู สหรัฐและรัฐสภาสหรัฐ

รัฐสวัสดิการ

รัฐสวัสดิการ (welfare state) คือ มโนทัศน์การปกครองซึ่งรัฐมีบทบาทสำคัญในการคุ้มครองและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีทางเศรษฐกิจและสังคมของพลเมือง โดยอาศัยหลักความเสมอภาคของโอกาส การกระจายความมั่งคั่งอย่างชอบธรรม และความรับผิดชอบต่อสาธารณะแก่ผู้ไม่สามารถจัดหาขั้นต่ำสำหรับชีวิตที่ดีได้ กลุ่มประเทศนอร์ดิก เช่น ไอซ์แลนด์ สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์กและฟินแลนด์ รวมอยู่ในรัฐสวัสดิการสมัยใหม่ รัฐสวัสดิการเกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนเงินทุนจากรัฐสู่บริการที่จัดให้ (เช่น สาธารณสุข การศึกษา) ตลอดจนสู่ปัจเจกบุคคลโดยตรง ("ผลประโยชน์") รัฐสวัสดิการจัดหาเงินทุนจากการเก็บภาษีแบบแบ่งความมั่งคั่ง (redistributionist taxation) และมักเรียกว่าเป็น "เศรษฐกิจแบบผสม" ประเภทหนึ่ง การเก็บภาษีดังกล่าวปกติรวมการเก็บภาษีเงินได้จากผู้มีรายได้สูงมากกว่าผู้มีรายได้ต่ำ เรียก ภาษีอัตราก้าวหน้า ซึ่งช่วยลดช่องว่างรายได้ระหว่างคนรวยและคนจน| Arthur Cecil PigouAndrew Berg and Jonathan D.

ดู สหรัฐและรัฐสวัสดิการ

รัฐออริกอน

รัฐออริกอน (Oregon) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งทางตะวันตกของประเทศ ภูมิประเทศในรัฐมีความหลากหลายตั้งแต่ ป่า และ ชายฝั่งทะเล รวมถึงที่ราบลุ่มและทะเลทราย เมืองหลวงของรัฐคือ เซเลม และเมืองสำคัญในรัฐได้แก่ พอร์ตแลนด์ ยูจีน และ ออริกอนซิตี มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงได้แก่ มหาวิทยาลัยรัฐพอร์ตแลนด์ หรือ Portland State University มหาวิทยาลัยออริกอน ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ พอร์ตแลนด์ เทรลเบรเซอรส์ ในปี 2551 ออริกอนมีประชากรประมาณ 3,747,455 คน ชื่อรัฐออริกอน ออกเสียงตามคนในรัฐออริกอนว่า /ˈɔr.ə.g(ə)n/ (ออริกัน) โดยชื่อมักจะถูกออกเสียงเป็น /ˈɔr.ə.ˌgɑn/ (ออริกอน) โดยในรัฐจะเห็นชื่อรัฐเขียนเป็น "Orygun" เพื่อบอกให้นักท่องเที่ยวรู้คำอ่านของชื่อรัฐอย่างถูกต้อง.

ดู สหรัฐและรัฐออริกอน

รัฐอะแลสกา

รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

ดู สหรัฐและรัฐอะแลสกา

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (Islamic State of Iraq and the Levant, ย่อ: ISIL) หรือเรียก รัฐอิสลามอิรักและซีเรีย (Islamic State of Iraq and Syria; ย่อ: ISIS), รัฐอิสลามอิรักและอัชชาม (Islamic State of Iraq and ash-Sham) หรือรัฐอิสลาม (Islamic State; ย่อ: IS) เป็นกลุ่มนักรบสุดโต่งวะฮาบีย์/ญิฮัดสะละฟีย์ซึ่งตั้งตนเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์และรัฐอิสลาม กลุ่มนี้มีชาวอาหรับนิกายซุนนีย์จากประเทศอิรักและซีเรียเป็นผู้นำและเป็นส่วนใหญ่ ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มควบคุมดินแดนที่มีประชากร 10 ล้านคนในประเทศอิรักและซีเรีย และควบคุมเหนือดินแดนขนาดเล็กในประเทศลิเบีย ไนจีเรียและอัฟกานิถสานผ่านกลุ่มท้องถิ่นที่ภักดี กลุ่มนี้ยังปฏิบัติการหรือมีสาขาในส่วนอื่นของโลก รวมถึงแอฟริกาเหนือและเอเชียใต้ วันที่ 29 มิถุนายน กลุ่มตั้งต้นเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ทั่วโลก โดยมีอะบู บักร์ อัลบัฆดาดีเป็นเคาะลีฟะฮ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นอัดเดาละฮ์ อัลอิสลามิยะฮ์ (الدولة الإسلامية, ad-Dawlah al-Islāmiyah "รัฐอิสลาม") ด้วยเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ กลุ่มนี้อ้างอำนาจทางศาสนา การเมืองและทหารเหนือมุสลิมทุกคนทั่วโลก และว่า "ความชอบด้วยกฎหมายของทุก ๆ เอมิเรต กลุ่ม รัฐและองค์การเป็นโมฆะโดยการแผ่ขยายอำนาจของเคาะลีฟะฮ์และทหารของรัฐเคาะลีฟะฮ์มาถึงพื้นที่ของสิ่งเหล่านี้" สหประชาชาติถือว่า ISIL รับผิดชอบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนและอาชญากรรมสงคราม และองค์การนิรโทษกรรมสากลรายงานการล้างชาติพันธุ์ของกลุ่มใน "ขนาดที่ไม่เคยมีมาก่อน" สหประชาชาติ สหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ตุรกี ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อียิปต์ อินเดียและรัสเซียประกาศให้กลุ่มนี้เป็นองค์การก่อการร้าย กว่า 60 ประเทศกำลังทำสงครามโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อ ISIL กลุ่มนี้กำเนิดเป็น "จามาต ตอฮิด วัล ญิฮัด" (Jama'at al-Tawhid wal-Jihad) ในปี 2542 ซึ่งสวามิภักดิ์ต่ออัลกออิดะฮ์ในปี 2547 กลุ่มนี้เข้าร่วมการก่อการกำเริบอิรักให้หลังการบุกครองอิรัก พ.ศ.

ดู สหรัฐและรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์

รัฐฮาวาย

รัฐฮาวาย (Hawaii,, ภาษาฮาวาย: Hawaii) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในหมู่เกาะฮาวายในมหาสมุทรแปซิฟิก ฮาวายได้รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับสุดท้ายคือลำดับที่ 50 ในวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและรัฐฮาวาย

รัฐธรรมนูญสหรัฐ

รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ (United States Constitution) เป็นกฎหมายสูงสุดของสหรัฐอเมริกา เป็นกรอบการปฏิบัติสำหรับหน่วยงานของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ และกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่นของรัฐต่าง ๆ รวมถึงประชาชนทุกคนที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาด้วย สามมาตราแรกของรัฐธรรมูญตั้งกฎและการแบ่งแยกอำนาจเป็นสามส่วนของรัฐบาลกลาง ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภาแบบสองสภา ฝ่ายบริหารนำโดยประธานาธิบดี และฝ่ายตุลาการนำโดยศาลสูงสุด สี่มาตราสุดท้ายวางกรอบหลักระบอบสหพันธรัฐ รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ.

ดู สหรัฐและรัฐธรรมนูญสหรัฐ

รัฐของสหรัฐ

แผนที่ สหรัฐอเมริกา พร้อมทั้งชื่อรัฐ (อะแลสกา และ ฮาวาย ไม่ได้จัดตามมาตราส่วน) รัฐ (State, แต่สำหรับ รัฐเคนทักกี รัฐแมสซาชูเซตส์ รัฐเพนซิลเวเนีย และ รัฐเวอร์จิเนีย ใช้คำว่า Commonwealth) ในสหรัฐอเมริกา เป็นหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีอธิปไตยในการปกครองตนเองร่วมกับรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรัฐทั้งหมด 50 รัฐ ในแต่ละรัฐแบ่งเป็นหลายเคาน์ตี (county) แต่ละเคาน์ตีแบ่งเป็นหลายเมือง (city) แต่ละรัฐมีผู้ว่าการรัฐหนึ่งคน และมีสภานิติบัญญัติประจำรั.

ดู สหรัฐและรัฐของสหรัฐ

รัฐนิวเม็กซิโก

รัฐนิวเม็กซิโก (New Mexico,; Nuevo México) เป็นรัฐทางตอนตะวันตกเฉียงใต้ ของสหรัฐอเมริกา ติดกับประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงของรัฐคือ ซานตาเฟ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือ อัลบูเคอร์คี ถึงแม้ว่าในสหรัฐอเมริกา ภาษาอังกฤษนิยมใช้กันมากที่สุด แต่ในรัฐนิวเม็กซิโกเป็นรัฐที่มีการใช้ภาษาสเปนมากที่สุดรัฐหนึ่งในสหรัฐอเมริกา โดยประชากรในรัฐประกอบด้วย ชาวอเมริกา ชาวสเปน และชาวเม็กซิโก ในปี 2550 นิวเม็กซิโกมีประชากร 1,969,915 คน.

ดู สหรัฐและรัฐนิวเม็กซิโก

รัฐแอละแบมา

รัฐแอละแบมา (Alabama) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกามีพื้นที่ทั้งหมด 135,775 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 4,447,100 คน ทางทิศเหนือของรัฐจรดรัฐเทเนสซี ทิศตะวันออกจรดรัฐจอร์เจีย ทิศใต้จรดรัฐฟลอริดาและอ่าวเม็กซิโก และทิศตะวันตกจรดรัฐมิสซิสซิปปี รัฐแอละแบมาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 30 และเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 24.

ดู สหรัฐและรัฐแอละแบมา

รัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐแคลิฟอร์เนีย (California,, แคลึฟอรฺนยะ) เป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาและมีพื้นที่ใหญ่สุดเป็นอันดับสาม ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตก (ติดมหาสมุทรแปซิฟิก) ของสหรัฐอเมริกา มีชายแดนติดกับรัฐแอริโซนา รัฐเนวาดาและรัฐออริกอน และมีชายแดนระหว่างประเทศติดต่อกับรัฐบาฮากาลิฟอร์เนียของประเทศเม็กซิโก เมืองหลวงรัฐ คือ แซคราเมนโต ลอสแอนเจลิสเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดของรัฐแคลิฟอร์เนีย และเป็นนครใหญ่สุดอันดับสองของประเทศรองจากนครนิวยอร์ก รัฐแคลิฟอร์เนียยังมีเคาน์ตีที่มีประชากรที่สุดของประเทศ คือ ลอสแอนเจลิสเคาน์ตี และมีพื้นที่มากที่สุด คือ แซนเบอร์นาร์ดีโนเคาน์ตี ภูมิศาสตร์หลากหลายของรัฐแคลิฟอร์เนียมีตั้งแต่ชายฝั่งแปซิฟิกทางทิศตะวันตกถึงเทือกเขาเซียร์ราเนวาดาทางทิศตะวันออก และตั้งแต่ป่าเรดวูด–สนดักลาสทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจนถึงทะเลทรายโมฮาวีทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เซ็นทรัลแวลลี พื้นที่เกษตรกรรมหลัก กินพื้นที่ตอนกลางส่วนใหญ่ของรัฐ แม้รัฐแคลิฟอร์เนียจะขึ้นชื่อด้านภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนอบอุ่น แต่ขนาดที่ใหญ่หมายความว่าภูมิอากาศมีหลากหลายตั้งแต่ป่าฝนเขตอบอุ่นชื้นทางทิศเหนือ ถึงทะเลทรายแห้งแล้งด้านใน ตลอดจนแบบแอลป์หิมะในเขตภูเขา ทีแรกพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียปัจจุบันมีชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนมีการสำรวจของชาวยุโรปจำนวนหนึ่งระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ต่อมาจักรวรรดิสเปนอ้างสิทธิ์เป็นส่วนหนึ่งของอัลตาแคลิฟอร์เนียในอาณานิคมนิวสเปน พื้นที่ดังกล่าวกลายเป็นส่วนหนึ่งของเม็กซิโกใน..

ดู สหรัฐและรัฐแคลิฟอร์เนีย

รัฐโรดไอแลนด์

รัฐโรดไอแลนด์ ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของประเทศ รัฐโรดไอแลนด์และนิคมพรอวิเดนซ์ (The State of Rhode Island and Providence Plantations) หรือรัฐโรดไอแลนด์ (Rhode Island) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกของประเทศ ในเขตนิวอิงแลนด์ รัฐโรดไอแลนด์เป็น 1 ใน 13 รัฐเริ่มต้นก่อนการรวมตัวของรัฐอื่นในช่วงการปฏิวัติอเมริกา โรดไอแลนด์มีชื่อเล่นรัฐว่า "รัฐมหาสมุทร" (The Ocean State) โดยทุกส่วนในรัฐโรดไอแลนด์ห่างจากมหาสมุทรไม่เกิน 48 กม.

ดู สหรัฐและรัฐโรดไอแลนด์

รัฐโคโลราโด

รัฐโคโลราโด (Colorado,, คอละแรโดวฺ) เป็นรัฐทางตอนกลางตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา โคโลราโดเป็นรัฐที่อยู่ในเขตเทือกเขาร็อกกีซึ่งครอบคลุมราวๆครึ่งหนึ่งของรัฐทางฝั่งตะวันตก ในขณะที่ฝั่งตะวันออกของรัฐเป็นที่ราบ กองสำรวจประชากรแห่งสหรัฐ ได้สำรวจว่า ในปี..

ดู สหรัฐและรัฐโคโลราโด

รัฐไวโอมิง

รัฐไวโอมิง (Wyoming) เป็นรัฐตั้งอยู่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ภูมิประเทศภายในรัฐมีลักษณะเป็นเทือกเขา เมืองหลวงของรัฐคือ ไชแอนน์ รัฐไวโอมิงเป็นรัฐที่มีประชากรน้อยที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีประชากร 493,782 คน ในขณะเดียวกันมีพื้นที่รัฐเป็นอันดับ 10 ของประเทศ มีขนาด 253,554 กม.² รัฐไวโอมิงมีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญคือ อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน อุทยานแห่งชาติแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา ในปี 2550 ไวโอมิงมีประชากร 522,830 คน.

ดู สหรัฐและรัฐไวโอมิง

รัฐเพนซิลเวเนีย

รัฐเพนซิลเวเนีย รัฐทางตอนกลาง ของสหรัฐอเมริกา เครือรัฐเพนซิลเวเนีย (Commonwealth of Pennsylvania) เป็นรัฐที่อยู่ทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา รัฐเพนซิลเวเนียเป็นรัฐหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวข้องที่สุดรัฐหนึ่ง เป็นที่ประกาศอิสรภาพของอเมริกา โดยมีฟิลาเดลเฟียเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของสหรัฐอเมริกาก่อนการจัดตั้งวอชิงตัน ดีซี ชื่อของรัฐมาจากภาษาละติน ตั้งโดย เควกเกอร์ วิลเลียม เพนน์ เมืองหลวงของรัฐคือ แฮร์ริสเบิร์ก และเมืองสำคัญอื่นๆ ได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย และพิตส์เบิร์ก รวมไปถึงเมืองเฮอร์ชีย์ที่ตั้งของโรงงานชอกโกแลตเฮอร์ชีย์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญในรัฐได้แก่ มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน มหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์ก และ มหาวิทยาลัยลีไฮฮ์ ทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ฟิลาเดลเฟีย อีเกิลส์ และ พิตส์เบิร์ก สตีลเลอรส์ ในปี 2550 เพนซิลเวเนียมีประชากร 12,432,792 คน.

ดู สหรัฐและรัฐเพนซิลเวเนีย

รัฐเวอร์มอนต์

รัฐเวอร์มอนต์ (Vermont) เป็นรัฐในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศ อยู่ในเขตนิวอิงแลนด์ ในอดีตรัฐเวอร์มอนต์เป็นที่อยู่อาศัยของอินเดียนแดงเผ่าอิโรควอยส์ เผ่าอัลกอนเควียน และเผ่าอเบนากิ โดยทางฝรั่งเศสได้ยึดครองมาในช่วงตั้งรกรากในสหรัฐอเมริกา และได้เสียให้กับอังกฤษในช่วงสงครามในเวลาต่อมา รัฐเวอร์มอนต์มีชื่อเสียงในด้านของวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งรวมถึง สกีรีสอร์ตที่สำคัญหลายแห่ง เวอร์มอนต์ยังคงมีชื่อเสียงในด้านผลิตภัณฑ์จากวัวและเมเปิลไซรัป เมืองหลวงของรัฐคือ มอนต์เพเลียร์ และเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือ เบอร์ลิงตัน ในปี 2550 เวอร์มอนต์มีประชากร 621,254 คน.

ดู สหรัฐและรัฐเวอร์มอนต์

รัฐเวอร์จิเนีย

รัฐเวอร์จิเนีย (Commonwealth of Virginia) เป็นรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของประเทศ เมืองหลวงของรัฐคือ ริชมอนด์ และเมืองที่ประชากรมากที่สุดคือ เวอร์จิเนียบีช เวอร์จิเนียเป็นรัฐที่มีภูมิทัศน์สวยงามมากเนื่องจากมีทั้งพื้นที่เป็นภูเขาและติดทะเล มีป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ รัฐเวอร์จิเนียติดต่อกับรัฐแมริแลนด์ วอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและรัฐเวอร์จิเนีย

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (Kingdom of Great Britain) หรือ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (United Kingdom of Great Britain) เป็นรัฐในยุโรปตะวันตก ดำรงอยู่ในช่วงค.ศ.

ดู สหรัฐและราชอาณาจักรบริเตนใหญ่

ราชอาณาจักรฮาวาย

ราชอาณาจักรฮาวาย (Kingdom of Hawaii) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนหมู่เกาะฮาวาย ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี..

ดู สหรัฐและราชอาณาจักรฮาวาย

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ดู สหรัฐและราชนาวี

รายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการส่งออก

รายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการส่งออก เป็นการจัดอันดับมูลค่าการส่งออกของแต่ละประเทศในการส่งออกสินค้าสู่ตลาดโลก.

ดู สหรัฐและรายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการส่งออก

รายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการนำเข้า

รายชื่อประเทศเรียงตามอำนาจในการซื้อ เป็นการจัดอันดับประเทศตามมูลค่าในการนำเข้า เป็นตัวชี้วัดว่า ประเทศนั้น ๆ มีกำลังซื้อเพียงใด ตารางด้านล่างเป็นข้อมูลจาก The World Factbook ของ CIA.

ดู สหรัฐและรายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการนำเข้า

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร

แผนที่ประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประมาณการเมื่อปี 2010 นี่คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร ประกอบด้วยรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษตามมาตรฐาน ISO 3166-1 ดินแดนซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐเอกราชโดยแบ่งแยกมิได้จะถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐเอกราชด้วยเช่นกัน แต่ไม่รวมไปถึงองค์กรระหว่างประเทศ อย่างเช่น สหภาพยุโรป ซึ่งมิได้มีสถานะเป็นรัฐเอกราชและเขตปกครองพิเศษซึ่งไม่มีประชากรอยู่อาศัยอย่างถาวร อย่างเช่น การอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือแอนตาร์กติกา ประมาณการประชากรทั่วโลกคิดเป็น คน ตัวเลขซึ่งใช้ในรายชื่อดังกล่าวตั้งอยู่บนประมาณการล่าสุดของสำนักงานสถิติแห่งชาตินั้น ๆ ที่สามารถยึดถือเอาได้ แต่ถ้าหากไม่มีสถิติที่สามารถถือเอาได้ ตัวเลขจะนำมาจากประมาณการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ดู สหรัฐและรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร

รายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ

รายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น แอดัมส์ เป็นรองประธานาธิบดีคนแรกในสมัยประธานาธิบดีจอร์จ วอชิงตัน และรองประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ ไมก์ เพนซ์ ในสมัยประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ มีรองประธานาธิบดีจากพรรคริพับลิกัน 20 คน จากพรรคเดโมแครต 18 คน พรรคเดโมแครติก-ริพับลิกัน 6 คน พรรควิก 2 คน พรรคเฟเดอรัลลิสต์ 1 คน และตำแหน่งว่างอีก 18 คน.

ดู สหรัฐและรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ทำเนียบขาวเป็นสถานที่ทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นตำแหน่งประมุขในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าของทุกสาขาของรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ โดยมีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เขียนโดยสภาคองเกรสมาตราที่ 2 ของรัฐธรรมนูญนั้นบัญญัติว่า ประธานาธิบดีต้องเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังทหาร และกระจายอำนาจที่เป็นของประธานาธิบดีออกไป รวมไปถึงอำนาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมาย ที่ผ่านมาจากสภาคองเกรส นอกจากนั้น ประธานาธิบดียังมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นที่ปรึกษาและอำนาจในการลดโทษหรือให้รอลงอาญาได้ ท้ายที่สุดแล้ว หากประธานาธิบดีได้รับคำแนะนำและการยอมรับจากวุฒิสภา แล้วจะมีอำนาจในการทำสนธิสัญญา, แต่งตั้งเอกอัครราชทูตและศาลตัดสินของประเทศ รวมไปถึงศาลสูงสุดด้วย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 กำหนดให้สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้ไม่เกินสองสมัย รายนามนี้รวมเฉพาะบุคคลที่ได้สาบานตนเป็นประธานาธิบดีตามการลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี..

ดู สหรัฐและรายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ราล์ฟ วอลโด เอเมอร์สัน

ราล์ฟ วอลโด เอเมอร์สัน (Ralph Waldo Emerson, พ.ศ. 2346-2425) กวีและนักเขียนบทความ เกิดที่เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและเริ่มชีวิตด้วยการเป็นครู ต่อมาเมื่อ..

ดู สหรัฐและราล์ฟ วอลโด เอเมอร์สัน

รางวัลพูลิตเซอร์

รางวัลพูลิตเซอร์ (Pulitzer Prizes) เป็นรางวัลของสหรัฐอเมริกา ตั้งขึ้นเพื่อมอบแก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลง บริหารจัดการโดยมหาวิทยาลัยโคลัมเบียในนครนิวยอร์ก รางวัลพูลิตเซอร์จัดมอบเป็นรายปีแบ่งเป็น 21 ประเภท ในแต่ละประเภทผู้ได้รับรางวัลจะได้รับกิตติบัตรและเงินรางวัล 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ผู้รับรางวัลการหนังสือพิมพ์ในสาขาการบริการสาธารณะจะได้รับเหรียญทองซึ่งมักตกแก่หนังสือพิมพ์มาโดยตลอด แม้จะมีชื่อบุคคลได้รับการกล่าวยกย่องไว้ด้วย รางวัลพูลิตเซอร์ ก่อตั้งโดยโจเซฟ พูลิตเซอร์ นักหนังสือพิมพ์และผู้พิมพ์โฆษณาชาวฮังการี-อเมริกัน ซึ่งได้มอบเงินจำนวน 2 ล้านเหรียญไว้ในพินัยกรรมแก่มหาวิทยาลัยโคลัมเบียหลังการเสียชีวิตเมื่อ พ.ศ.

ดู สหรัฐและรางวัลพูลิตเซอร์

รางวัลลูกโลกทองคำ

รางวัลลูกโลกทองคำ รางวัลลูกโลกทองคำ (Golden Globe Award) เป็นรายการแจกรางวัลประจำปีที่มอบให้กับภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์เริ่มมาต้งแต่ปี 1944 จัดโดย Hollywood Foreign Press Association (HFPA) รางวัลลูกโลกทองคำถูกจัดอันดับว่ามีผู้ชมมากที่สุดอันดับ 3 สำหรับรายการแจกรางวัล ตามหลังรางวัลออสการ์และรางวัลแกรมมี่ การจัดจะจัดช่วงต้นปี โดยยึดผลจากการโหวดจากนักข่าวและสื่อมวลชนในสหรัฐอเมริกา ผู้มีสิทธิเข้าชิงจะคัดเลือกในช่วงหลังวันที่ 1 ตุลาคม ซึ่งแตกต่างจากรางวัลออสการ์ที่ใช้เกณฑ์วันที่ 1 มกราคม และที่แตกต่างคือ เป็นรางวัลที่ไม่มีพิธีกรหลักแต่จะมีผู้เสนอรางวัล และผู้แนะนำรางวัลต่าง.

ดู สหรัฐและรางวัลลูกโลกทองคำ

รางวัลออสการ์

รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ดู สหรัฐและรางวัลออสการ์

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู สหรัฐและรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ดู สหรัฐและรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

ร็อกแอนด์โรล

อลวิส เพรสลีย์ นักร้องร็อกแอนด์โรลที่มีอิทธิพลที่สุดคนนึงในยุคนั้น ร็อกแอนด์โรล (Rock and roll หรือ rock 'n' roll) คือแนวเพลงประเภทหนึ่งที่ได้พัฒนาในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ช่วงปลายยุค 40s จนมาได้รับความนิยมในต้นยุค 50s และได้แพร่ขยายความนิยมไปทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบันเราจะเรียกกันสั้นๆว่า "ร็อก" ส่วนเรื่องจังหวะจะเป็นจังหวะ บูกี้ วูกี้ บลูส์ โดยจะทำให้เด๋นโดยจังหวะแบ็ค บีท (Back Beat) ซึ่งต่อมาจะใช้กลองสแนร์ ดนตรีร็อกแอนด์โรลช่วงแรกจะเล่นโดยกีตาร์ไฟฟ้า หนึ่งหรือสองตัว (1 ลีด,1 ริทึม),กีตาร์เบส (หรือดับเบิ้ลเบส),ชุดกลอง ส่วนคีย์บอร์ดจะเป็นส่วนเสริม ร็อกแอนด์โรลในช่วงต้นยุค 50s มักจะใช้แซกโซโฟนนำดนตรี ต่อมาจึงเปลี่ยนมาเป็นกีตาร์ช่วงกลางยุค 50s เปียโนก็ถูกใช้เป็นส่วนสำคัญในดนตรีร็อกแอนด์โรลช่วงกลางยุค 40s ความได้รับความนิยมในดนตรีร็อกแอนด์โรลเป็นอย่างมากได้แพร่กระจายสู่สังคม นอกจากทางด้านดนตรีแล้ว ยังมีผลต่อแฟชั่น ไลฟ์สไตล์ ภาษา ศิลปินที่มีชื่อเสียงอย่างมากคือ เอลวิส เพรสลีย์ ที่สร้างภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ในรูปแบบของร็อกแอนด์โรล ในปี..

ดู สหรัฐและร็อกแอนด์โรล

ลอสแอนเจลิส

ลอสแอนเจลิส (Los Angeles) หรือที่รู้จักในชื่อ แอลเอ (L.A.) เป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากที่สุดอันดับ 2 ในสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในศูนย์กลาง ทางด้าน เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการบันเทิง ลอสแอนเจลิสตั้งอยู่ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และเริ่มตั้งเป็นเมืองเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.

ดู สหรัฐและลอสแอนเจลิส

ลอสแอนเจลิสไทมส์

ลอสแอนเจลิสไทมส์ (Los Angeles Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ตีพิมพ์ในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ตั้งแต่ปี..

ดู สหรัฐและลอสแอนเจลิสไทมส์

ลักเซมเบิร์ก

ลักเซมเบิร์ก (Luxembourg) อาจหมายถึง.

ดู สหรัฐและลักเซมเบิร์ก

ลัทธิฟาสซิสต์

ัญลักษณ์ลัทธิฟาสซิสต์ ลัทธิฟาสซิสต์ (Fascism) เป็นชาติ-อำนาจนิยมมูลวิวัติรูปแบบหนึ่งTurner, Henry Ashby, Reappraisals of Fascism.

ดู สหรัฐและลัทธิฟาสซิสต์

ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม

ตรกรรมสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรมของฟรานซ์ ไคลน์ ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม (abstract expressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 20 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเริ่มต้นจากเหตุการณ์ระส่ำระสายก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้นำไปสู่การอพยพลี้ภัยของศิลปินหนุ่มสาวจากยุโรปไปยังสหรัฐอเมริกา ในไม่ช้าศิลปินกลุ่มนี้ได้พิสูจน์ให้เห็นว่าพวกเขาเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนงานศิลปะในสหรัฐอเมริกาให้เคลื่อนที่ไปอย่างรวดเร็ว ศิลปินที่ก่อกระแสงานศิลปะที่เรียกกันว่าลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรมด้วยความที่กระแสศิลปะนี้เกิดในนิวยอร์ก ศิลปินกลุ่มดังกล่าวจึงได้รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า "สกุลนิวยอร์ก" (New York School) วลี "abstract expressionism" นำมาใช้เป็นครั้งแรกในประเทศเยอรมนีในปี..

ดู สหรัฐและลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม

ลัทธิอิงสามัญชน

ประชานิยม (populism) นิยามว่าเป็นอุดมการณ์ หรือที่พบได้น้อยกว่าว่าเป็น ปรัชญการเมือง, p. 3 หรือเป็นวาทกรรมประเภทหนึ่ง นั่นคือ แนวคิดทางสังคมการเมืองซึ่งเปรียบ "ประชาชน" กับ "อภิชน" และกระตุ้นการเปลี่ยนแปลงระบบสังคมและการเมือง นอกจากนี้ ประชานิยมยังสามารถนิยามได้ว่าเป็นรูปแบบวาทศิลป์ซึ่งสมาชิกความเคลื่อนไหวภาคการเมืองหรือสังคมหลายคนใช้ พจนานุกรมเคมบริดจ์นิยามว่าเป็น "แนวคิดและกิจกรรมทางการเมืองอันมีเจตนาเพื่อเป็นตัวแทนของความต้องการและความปรารถนาทั่วไปของประชาชน" ประชานิยมสามารถเข้าใจได้ว่าเป็นวาทกรรมการเมืองซึ่งดึงดูดใจประชากรส่วนใหญ่ โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างของชนชั้นและการถือพวกทางการเมือง ประชานิยมนั้นตรงกันข้ามกับรัฐนิยม ซึ่งถือว่านักการเมืองอาชีพเพียงจำนวนหนึ่งมีความรู้ดีกว่าประชาชนและการตัดสินใจของรัฐในนามของพวกนั้น อย่างไรก็ตาม มีการอธิบายว่าผู้นิยมประชานิยมนั้นค้ำจุนรัฐบาลอำนาจนิยม อันเกิดจากกระบวนการปลุกระดมทางการเมืองซึ่งผู้นำจะปราศรัยแก่มวลชนโดยปราศจากการประนีประนอมของพรรคหรือสถาบันใ.

ดู สหรัฐและลัทธิอิงสามัญชน

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ดู สหรัฐและลัทธิขงจื๊อ

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู สหรัฐและลัทธิคอมมิวนิสต์

ลัทธิคาลวิน

ลัทธิคาลวิน (Calvinism) ขนบปฏิรูป (Reformed tradition) หรือ เทววิทยาปฏิรูป เป็นเทววิทยาศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ที่ถือแนวคำสอนและการปฏิบัติตามการตีความของฌ็อง กาลแว็ง และนักเทววิทยาอื่น ๆ ช่วงการปฏิรูปศาสนา ลัทธิคาลวินแตกหักกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก จึงนับเป็นฝ่ายโปรเตสแตนต์ แต่ก็ต่างจากโปรเตสแตนต์สายอื่น ๆ เช่น ลูเทอแรน ในประเด็นต่าง ๆ เช่น พระเยซูในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ หลักบังคับในการนมัสการ การบังคับใช้กฎของพระเจ้ากับคริสตชน การเรียกเทววิทยาสายนี้ว่า "ลัทธิคาลวิน" ค่อนข้างคลาดเคลื่อน เพราะในความเป็นจริง เป็นเทววิทยาที่มีแนวคิดหลากหลาย ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับฌ็อง กาลแว็งผู้ก่อตั้งเพียงคนเดียว นักเทววิทยากลุ่มนี้ถูกฝ่ายลูเทอแรนเรียกว่า "ลัทธิคาลวิน" แต่ในภายในสายมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป มากกว่า นับแต่มีการโต้แย้งอาร์มิเนียน ฝ่ายปฏิรูปก็แบ่งออกเป็นสองสาย คือ สายคาลวิน และ สายอาร์มิเนียน แต่ปัจจุบันมักใช้คำว่า คณะปฏิรูป ในเชิงไวพจน์กับลัทธิคาลวินมากกว่า นักเทววิทยาสายปฏิรูปที่มีบทบาทสำคัญในยุคต้น ๆ ได้แก่ ฌ็อง กาลแว็ง มาร์ทิน บูเคอร์ ไฮน์ริช บุลลิงเงอร์ และปีเอโตร มาร์ตีเร แวร์มิกลี จุดเด่นของลัทธิคาลวินมีอยู่ 5 ประเด็น ที่เป็นที่รู้จักที่สุดคือความเชื่อเรื่องเทวลิขิตและมนุษย์เสื่อมทรามโดยสิ้นเชิง ประเด็น 5 ข้อของลัทธิคาลวิน (5 Points of Calvinism; TULIP) ได้แก.

ดู สหรัฐและลัทธิคาลวิน

ลัทธิเต๋า

ัญลักษณ์ หยิน-หยาง ลัทธิเต๋า หรือ ศาสนาเต๋า (道教 Dàojiao; Taoism) เป็นปรัชญาและศาสนาที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน เน้นการใช้ชีวิตกลมกลืนกับเต๋า ซึ่งเป็นแนวคิดหลักในสำนักปรัชญาจีนส่วนใหญ่ แต่ในศาสนาเต๋า เต๋าหมายถึงต้นกำเนิด แบบแผน และสารัตถะของสรรพสิ่ง ไม่เน้นเรื่องพิธีกรรมซับซ้อนและระเบียบสังคมอย่างลัทธิขงจื๊อ แม้แต่ละนิกายมีคำสอนด้านจริยธรรมแตกต่างกัน แต่โดยทั่วไปเน้นหลักการเดียวกันคือ "อู๋เหวย์" ความเป็นธรรมชาติ ความเรียบง่าย ศาสนาเต๋ากำเนิดขึ้นราวศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสต์ศักราช โดยรับแนวคิดทางจักรวาลวิทยาจากสำนักยินหยาง และแนวปฏิบัติตนให้สอดคล้องกับวัฏจักรของธรรมชาติตามคัมภีร์อี้จิง ต่อมาใช้เต้าเต๋อจิงของเล่าจื๊อและคัมภีร์จวงจื๊อเป็นคัมภีร์หลักประจำศาสนา ถึงสมัยราชวงศ์ฮั่น ลัทธิเต๋าในจ๊กก๊กเริ่มมีองค์กรและพิธีกรรมเป็นระบบ จนถึงปัจจุบันศาสนาเต๋าแบ่งเป็น 2 นิกายหลักคือ สำนักฉวนเจินและสำนักเจิ้งอี หลังสมัยของเล่าจื๊อและจวงจื๊อ มีการจัดสารบบวรรณกรรมศาสนาเต๋าต่าง ๆ และรวมทุกศาสตร์ทุกแขนงที่เกี่ยวกับเต๋าทั้งหมดเข้าไว้ด้วยกัน เช่น พงศาวดาร ประวัติการสร้างศาสนา ตำรายาสมุนไพร ประวัติเทพเซียน องค์การ เพลงสรรเสริญ คู่มือการทำพิธีกรรมทางศาสนา ตำราการทำฮู้(ยันต์) ตำราการทำนายดวงชะตา(อี้จิง) หลักธรรมคำสอนของเล่าจื๊อ,จวงจื๊อ,เลี่ยจื๊อ,และปรมาจารย์ในประวัติศาสตร์ทุกท่านที่ศึกษาเต๋า(ซึ่งบางท่านอาจเกิดก่อนเล่าจื๊อ) บทสวดศาสนา และอื่นๆอีกมากมายเข้าไว้ด้วยกัน จนได้เป็นคัมภีร์เต้าจ้างและพิมพ์เผยแพร่ตามรับสั่งของจักรพรรดิจีน และเป็นศาสนาประจำชาติจีนมาตลอดจนหลังคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงไม่ได้อยู่ในอุปถัมภ์ของราชสำนัก ปัจจุบัน ศาสนาเต๋าเป็นหนึ่งในห้าศาสนาที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในประเทศจีนและประเทศไต้หวัน แม้ศาสนานี้จะไม่แพร่หลายนอกประเทศจีนนัก แต่ก็พบว่ามีศาสนิกชนจำนวนหนึ่งในฮ่องกง มาเก๊า และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ดู สหรัฐและลัทธิเต๋า

วอชิงตัน ดี.ซี.

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. (Washington, D.C) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตปกครองพิเศษโคลอมเบีย (District of Columbia) มักเรียกทั่วไปว่า กรุงวอชิงตัน (Washington) หรือ ดี.ซี (D.C.) เป็นเมืองหลวงของสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา โดยชื่อ วอชิงตัน มาจากชื่อของจอร์จ วอชิงตัน ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรก และบิดาผู้ก่อตั้งประเทศคนหนึ่ง วอชิงตันเป็นนครหลักนครหนึ่งของเขตมหานครวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area) โดยมีประชากรที่อาศัยอยู่ในวอชิงตันจำนวนประมาณ 6,131,977 คน โดยวอชิงตันได้รับฉายาว่าเป็นเมืองหลวงทางการเมืองของโลก เนื่องจากเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลางสหรัฐและสถาบันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศจำนวนมากเช่น ธนาคารโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น กรุงวอชิงตันเป็นนครที่นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมมากที่สุดนครหนึ่งในโลก โดยในแต่ละปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมวอชิงตัน ปีละประมาณ 20 ล้านคน การลงนามรัฐบัญญัติที่ตั้งในสหรัฐ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ดู สหรัฐและวอชิงตัน ดี.ซี.

วอลต์ ดิสนีย์

''Newman Laugh-O-Gram'' (1921) วอลเตอร์ อีเลียส ดิสนีย์ (Walter Elias Disney) (5 ธันวาคม 2444 - 15 ธันวาคม 2509, ค.ศ. 1901-1966) เป็นผู้สร้างผลงานการ์ตูนที่แพร่หลาย และประสบความสำเร็จมากที่สุดของโลกคนหนึ่ง เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทวอลท์ ดิสนีย์ และสร้างภาพยนตร์การ์ตูนสีเป็นคนแรก เริ่มทำการ์ตูน มิกกี้เม้าส์ (Mickey Mouse) โดนัลด์ดั๊ก (Donald Duck) และภาพยนตร์เรื่องยาว เช่น สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs), แฟนตาเซีย (Fantasia), พินอคคิโอ (Pinocchio) และ แบมบี้ (Bambi) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หนังการ์ตูนต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการสร้างจำนวนมาก ดิสนีย์จึงเริ่มทำภาพยนตร์เกี่ยวกับการผจญภัยที่เป็นจริง เช่น เดอะ ลิวิง เดสเสิร์ท (The Living Desert) นอกจากนี้ยังได้สร้างสวนสนุกสองแห่ง และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 59 รางวัล โดยได้รับรางวัลออสการ์ถึง 26 รางวัล นับเป็นบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลออสการ์มากที่สุดในโลก 100px.

ดู สหรัฐและวอลต์ ดิสนีย์

วอลเลย์บอล

วอลเลย์บอล วอลเลย์บอล (volleyball) เป็นกีฬาที่แข่งขันกันระหว่าง 2 ทีม ทีมละ 6 คน รวมตัวรับอิสระ 1 คน โดยแบ่งแดนจากกันด้วยตาข่ายสูง แข่งทำคะแนนจากลูกบอลที่ตกในเขตแดนของฝ่ายตรงข้าม.

ดู สหรัฐและวอลเลย์บอล

วอสตอค 1

วอสตอค 1 (Vostok 1) เป็นภารกิจอวกาศครั้งแรกในโครงการวอสตอค และเป็นครั้งแรกของการบินอวกาศที่มีมนุษย์ขึ้นไปในประวัติศาสตร์ วอสตอค 3เคเอถูกส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ.

ดู สหรัฐและวอสตอค 1

วันขอบคุณพระเจ้า

วาดของ ประเพณีขอบคุณพระเจ้า วันขอบคุณพระเจ้า (Thanksgiving) เป็นวันฉลองการเก็บเกี่ยวที่เดิมเป็นการแสดงความขอบคุณต่อพระเจ้าเมื่อสิ้นฤดูเก็บเกี่ยว วันขอบคุณพระเจ้านี้เดิมมาจากเทศกาลที่เกี่ยวกับคริสต์ศาสนาแต่ในปัจจุบันวันขอบคุณพระเจ้าเป็นเพียงวันหยุดที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนาที่ฉลองกันในสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา ในสหรัฐอเมริกา วันขอบคุณพระเจ้าจะตรงกับวันพฤหัสบดีที่สี่ของเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ในขณะที่ในประเทศแคนาดาจะตรงกับวันจันทร์ที่สองของเดือนตุลาคม ประเพณีนี้เกิดขึ้นภายหลังจากการอพยพของชาวยุโรปมาที่ทวีปอเมริกาเหนือ ถึงแม้ว่าประเพณีนี้เป็นประเพณีหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับศาสนาคริสต์ที่ฉลองกันโดยบุคคลในทวีปอเมริกาทั้งที่เป็นคริสต์ศาสนิกชนและอื่นๆ แต่เป็นการฉลองที่มีที่มาที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของการตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริกาเหนือ ฉะนั้นเทศกาลนี้จึงไม่มีการฉลองกันในทวีปยุโรปหรือประเทศที่นับถือศาสนาคริสต์อื่นๆ ในวันขอบคุณพระเจ้านี้ชาวอเมริกันจะใช้เวลาอยู่ร่วมกับครอบครัวและรับประทานอาหารมื้อใหญ่ด้วยกัน โดยอาหารที่นิยมรับประทานจนเป็นประเพณีคือไก่งวง และนอกจากนี้ในนครนิวยอร์กจะมีขบวนพาเหรดที่มีชื่อเสียงจัดโดยห้างสรรพสินค้า เมซีส์ ในชื่อ เมซีส์เดย์พาเหรด (Macy's Day Parade) ภาพ:Macys-parade-1979.jpg|บอลลูนในเมซีส์เดย์พาเหรด ภาพ:Thanksgiving Turkey.jpg|ไก่งวงอาหารประจำวันขอบคุณพระเจ้า ภาพ:Thanksgiving oven.jpg|อาหารที่นิยมรับประทานในวันขอบคุณพระเจ้า ฟักทอง.

ดู สหรัฐและวันขอบคุณพระเจ้า

วันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์

วันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (One World Trade Center) หรือชื่อเดิมคือ ฟรีดอมทาวเวอร์ เป็นชื่อสิ่งปลูกสร้างสองหลังในโลว์เออร์แมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก มักหมายถึงสิ่งปลูกสร้างหลักในกลุ่มเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (World Trade Center complex) ใหม่ และยังเป็นสิ่งปลูกสร้างสูงสุดในซีกโลกตะวันตก วันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ใช้ชื่อเดียวกับหอคอยแฝดเหนือของเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์เดิมซึ่งถูกทำลายในเหตุวินาศกรรม 11 กันยายนและตั้งอยู่ ณ มุมตะวันตกเฉียงเหนือของที่ตั้งเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 16 เอเคอร์ บนที่ตั้งของ 6 เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์เดิม อาคารนี้ติดกับถนนเวสต์ทางตะวันตก ติดกับถนนวีซีทางเหนือ ติดกับถนนฟุลทอนทางใต้ และถนนวอชิงตันทางตะวันออก การก่อสร้างเริ่มเมื่อวันที่ 27 เมษายน..

ดู สหรัฐและวันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์

วิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2550–2551

วิกฤตการณ์การเงิน..

ดู สหรัฐและวิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2550–2551

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ดู สหรัฐและวิกิพีเดีย

วิมานลอย (ภาพยนตร์)

วิมานลอย (Gone with the Wind) เป็นภาพยนตร์อเมริกันแนวดราม่าโรแมนซ์ ดัดแปลงจากบทประพันธ์ในปี..

ดู สหรัฐและวิมานลอย (ภาพยนตร์)

วิลเลิม เดอ โกนิง

วิลเลิม เดอ โกนิง (Willem de Kooning; 24 เมษายน ค.ศ. 1904 - 19 มีนาคม ค.ศ. 1997) ศิลปินชาวอเมริกันเชื้อสายดัตช์ เกิดที่เมืองรอตเทอร์ดาม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ย้ายมาอยู่สหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ดู สหรัฐและวิลเลิม เดอ โกนิง

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์

วิลเลียม ฟอล์คเนอร์ (William Faulkner) (25 กันยายน ค.ศ. 1897 - 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1962) วิลเลียม ฟอล์คเนอร์เป็นนักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้นคนสำคัญชาวอเมริกัน ฟอล์คเนอร์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี..

ดู สหรัฐและวิลเลียม ฟอล์คเนอร์

วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

หตุวินาศกรรม 11 กันยายน..

ดู สหรัฐและวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544

วุฒิสภาสหรัฐ

วุฒิสภาสหรัฐ (United States Senate) เป็นสภาสูงของรัฐสภาสหรัฐ โดยเป็นสภานิติบัญญัติแห่งสหรัฐร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐซึ่งเป็นสภาล่าง องค์ประกอบและอำนาจของวุฒิสภาตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ มาตรา 1 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกวุฒิสภาซึ่งเป็นผู้แทนจากแต่ละรัฐ โดยแต่ละรัฐมีผู้แทนเท่ากันรัฐละสองคน ไม่ว่ามีประชากรมากน้อยเพียงใด โดยมีวาระดำรงตำแหน่งสลับฟันปลา (staggered term) วาระละ 6 ปี ปัจจุบันในสหภาพมี 50 รัฐ ฉะนั้นจึงมีสมาชิกวุฒิสภา 100 คน ตั้งแต่ปี 1789 ถึง 1913 สมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งของสภานิติบัญญัติของรัฐที่ตนเป็นผู้แทน หลังการให้สัตยาบันการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญครั้งที่ 17 ในปี 1913 ปัจจุบัน สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งของประชาชน ห้องประชุมวุฒิสภาตั้งอยู่ปีกเหนือของอาคารรัฐสภาสหรัฐในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและวุฒิสภาสหรัฐ

วูดโรว์ วิลสัน

ทมัส วูดโรว์ วิลสัน (Thomas Woodrow Wilson) เป็นนักการเมืองและนักวิชาการอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา ดำรงตำแหน่งเป็นเวลาสองสมัย ระหว่าง..

ดู สหรัฐและวูดโรว์ วิลสัน

ศาลสูงสุดสหรัฐ

ลสูงสุดสหรัฐ (Supreme Court of the United States: SCOTUS) เป็นศาลกลางชั้นสูงสุดในสหรัฐอเมริกา จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญสหรัฐ มาตรา 3 ใน..

ดู สหรัฐและศาลสูงสุดสหรัฐ

ศาสนาบาไฮ

อาคารของธรรมสภายุติธรรมสากลบาไฮ ที่ประเทศอิสราเอล ศาสนาบาไฮราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 316 หรือลัทธิบาไฮ (الدّين البهائي; Bahá'í Faith) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่แยกตัวออกมาจากลัทธิบาบีในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและศาสนาบาไฮ

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู สหรัฐและศาสนาพุทธ

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ดู สหรัฐและศาสนายูดาห์

ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

ดู สหรัฐและศาสนาอิสลาม

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ดู สหรัฐและศาสนาฮินดู

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู สหรัฐและศาสนาคริสต์

ศาสนาซิกข์

ัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์ที่ใช้ในปัจจุบัน ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิกข์ (ਸਿੱਖੀ, สัท.:, Sikhism) เป็นศาสนาที่ถือกำเนิดขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในตอนเหนือของอินเดีย จากคำสอนของ นานัก และคุรุผู้สืบทอดอีก 9 องค์ หลักปรัชญาของศาสนาซิกข์และการปฏิบัติตามหลักศาสนา นิยมเรียกว่า "คุรมัต" (ความหมายโดยพยัญชนะ หมายถึง "คำสอนของคุรุ" หรือ "ธรรมของซิกข์") คำว่า "ซิกข์" หรือ "สิกข์" มาจากภาษาสันสกฤตว่า "ศิษฺย" หมายถึง ศิษย์ ผู้เรียน หรือ "ศิกฺษ" หมายถึง การเรียน และภาษาบาลีว่า "สิกฺข" หรือ "สิกฺขา" หมายถึง การศึกษา ผู้ศึกษา หรือผู้ใฝ่เรียนรู้ ศาสนาซิกข์ เป็นศาสนาแบบเอกเทวนิยม เนื่องจากหลักความเชื่อของศาสนาซิกข์ คือ ศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว คือ "วาหคุรู" ปฏิบัติสมาธิในนามของพระเจ้า และโองการของพระเจ้า ศาสนิกชาวซิกข์จะนับถือหลักคำสอนของคุรุซิกข์ทั้ง 10 หรือผู้นำผู้รู้แจ้ง และคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ ที่เรียกว่า "คุรุ ครันถ์ สาหิพ" ซึ่งเป็นบทคัดสรรจากผู้เขียนมากมาย จากภูมิหลังทางศาสนา และเศรษฐกิจสังคมที่หลากหลาย คัมภีร์ของศาสนาเป็นบัญญัติของคุรุ โคพินท์ สิงห์ คุรุองค์สุดท้ายแห่งขาลสา ปันถ (Khalsa Panth) การสอนและหลักปฏิบัติของศาสนาซิกข์มีความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมของภูมิภาคปัญจาบในลักษณะต่างๆ กัน ชาวซิกข์ทุกคนต้องทำพิธี "ปาหุล" คือพิธีล้างบาป เมื่อเสร็จพิธีแล้วก็จะรับเอา "กะ" คือสิ่งที่เริ่มต้นด้วยอักษร "ก" 5 ประการ ดังต่อไปนี้.

ดู สหรัฐและศาสนาซิกข์

ศาสนาเชน

ระมหาวีระ ศาสนาเชน, ไชนะ หรือ ชินะ (แปลว่า ผู้ชนะ) (Jainism) เป็นศาสนาแบบอินเดีย อนุมานกาลราวยุคเดียวกับสมัยพุทธกาล เป็นหนึ่งในลัทธิสำคัญทั้งหก ที่เกิดร่วมสมัยกับพระโคตมพุทธเจ้า ศาสนาเชนเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยมเช่นเดียวกับศาสนาพุทธ คือไม่นับถือพระเป็นเจ้า ถือหลักการไม่เบียดเบียน หรืออหิงสาอย่างเอกอุ ถือว่าการบำเพ็ญตนให้ลำบากคืออัตตกิลมถานุโยค เป็นทางนำไปสู่การบรรลุธรรมที่ ผู้ที่ฝึกฝนดีแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหวทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดทางกาย วาจา ใจ มีศาสดาคือพระมหาวีระ หรือ นิครนถนาฏบุตร หรือ องค์ตีรถังกร(ผู้สร้างทางข้ามพ้นไป)โดยศาสนิกเชนถือว่าเป็นศาสดาองค์ที่ 24 ของศาสนาเชน จึงถือว่าศาสนาเชนเก่าแก่กว่าศาสนาพุทธ ศาสนาเชนเกิดขึ้นในอนุทวีปอินเดียเมื่อประมาณศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ดู สหรัฐและศาสนาเชน

ศิลปะประชานิยม

หนังป๊อปอาร์ต หรือ ศิลปะประชานิยม (pop art) เป็นขบวนการหนึ่งของศิลปะที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ประมาณ..

ดู สหรัฐและศิลปะประชานิยม

สกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสัน

ทอมัส โคล (ค.ศ. 1801-ค.ศ. 1848) สกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสัน (Hudson River School) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริการากลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่ประกอบด้วยกลุ่มจิตรกรภูมิทัศน์ผู้มีแนวคิดที่มีอิทธิพลมาจากศิลปะจินตนิยม จิตรกรรมที่เป็นชื่อของกลุ่มจะเป็นภาพทิวทัศน์ต่างๆ ของลุ่มแม่น้ำฮัดสันและบริเวณใกล้เคียงรวมทั้งภูเขาแค็ทส์คิลล์, ภูเขาอาดิรอนดัค และ ภูเขาไวท์เมานเทน, นิวแฮมป์เชียร์ งานของศิลปินรุ่นต่อมาของกลุ่มนี้ขยายไปครอบคลุมสถานที่อื่นด้ว.

ดู สหรัฐและสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสัน

สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

ผู้แทนราษฎรสหรัฐ (United States House of Representatives) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสภาคู่ของรัฐสภาสหรัฐ คู่กับวุฒิสภา แต่ละรัฐในสหรัฐมีผู้แทนที่ได้รับเลือกจากจำนวนประชากรของแต่ละเขตที่แบ่งตามจำนวนประชากร จำนวนของผู้แทนราษฎรของแต่ละรัฐจึงขึ้นอยู่กับจำนวนประชากร รัฐแคลิฟอร์เนียที่มีประชากรมากที่สุดมีผู้แทนราษฎรทั้งหมด 53 คน สภาผู้แทนราษฎรสมัยปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 435 คน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคนมีตำแหน่งสองปี ประธานสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งของสมาชิก ระบบสภาคู่เป็นระบบที่ผู้ก่อตั้งสหรัฐ (Founding Fathers of the United States) สร้างขึ้นเพื่อให้มีสภาที่เป็นผู้แทนของประชาชนที่เป็นเสียงของประชาชนเพื่อให้เป็นการทำให้สมดุลกับวุฒิสภาที่เป็นผู้แทนของรัฐบาลจากแต่ละรัฐ สภาผู้แทนราษฎรมักจะเทียบได้กับสภาล่าง และวุฒิสภาเทียบได้กับสภาสูง แต่รัฐธรรมนูญของสหรัฐไม่ใช้คำดังกล่าว ทั้งสองสภามีหน้าที่ร่าง เสนอ พิจารณาและอนุมัติกฎหมาย จากการที่สมาชิกได้รับเลือกมาจากกลุ่มคนจำนวนน้อย (ราว 693,000 คนต่อคนใน ค.ศ.

ดู สหรัฐและสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ

สภานิติบัญญัติ

นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.

ดู สหรัฐและสภานิติบัญญัติ

สมาพันธรัฐอเมริกา

มาพันธรัฐอเมริกา (Confederate States of America; ย่อ: CSA) มักเรียกว่า สมาพันธรัฐ (Confederate States; ย่อ: CS) เป็นรัฐบาลแยกตัวออกซึ่งสถาปนาใน..

ดู สหรัฐและสมาพันธรัฐอเมริกา

สมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ

อ็นบีเอ (NBA) ย่อมาจาก National Basketball Association เป็นชื่อของลีกบาสเกตบอลอาชีพในอเมริกาเหนือ ซึ่งรวมประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา มีนักกีฬาบาสเก็ตบอลชั้นนำของโลกเล่นอยู่ในเอ็นบีเอนี้เป็นจำนวนมาก ทำให้มาตรฐานระดับการแข่งขันนั้นถือว่าอยู่ในระดับสูง สัญลักษณ์ประจำเอ็นบีเอทางด้านขวานั้น เป็นภาพเงาของ เจอร์รี เวสต์ (อดีตเคยเป็นผู้จัดการทั่วไปของทีมเลเกอร์ส และทีมเมมฟิส กริซลีส์) เอ็นบีเอ ก่อตั้งขึ้นที่นครนิวยอร์ก ในวันที่ 6 มิถุนายน..

ดู สหรัฐและสมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติ

สหพันธรัฐ

แผนที่ประเทศสหพันธรัฐอย่างเป็นทางการ รัฐเดี่ยว สหพันธรัฐ (federation) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า รัฐสหพันธ์ เป็นรัฐอธิปไตยประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะของสหภาพรัฐหรือภูมิภาคที่ปกครองตนเองบางส่วน ที่รวมเข้าด้วยกันโดยรัฐบาลกลาง หรือรัฐบาลสหพันธ์ ในสหพันธรัฐ สถานะการปกครองตนเองของรัฐองค์ประกอบนั้นตามแบบได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญและไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยการตัดสินใจฝ่ายเดียวของรัฐบาลกลาง ระบอบการปกครองหรือโครงสร้างตามรัฐธรรมนูญที่พบในสหพันธรัฐนั้นทราบกันในชื่อ ระบอบสหพันธรัฐ เป็นระบอบการปกครองที่ตรงข้ามกับรูปแบบรัฐอีกประเภทหนึ่ง คือ รัฐเดี่ยว ตัวอย่างสหพันธรัฐ เช่น ประเทศเยอรมนี ซึ่งประกอบด้วยสิบหกรัฐ (Länder) ที่รวมเข้ากันเป็นสหพันธ์ สหพันธรัฐนั้นอาจประกอบไปด้วยประชาชนที่หลากหลายทางเชื้อชาติ และมีพื้นที่กว้างใหญ่ (ดังเช่น ความหลากหลายอย่างที่สุดในอินเดีย) แม้สหพันธรัฐจะไม่จำเป็นต้องประกอบด้วยทั้งสองประการที่กล่าวมาก็ตาม สหพันธรัฐนั้นส่วนมากก่อตั้งขึ้นจากความตกลงแต่เดิมระหว่างรัฐอธิปไตยจำนวนหนึ่งโดยตั้งอยู่บนความกังวลหรือผลประโยชน์ร่วมกัน ความตกลงแรกเริ่มได้สร้างเสถียรภาพซึ่งเกื้อหนุนผลประโยชน์ร่วมกันข้ออื่น นำดินแดนที่แตกต่างกันสิ้นเชิงมาใกล้ชิดกัน และให้ดินแดนทั้งหมดมีหลักความเห็น (common ground) กว่าแต่ก่อน ในขณะเดียวกัน ความตกลงนี้ได้รับการรับรองและมีการจัดขบวนการเพื่อผสานรวมกันให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปัจจัยวัฒนธรรมร่วมเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เชื้อชาติหรือภาษา บางขั้นตอนในแบบนี้ถูกเร่งให้เร็วขึ้นหรือบีบอัด องค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ คือ องค์ประชุมกลุ่มประเทศสหพันธรัฐ (Forum of Federations) มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงออตตาวา รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีจุดประสงค์ในการแบ่งปันแนวคิดและแนวปฏิบัติในการจัดการระบบการปกครองแบบสหพันธ์ ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 9 ประเท.

ดู สหรัฐและสหพันธรัฐ

สหพันธ์สาธารณรัฐ

หพันธ์สาธารณรัฐเป็นสหพันธรัฐของรัฐที่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย การใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" ไม่คงเส้นคงวา ทว่า ณ ใจกลาง ความหมายตามอักษรของคำว่า "สาธารณรัฐ" เมื่อใช้อ้างอิงถึงระบอบการปกครองหมายถึง "รัฐซึ่งอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนหรือผู้แทนประชาชน มิใช่พระมหากษัตริย์หรือจักรพรรดิ; ประเทศที่ไม่มีพระมหากษัตริย์" ในสหพันธ์สาธารณรัฐ มีการแยกใช้อำนาจระหว่างรัฐบาลกลางและรัฐบาลของเขตการปกครองย่อยหนึ่ง ๆ แม้ว่าสหพันธ์สาธารณรัฐแต่ละแห่งจัดการการแยกใช้อำนาจนี้ต่างกัน แต่ปัญหาร่วมที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงและการป้องกันประเทศ และนโยบายการเงินปกติจัดการที่ระดับสหพันธรัฐ ขณะที่ปัญหาอย่างการบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานและนโยบายการศึกษาปกติจัดการที่ระดับภูมิภาคหรือท้องถิ่น ทว่า มีความเห็นแตกต่างกันว่าปัญหาใดควรเป็นอำนาจหน้าที่ของสหพันธรัฐ และเขตการปกครองปกติมีอำนาจอธิปไตยในบางปัญหาซึ่งรัฐบาลกลางไม่มีเขตอำนาจ ฉะนั้น สหพันธ์สาธารณรัฐจึงนิยามขัดต่อสาธารณรัฐรัฐเดี่ยว (unitary republic) ดี่ที่สุด ซึ่งรัฐบาลกลางมีอำนาจอธิปไตยเต็มเหนือทุกส่วนของชีวิตการเมือง ข้อแตกต่างทางการเมืองระหว่างสหพันธ์สาธารณรัฐและสหพันธรัฐอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหพันธ์ราชาธิปไตย (federal monarchies) ซึ่งมีระบบการปกครองแบบรัฐสภา ส่วนใหญ่เป็นประเด็นของรูปแบบทางกฎหมายมากกว่าสาระทางการเมือง เพราะสหพันธรัฐส่วนมากมีการปฏิบัติหรือโครงสร้างเป็นแบบประชาธิปไตยอยู่แล้ว ทว่า ในบางสหพันธ์ราชาธิปไตย เช่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ยึดหลักการอื่นนอกเหนือจากประชาธิปไต.

ดู สหรัฐและสหพันธ์สาธารณรัฐ

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ดู สหรัฐและสหภาพยุโรป

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ดู สหรัฐและสหราชอาณาจักร

สัจนิยม

ัจนิยม อาจจะหมายถึง.

ดู สหรัฐและสัจนิยม

สังคมนิยม

ังคมนิยม (อังกฤษ: Socialism) เป็นระบบสังคมและเศรษฐกิจซึ่งมีลักษณะคือ สังคมเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและการจัดการเศรษฐกิจแบบร่วมมือ ตลอดจนทฤษฎีและขบวนการทางการเมืองซึ่งมุ่งสถาปนาระบบดังกล่าว"The origins of socialism as a political movement lie in the Industrial Revolution." "สังคมเป็นเจ้าของ" อาจหมายถึง การประกอบการสหกรณ์ การเป็นเจ้าของร่วม รัฐเป็นเจ้าของ พลเมืองเป็นเจ้าของความเสมอภาค พลเมืองเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หรือที่กล่าวมารวมกัน มีความผันแปรของสังคมนิยมจำนวนมากและไม่มีนิยามใดครอบคลุมทั้งหมด ความผันแปรเหล่านี้แตกต่างกันในประเภทของการเป็นเจ้าของโดยสังคมที่ส่งเสริม ระดับที่พึ่งพาตลาดหรือการวางแผน วิธีการจัดระเบียบการจัดการภายในสถาบันการผลิต และบทบาทของรัฐในการสร้างสังคมนิยม ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมอาศัยลัทธิองค์การการผลิตเพื่อใช้ หมายความว่า การผลิตสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองอุปสงค์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็นของมนุษย์โดยตรง และระบุคุณค่าวัตถุตามคุณค่าการใช้ประโยชน์หรืออรรถประโยชน์ ซึ่งตรงข้ามกับการผลิตมาเพื่อสะสมทุนและเพื่อกำไร ในแนวคิดดั้งเดิมของเศรษฐกิจสังคมนิยม มีการประสานงาน การทำบัญชีและการประเมินค่าอย่างเดียวกันโดยปริมาณทางกายภาพร่วม (common physical magnitude) หรือโดยการวัดแรงงาน-เวลาแทนการคำนวณทางการเงิน มีสองข้อเสนอในการกระจายผลผลิต หนึ่ง ยึดตามหลักที่ว่าให้กระจายแก่แต่ละคนตามการเข้ามีส่วนร่วม และสอง ยึดตามหลักผลิตจากทุกคนตามความสามารถ ให้แก่ทุกคนตามความจำเป็น วิธีการจัดสรรและประเมินคุณค่าทรัพยากรที่แน่ชัดยังเป็นหัวข้อการถกเถียงในการถกเถียงการคำนวณสังคมนิยมที่กว้างกว.

ดู สหรัฐและสังคมนิยม

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ดู สหรัฐและสันนิบาตชาติ

สารานุกรมบริตานิกา

รานุกรมบริตานิกา (Encyclopædia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclopædia Britannica, Inc.

ดู สหรัฐและสารานุกรมบริตานิกา

สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์

หมู่เกาะมาร์แชลล์ (Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aelōn̄ in M̧ajeļ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ (Republic of the Marshall Islands; มาร์แชลล์: Aolepān Aorōkin M̧ajeļ) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศนาอูรูและประเทศคิริบาส ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศไมโครนีเซียและอยู่ทางใต้ของเกาะเวกของสหรัฐอเมริก.

ดู สหรัฐและสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์

สาธารณรัฐฮาวาย

รณรัฐฮาวาย เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของรัฐบาลสาธารณรัฐที่ปกครองฮาวายตั้งแต่ 4 กรกฎาคม..

ดู สหรัฐและสาธารณรัฐฮาวาย

สาธารณรัฐนิยม

สาธารณรัฐนิยม (ภาษาอังกฤษ: Republicanism) เป็นคตินิยมของการเป็นพลเมืองในรัฐที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ ซึ่งอำนาจอธิปไตยถือว่า เป็นอำนาจอธิปไตยของปวงชน (popular sovereignty) ประเทศบางประเทศเป็นสาธารณรัฐในแง่ที่ว่า รัฐเหล่านั้นไม่ได้มีระบอบการปกครองโดยกษัตริย์ แต่ว่าไม่ได้ยึดเอาอุดมคติของสาธารณรัฐนิยมเป็นฐาน คำว่า "สาธารณรัฐ" มีที่มาจากคำลาตินว่า res publica ซึ่งอ้างอิงถึงรูปแบบของการปกครองที่ถือกำเนิดขึ้นในราว ศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตศักราช หลังจากการขับไล่กษัตริย์ของกรุงโรม โดย ลูเชียส จูนิอัส บรูตัส และ คอลลาตินัส รูปแบบการปกครองนี้ล่มสลายลงในช่วงท้ายของ ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตศักราช โดยเปลี่ยนเป็นการปกครองแบบมีกษัตริย์ในเชิงรูปแบบ การปกครองแบบสาธารณรัฐถูกฟื้นฟูกลับมาอีกครั้ง ในสมัยการฟื้นฟูศิลปะวิทยาการฟลอเรนซ์ คตินิยมแบบสาธารณรัฐนิยมมีบทบาทอย่างมากในการปฏิวัติอเมริกา ส่วนในยุโรปแนวคิดนี้ได้เพิ่มอิทธิพลอย่างมากหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง หมวดหมู่:อุดมการณ์ทางการเมือง.

ดู สหรัฐและสาธารณรัฐนิยม

สาธารณรัฐเทกซัส

รณรัฐเทกซัส (Republic of Texas) คือรัฐเอกราชในทวีปอเมริกาเหนือที่ดำรงอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1836 ถึง 1846 โดยมีชายแดนติดอยู่กับสหรัฐอเมริกาและเม็กซิโก สาธารณรัฐเทกซัสสถาปนาตนเองเป็นสาธารณรัฐโดยแยกดินแดนออกมาจากเม็กซิโกในเหตุการณ์ปฏิวัติเทกซัส โดยอ้างสิทธิ์ในดินแดนที่มีขอบเขตครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของรัฐเทกซัส รวมไปถึงบางส่วนของรัฐนิวเม็กซิโก, โอคลาโฮมา, แคนซัส, โคโลราโด และไวโอมิงของสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน โดยยึดตามสนธิสัญญาวิลาสโกระหว่างสาธารณรัฐเทกซัสที่เพิ่งตั้งขึ้นมาใหม่กับเม็กซิโก พรมแดนทางตะวันออกกับสหรัฐอเมริกาถูกกำหนดโดยสนธิสัญญาแอดัมส์-โอนิสที่ทำขึ้นระหว่างสหรัฐอเมริกากับสเปนในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและสาธารณรัฐเทกซัส

สำนักวิจัยพิว

ำนักวิจัยพิว (Pew Research Center) เป็นหน่วยงานวิจัยไม่ฝักใฝ่ฝ่ายทางการเมืองที่สำคัญแห่งหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ที่สำรวจความคิดเห็นของสาธารณชน วิเคราะห์ข่าวสาร วิจัยทางด้านสังคมวิทยา ฟังความคิดเห็นของหลาย ๆ ฝ่าย และนำผลการค้นพบตีพิมพ์ผ่านทางเว็บไซต์ ประเด็นที่ให้ความสำคัญมักจะเกี่ยวข้องกับเรื่อง ศาสนา การเมืองสหรัฐอเมริกา สังคม การต่างประเทศ และสื่อ ทางสำนักอ้างว่าสื่อหลายแขนงมักจะอิงผลสำรวจของตน ทั้งนี้เมื่อค้นหาจากกูเกิล นิวส์ พบเจอคำว่า Pew Research Center กว่า 1600 รายการ และสำนักข่าวอย่าง BBC และ CNN ก็เขียนข่าวโดยอิงจากผลสำรวจของสำนักวิจัยเช่นเดียวกัน.

ดู สหรัฐและสำนักวิจัยพิว

สำนักงานสอบสวนกลาง

ำนักงานสอบสวนกลาง ย่อว่า เอฟบีไอ ชื่อเดิม สำนักงานสอบสวน ย่อว่า บีโอไอ (Bureau of Investigation: BOI) เป็นหน่วยงานด้านข่าวกรองและความมั่นคงภายในของสหรัฐ และเป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายในระดับกลางของสหรัฐ ปฏิบัติหน้าที่ภายในเขตอำนาจของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐ ทั้งเป็นสมาชิกของประชาคมข่าวกรองสหรัฐ รายงานตรงต่อทั้งอัยการสูงสุดสหรัฐและผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ อนึ่ง เอฟบีไอยังเป็นองค์การหลักของสหรัฐในการต่อต้านการก่อการร้าย การต่อต้านข่าวกรอง และการสืบสวนอาชญากรรม โดยมีเขตอำนาจเหนือการละเมิดกฎหมายในกลุ่มอาชญากรรมกลางกว่า 200 กลุ่ม แม้ว่าหน้าที่หลายอย่างของเอฟบีไอจะมีเอกลักษณ์เฉพาะ กิจกรรมของเอฟบีไอในการสนับสนุนงานด้านความมั่นคงแห่งชาตินั้นเทียบได้กับบทบาทของหน่วยงานเอ็มไอไฟฟ์ (MI5) ของบริเตน และเอฟเอสบี (FSB) ของรัสเซีย แต่ไม่เหมือนกับสำนักข่าวกรองกลาง (ซีไอเอ) เพราะซีไอเอไม่มีอำนาจบังคับใช้กฎหมาย และเน้นการรวบรวมข่าวกรองจากต่างประเทศ ขณะที่เอฟบีไอเป็นหน่วยงานภายในประเทศ โดยมีสำนักงานภาคสนาม (field office) 56 แห่งในนครหลักทั่วสหรัฐ ทั้งสำนักงานประจำ (resident office) อีก 400 แห่งในนครเล็กและท้องที่อื่นทั่วประเทศ ที่สำนักงานภาคสนาม เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสจะทำหน้าที่เป็นผู้แทนผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติไปพร้อมกันด้วย แม้จะเน้นเรื่องภายในประเทศ เอฟบีไอก็ยังมีเขตบริการระหว่างประเทศ (international footprint) ที่สำคัญอยู่หนึ่งเขต ทำหน้าที่บริหารสำนักงานนิติกรทูต (Legal Attache office) 60 แห่ง กับสำนักงานย่อย (sub-office) อีก 15 แห่ง ซึ่งอยู่ในสถานทูตและกงสุลสหรัฐทั่วโลก สำนักงานต่างแดนเหล่านี้มีขึ้นเพื่อประสานงานกับหน่วยงานราชการด้านความมั่นคงในต่างประเทศเป็นหลัก และโดยปรกติแล้วจะไม่ปฏิบัติการฝ่ายเดียวภายในประเทศที่ตั้งสำนักงาน อนึ่ง เอฟบีไอยังสามารถดำเนินกิจกรรมลับในต่างประเทศ ซึ่งก็ได้ปฏิบัติในบางครั้ง ในทำนองเดียวกับที่ซีไอเอมีหน้าที่จำกัดในประเทศ กิจกรรมดังกล่าวโดยทั่วไปแล้วต้องอาศัยความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐหลายหน่วยงาน เอฟบีไอก่อตั้งขึ้นใน..

ดู สหรัฐและสำนักงานสอบสวนกลาง

สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ

ำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection Agency -EPA) หรือ "อีพีเอ" เป็นหน่วยงานระดับประเทศ หรือระดับรัฐบาลกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่ดูแลปกป้องสุขภาพของมวลมนุษย์และปกป้องสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ซึ่งได้แก่อากาศ น้ำและแผ่นดิน EPA เริ่มปฏิบัติงานเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐ

สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ

อาคารสำนักงานใหญ่สหประชาชาติ อาคารสำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ก่อสร้างขึ้นบนที่ดินใกล้แม่น้ำอีสต์ในรัฐนิวยอร์ก นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อพ.ศ.

ดู สหรัฐและสำนักงานใหญ่สหประชาชาติ

สิบสามอาณานิคม

มอาณานิคม (Thirteen Colonies) เป็นอาณานิคมของอังกฤษฝั่งแอตแลนติกในทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมบริติชอเมริกา ก่อตั้งระหว่าง..

ดู สหรัฐและสิบสามอาณานิคม

สิทธิธรรมชาติและสิทธิทางกฎหมาย

สิทธิทางกฎหมาย (บางครั้งเรียกสิทธิพลเมือง) คือสิทธิที่ถ่ายทอดมาจากระบบการปกครองเฉพาะอย่าง และถูกกำหนดลงในบทบัญญัติบางรูปแบบ เช่น กฎหมาย จารีต หรือความเชื่อ ในขณะที่สิทธิธรรมชาติ (บางครั้งเรียก จริยสิทธิ์ หรือ สิทธิอันมิอาจเพิกถอนได้) เป็นสิทธิที่ไม่ได้เกิดขึ้นจากกฎหมาย จารีต หรือความเชื่อของสังคมหรือการปกครองใด สิทธิธรรมชาติจึงจำเป็นต้องเป็นเรื่องสากล ในขณะที่สิทธิทางกฎหมายนั้นสัมพันธ์กับการเมืองและวัฒนธรรม สิทธิธรรมชาติ เป็นสิทธิที่ไม่อาจแบ่งแยกหรือโอนให้กันได้ นักปรัชญาและนักรัฐศาสตร์บางส่วน แยกสิทธิทางกฎหมายและสิทธิธรรมชาติออกจากกัน หมวดหมู่:ทฤษฎีกฎหมาย หมวดหมู่:สิทธิมนุษยชน de:Unveräußerliches Gut.

ดู สหรัฐและสิทธิธรรมชาติและสิทธิทางกฎหมาย

สถาบันภาพยนตร์อเมริกัน

ันภาพยนตร์อเมริกัน (American Film Institute) เป็นองค์กรอิสระที่ไม่แสวงหาผลประโยชน์ ก่อตั้งโดยกองทุนบริจาคเพื่อศิลปะแห่งชาติ ที่ก่อตั้งในปี..

ดู สหรัฐและสถาบันภาพยนตร์อเมริกัน

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

้รับรางวัลโนเบลมาก แห่งหนึ่งในโลก สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ มหาวิทยาลัยรัฐ คือ สถาบันอุดมศึกษาที่ได้รับอุดหนุนงบประมาณส่วนใหญ่จากรัฐ โดยผ่านรัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น ในประเทศไทย หมายถึงสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (เดิมคือ ทบวงมหาวิทยาลัย) ประกอบด้วยทั้ง มหาวิทยาลัยจำกัดรับในระบบราชการ เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ฯลฯ มหาวิทยาลัยจำกัดรับนอกระบบราชการ (สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล) เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยไม่จำกัดรับ ได้แก่ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสหรัฐอเมริกา วิธีการสมัครเข้าเรียนใน มหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชน ไม่แตกต่างกัน สิ่งที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดคือค่าเรียน ชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการของกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนำในสหรัฐอเมริกาคือ พับลิกไอวี โดยเปรียบเทียบกับ ไอวีลีก ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนำ ในสหราชอาณาจักร สถาบันอุดมศึกษาเกือบทั้งหมดเป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ยกเว้นเพียงแห่งเดียว คือมหาวิทยาลัยบัคกิ้งแฮม.

ดู สหรัฐและสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ดู สหรัฐและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

สงคราม ค.ศ. 1812

งคราม..

ดู สหรัฐและสงคราม ค.ศ. 1812

สงครามกลางเมืองอเมริกา

งครามกลางเมืองอเมริกา (American Civil War) เป็นสงครามกลางเมืองซึ่งเกิดขึ้นในสหรัฐระหว่างปี 1861 ถึง 1865 สืบเนื่องจากข้อโต้แย้งยืดเยื้อเกี่ยวกับทาส ระหว่างฝ่ายหนึ่งเป็นกลุ่มชาตินิยมสหภาพซึ่งประกาศความภักดีต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐ กับกลุ่มแบ่งแยกดินแดนสมาพันธรัฐซึ่งสนับสนุนสิทธของรัฐในการขยายทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในบรรดา 34 รัฐของสหรัฐในเดือนกุมภาพันธ์ 1861 เจ็ดรัฐทาสในภาคใต้ประกาศแยกตัวออกจากสหรัฐเพื่อตั้งเป็นสมาพันธรัฐอเมริกา หรือ "ฝ่ายใต้" สมาพันธรัฐเติบโตจนมี 11 รัฐทาส รัฐบาลสหรัฐไม่เคยรับรองทางการทูตซึ่งสมาพันธรัฐ เช่นเดียวกับประเทศอื่นทุกประเทศ (แม้สหราชอาณาจักรและฝรั่งเศสจะให้สถานภาพคู่สงคราม) รัฐที่ยังภักดีต่อสหรัฐ (รวมทั้งรัฐชายแดนซึ่งทาสชอบด้วยกฎหมาย) เรียก "สหภาพ" หรือ "ฝ่ายเหนือ" สงครามเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 12 เมษายน..

ดู สหรัฐและสงครามกลางเมืองอเมริกา

สงครามอิรัก

งครามอิรัก เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศอิรักตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม..

ดู สหรัฐและสงครามอิรัก

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช.

ดู สหรัฐและสงครามอ่าวเปอร์เซีย

สงครามตัวแทน

งครามตัวแทน (proxy war) เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐหรือตัวแสดงที่มิใช่รัฐสองฝ่ายซึ่งต่างฝ่ายต่างมิได้ประจัญบานโดยตรงกับอีกฝ่ายหนึ่ง แม้คำนี้ครอบคลุมการเผชิญหน้าด้วยอาวุธต่าง ๆ แต่บทนิยามแกนกลางของ "สงครามตัวแทน" ตั้งอยู่บนอำนาจสองฝ่ายใช้การต่อสู้ภายนอกเพื่อโจมตีผลประโยชน์หรือการถือครองดินแดนของอีกฝ่าย สงครามตัวแทนมักเกี่ยวข้องกับทั้งสองประเทศต่อสู้กับพันธมิตรของคู่แข่ง หรือสนับสนุนพันธมิตรของตนในการต่อสู้กับคู่แข่ง สงครามตัวแทนพบมากเป็นพิเศษช่วงใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองและช่วงสงครามเย็น และเป็นมุมมองนิยามความขัดแย้งทั่วโลกระหว่างครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ส่วนมากได้รับการจูงใจจากความกลัวว่าความขัดแย้งโดยตรงระหว่างสหรัฐและสหภาพโซเวียตจะส่งผลให้เกิดการฆ่าล้างบางนิวเคลียร์ ทำให้สงครามตัวแทนเป็นวิธีแสดงออกซึ่งความเป็นปรปักษ์ที่ปลอดภัยกว่า นอกจากนี้ยังมีเหตุผลประชิดกว่าสำหรับการถือกำเนิดของสงครามตัวแทนในเวทีโลก คือระหว่างช่วงปีหลัง ๆ สหภาพโซเวียตพบว่าการติดอาวุธหรือจัดตั้งภาคีปฏิปักษ์ต่อเนโทแทนการเผชิญหน้าโดยตรงมีราคาถูกกว่าProf CJ.

ดู สหรัฐและสงครามตัวแทน

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ.

ดู สหรัฐและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ดู สหรัฐและสงครามปฏิวัติอเมริกา

สงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)

งครามอัฟกานิสถาน เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ดู สหรัฐและสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู สหรัฐและสงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ดู สหรัฐและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ดู สหรัฐและสงครามเกาหลี

สงครามเม็กซิโก–อเมริกา

งครามเม็กซิโก–อเมริกา หรือสงครามเม็กซิโก สงครามสหรัฐ–เม็กซิโก การบุกครองเม็กซิโก การแทรกแซงของสหรัฐ หรือสงครามต่อต้านเม็กซิโกของสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหรัฐเม็กซิโกตั้งแต..

ดู สหรัฐและสงครามเม็กซิโก–อเมริกา

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ.

ดู สหรัฐและสงครามเย็น

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ดู สหรัฐและสงครามเวียดนาม

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ดู สหรัฐและสงครามเจ็ดปี

สตีเวน สปีลเบิร์ก

ตีเวน อัลลัน สปีลเบิร์ก เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1946 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน ผู้สร้างหนัง สปีลเบิร์กรับรางวัลออสการ์ 3 ครั้ง.

ดู สหรัฐและสตีเวน สปีลเบิร์ก

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.

ดู สหรัฐและสนธิสัญญาแวร์ซาย

สแตนดาร์ดแอนด์พัวร์ส

แตนดาร์ดแอนด์พัวร์ส (Standard & Poor's, ตัวย่อ: S&P) เป็นบริษัทบริการทางการเงินที่ตั้งอยู่ในสหรัฐอเมริกา เป็นบริษัทลูกของบริษัทแมกกรอ-ฮิล ซึ่งตีพิมพ์วิจัยด้านการเงินและบทวิเคราะห์หุ้นและพันธบัตร เป็นที่รู้จักกันดีจากดัชนีตลาดหลักทรัพย์ อาทิ S&P 500, S&P/ASX 200 และ S&P/TSX เป็นหนึ่งในสามบริษัทยักษ์ใหญ่ (Big Three) ด้านการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (ซึ่งมีสแตนดาร์ดแอนด์พัวร์ส, มูดดีอินเวสเตอร์เซอร์วิส และฟิทช์เรดติง).

ดู สหรัฐและสแตนดาร์ดแอนด์พัวร์ส

สเกตบอร์ด

กตบอร์ดมาตรฐาน สเกตบอร์ด คืออุปกรณ์ 4 ล้อ ที่มีแผ่นกระดานให้ยืนได้และมีลูกล้อที่แข็งแรงรองรับอยู่ สเกตบอร์ดเป็นอุปกรณ์ลื่นไหล สำหรับการเล่นกีฬาสเกตบอร์ด เคลื่อนที่ได้โดยการผลักด้วยเท้าขณะที่เท้าอีกข้างควบคุมบอร์ดไว้ หรือการดีดขึ้นบนราว หรือทางครึ่งวงกลม หรือสามารถนั่งบนสเกตบอร์ดได้ขณะเคลื่อนที่บนทางลาดให้แรงโน้มถ่วงขับเคลื่อนบอร์ดไป ที่มาของสเกตบอร์ดไม่ปรากฏว่าใครเป็นผู้คิดค้น แต่น่าจะเกิดในช่วงทศวรรษที่ 40-50 โดยสันนิษฐานว่าเป็นการประยุกต์จากรถ soapbox และอีกข้อสันนิษฐานนึงคิดว่าประยุกต์มาจากโรลเลอร์สเกต สเกตบอร์ดพัฒนาจนมีการผลิตโมเดลขึ้นในทศวรรษที่ 60 โดยสเกตบอร์ดในสมัยก่อนจะมีรูปร่างแบบเซิร์ฟบอร์ด ไม่ค่อยมีส่วนเว้ามากและทำจากไม้ทึบ พลาสติก หรือ แม้แต่โลหะ ส่วนล้อมักทำจากส่วนประกอบจากดิน หรือ เหล็ก ในปี 1973 ได้มีการใช้วงล้อยูรีเทนในการกีฬา ซึ่งทำให้มีความปลอดภัยและคล่องตัวกว่า สเกตบอร์ดมีขนาดกว้างมากขึ้น จาก ระยะ 16 ซม.เป็นกว่า 23 ซม.เพื่อให้ความมั่นคงที่ดีกว่า ในการเล่น Vert ส่วนประกอบของสเกตบอร์ดประกอบด้วย Deck,Truck,ล้อ,ball bearings และอื่น.

ดู สหรัฐและสเกตบอร์ด

หมู่เกาะอะลูเชียน

หมู่เกาะอะลูเชียน (Aleutian Islands) เป็นหมู่เกาะในสหรัฐอเมริกา ครอบคลุมพื้นที่ 6,821 ตร.ไมล์ (17,666 กม²) ทอดตัวไปทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรอะแลสกายาว 1,200 ไมล์ (1,931 กม.) สหรัฐอเมริกาซื้อหมู่เกาะนี้จากรัสเซีย เมื่อ..

ดู สหรัฐและหมู่เกาะอะลูเชียน

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Northern Mariana Islands; ชามอร์โร: Islas Mariånas) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา (Commonwealth of the Northern Mariana Islands, CNMI; ชามอร์โร: Sankattan Siha Na Islas Mariånas) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศสหรัฐอเมริกา หมู่เกาะนี้ประกอบด้วยเกาะ 14 เกาะ มีประชากรจำนวน 80,362 คน (พ.ศ.

ดู สหรัฐและหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา

หมู่เกาะเวอร์จิน

หมู่เกาะเวอร์จิน อาจหมายถึง.

ดู สหรัฐและหมู่เกาะเวอร์จิน

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ

กาะเซนต์จอห์น หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (United States Virgin Islands; USVI) เป็นกลุ่มเกาะกลุ่มหนึ่งในทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกา ในทางภูมิศาสตร์ หมู่เกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเวอร์จินและตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ดของภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาประกอบด้วยเกาะหลัก 3 เกาะ คือ เกาะเซนต์ครอย (Saint Croix) เกาะเซนต์จอห์น (Saint John) และเกาะเซนต์ทอมัส (Saint Thomas) รวมทั้งเกาะวอเตอร์ (Water Island) และหมู่เกาะเล็ก ๆ โดยรอบอีกเป็นจำนวนหนึ่ง ดินแดนแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 346.36 ตารางกิโลเมตร (133.73 ตารางไมล์) จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ

หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา

หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา หรือ หลอดความร้อน หรือ หลอดไส้ (incandescent light bulb, incandescent lamp หรือ incandescent light globe) ให้แสงสว่างโดยการให้ความร้อนแก่ไส้หลอดที่เป็นลวดโลหะกระทั่งมีอุณหภูมิสูงและเปล่งแสง หลอดแก้วที่เติมแก๊สเฉื่อยหรือเป็นสุญญากาศป้องไม่ให้ไส้หลอดที่ร้อนสัมผัสอากาศ ในหลอดฮาโลเจน กระบวนการทางเคมีคืนให้โลหะเป็นไส้หลอด ซึ่งขยายอายุการใช้งาน หลอดไฟฟ้านี้ได้รับกระแสไฟฟ้าจากเทอร์มินอลต่อสายไฟ (feed-through terminal) หรือลวดที่ฝังในแก้ว หลอดไฟฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในเต้ารับซึ่งสนับสนุนหลอดไฟฟ้าทางกลไกและเชื่อมกระแสไฟฟ้าเข้ากับเทอร์มินัลไฟฟ้าของหลอด หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาผลิตออกมาหลายขนาด กำลังส่องสว่าง และอัตราทนความต่างศักย์ ตั้งแต่ 1.5 โวลต์ถึงราว 300 โวลต์ หลอดประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์ควบคุมภายนอก มีค่าบำรุงรักษาต่ำ และทำงานได้ดีเท่ากันทั้งไฟฟ้ากระแสสลับหรือกระแสตรง ด้วยเหตุนี้ หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาจึงใช้กันอย่างกว้างขวางในครัวเรือนและไฟฟ้าใช้ในเชิงพาณิชย์ ตลอดจนไฟฟ้าแบบพกพา อย่างเช่น ไฟตั้งโต๊ะ ไฟหน้ารถยนต์ และไฟฉาย และไฟฟ้าสำหรับตกแต่งและโฆษณา บ้างใช้ประโยชน์จากใช้ความร้อนที่เกิดขึ้นจากไส้หลอดของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา อาทิ เครื่องฟักไข่ กล่องฟักไข่สำหรับสัตว์ปีก ไฟความร้อนสำหรับสวนจำลองสภาพแวดล้อม (vivarium) ของสัตว์เลื้อยคลาน การให้ความร้อนอินฟราเรดในกระบวนการให้ความร้อนและอบแห้งในอุตสาหกรรม ความร้อนส่วนเกินนี้เพิ่มพลังงานที่ต้องใช้ในระบบปรับอากาศของอาคาร หลอดไฟฟ้าแบบอื่นค่อย ๆ แทนที่การใช้งานของหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาหลายด้าน อาทิ หลอดฟลูออเรสเซนต์, หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (หลอดตะเกียบ), หลอดฟลูออเรสเซนต์แคโทดเย็น, หลอดอัดก๊าซความดันสูง และไดโอดเปล่งแสง เทคโนโลยีที่ใหม่กว่าเหล่านี้พัฒนาอัตราส่วนแสงที่มองเห็นได้ต่อการผลิตความร้อน เขตอำนาจบางแห่ง เช่น สหภาพยุโรป อยู่ในระหว่างกระบวนการเลิกใช้หลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาและหันไปใช้หลอดไฟที่มีประสิทธิภาพด้านพลังงานมากกว.

ดู สหรัฐและหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดา

หลุยส์ อาร์มสตรอง

หลุยส์ อาร์มสตรอง (Louis Armstrong) (4 สิงหาคม ค.ศ. 1901 - 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1971) มีชื่อเล่นว่า "แซทช์โม" (Satchmo) หรือ ป็อปส์ (Pops) นักทรัมเป็ตและนักร้องเพลงแจ๊สชาวอเมริกัน.

ดู สหรัฐและหลุยส์ อาร์มสตรอง

ห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทน

"ไม่ควรจัดเก็บภาษีหากไม่จัดให้มีผู้แทน" หรือ "ไม่จ่ายภาษีหากไม่มีผู้แทน" (No taxation without representation) เริ่มเป็นสโลแกนซึ่งเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1750 และ 1760 ที่สรุปความเดือดร้อนของชาวอาณานิคมอังกฤษในสิบสามอาณานิคม ซึ่งได้กลายมาเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญของการปฏิวัติอเมริกา กล่าวโดยสรุป ชาวอาณานิคมจำนวนมากเชื่อว่าการขาดผู้แทนโดยตรงในรัฐสภาอังกฤษที่ห่างเหิน ถือว่าเป็นการปฏิเสธสิทธิความเป็นชาวอังกฤษของพวกเขาอย่างผิดกฎหมาย ดังนั้น กฎหมายที่บังคับให้ชาวอาณานิคมจ่ายภาษี (ซึ่งเป็นกฎหมายประเภทที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตมากที่สุด) และกฎหมายอื่น ๆ ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะในอาณานิคมเท่านั้น จึงไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ ในเวลาปัจจุบัน ได้มีการใช้สโลแกนดังกล่าวในกลุ่มคนอื่น ๆ ในหลายประเทศในข้อพิพาทที่คล้ายคลึงกัน วลี No taxation without representation สามารถสืบไปได้ว่าเป็นสาเหตุของสงครามกลางเมืองอังกฤษ โดยจอห์น แฮมพ์เดน กล่าวว่า "พระมหากษัตริย์อังกฤษไม่มีสิทธิ์จะร้องขอ ประชาชนชาวอังกฤษต่างก็มีสิทธิ์ปฏิเสธได้" ในกรณีเรือเงิน.

ดู สหรัฐและห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทน

อภิมหาอำนาจ

แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ดู สหรัฐและอภิมหาอำนาจ

อวตาร (ภาพยนตร์)

อวตาร (/อะวะตาน/; Avatar) เป็นภาพยนตร์สามมิติแนวมหากาพย์วิทยาศาสตร์โดย เจมส์ คาเมรอน เข้าฉายในประเทศไทย วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและอวตาร (ภาพยนตร์)

ออร์สัน เวลส์

อร์จ ออร์สัน เวลส์ (George Orson Welles) (6 พฤษภาคม, ค.ศ. 1915 - 10 ตุลาคม, ค.ศ. 1985) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลอเคเดมีอวอร์ด,นักเขียนบท,ผู้กำกับละคร,โปรดิวซ์เซอร์ภาพยนตร์ และนักแสดงหนัง,ละครและวิท.

ดู สหรัฐและออร์สัน เวลส์

อะพอลโล 11

ัญลักษณ์โครงการอะพอลโล 11 ลูกเรืออะพอลโล่ 11 ประกอบด้วย นีล อาร์มสตรอง (Neil Alden Armstrong) ผู้บังคับการ, เอดวิน อัลดริน (Adwin Aldrin) และ ไมเคิล คอลลินส์ (Michael Collins) อะพอลโล 11 (Apoll XI) เป็นยานอวกาศลำแรกที่ลงจอดบนผิวของดวงจันทร์สำเร็จขององค์การนาซา อะพอลโล 11 ถูกส่งขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโดยจรวดแซทเทิร์น 5 (Saturn V) ที่ฐานยิงจรวจที่แหลมเคเนดี รัฐฟลอริดา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ดู สหรัฐและอะพอลโล 11

อะโดบีซิสเต็มส์

อะโดบีซิสเต็มส์ (Adobe Systems) เป็นบริษัทซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองแซนโฮเซในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ.

ดู สหรัฐและอะโดบีซิสเต็มส์

อับราฮัม ลินคอล์น

อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ลินคอล์นเข้าดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่เดือนมีนาคม..1861 จนกระทั่งถูกลอบสังหารเมื่อเดือนเมษายน..

ดู สหรัฐและอับราฮัม ลินคอล์น

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ดู สหรัฐและอัลกออิดะฮ์

อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein, อัลแบร์ท ไอน์ชไตน์; 14 มีนาคม พ.ศ. 2422 – 18 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2428 ชาวเยอรมันเชื้อสายยิว (ตามลำดับ) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นผู้เสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม สถิติกลศาสตร์ และจักรวาลวิทยา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน..

ดู สหรัฐและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์

อัตราการกักขังในสหรัฐอเมริกา

อัตราส่วนนักโทษต่อประชากร 100,000 คน ข้อมูลสถิติจากรายการประชากรเรือนจำโลก พิมพ์ครั้งที่ 8http://www.kcl.ac.uk/depsta/law/research/icps/downloads/wppl-8th_41.pdf World Prison Population List.

ดู สหรัฐและอัตราการกักขังในสหรัฐอเมริกา

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร

อันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร.

ดู สหรัฐและอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสาร

อาหารดัดแปรพันธุกรรม

อาหารดัดแปรพันธุกรรม (genetically modified foods หรือ GM foods) เป็นอาหารที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตที่ดีเอ็นเอของมันมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างโดยใช้วิธีการทางพันธุวิศวกรรม เทคนิคเหล่านี้ทำให้เกิดลักษณะทางพันธุกรรมใหม่ซึ่งทำให้ต้องมีการควบคุมมากยิ่งขึ้นกว่าการสร้างทางพันธุกรรมในอาหารแบบเก่าก่อนหน้านี้โดยวิธีการเช่นการปรับปรุงพันธุ์แบบคัดเลือก (selective breeding) และการปรับปรุงพันธุ์แบบกลายพันธุ์ (mutation breeding) การนำออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์ของพืชดัดแปรพันธุกรรมได้เริ่มต้นขึ้นในปี 1994 เมื่อบริษัท Calgene วางตลาด Flavr SAVR (มะเขือเทศสุกช้า) เป็นครั้งแรก จนถึงปัจจุบัน การดัดแปรพันธุกรรมของอาหารส่วนใหญ่ได้เน้นหลักในพืชทำเงินที่มีความต้องการสูงโดยเกษตรกรเช่นถั่วเหลืองดัดแปลง ข้าวโพดดัดแปลง คาโนลา และน้ำมันเมล็ดฝ้าย พืชเหล่านี้ได้รับการดัดแปลงให้มีความต้านทานต่อเชื้อโรคและสารเคมีกำจัดวัชพืชและมีรูปแบบของสารอาหารที่ดีกว่า ปศุสัตว์ก็ได้รับการพัฒนาดัดแปลงแบบทดลองเช่นกัน แม้ว่า ณ เดือนพฤศจิกายน 2013 ยังไม่มีอยู่ในตลาด มีฉันทามติทางวิทยาศาสตร์ในวงกว้างว่าอาหารในตลาดที่ได้มาจากพืชจีเอ็มโอไม่ได้แสดงความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์มากไปกว่าอาหารธรรมดาAmerican Association for the Advancement of Science (AAAS), Board of Directors (2012).

ดู สหรัฐและอาหารดัดแปรพันธุกรรม

อาคารรัฐสภาสหรัฐ

อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา มุมมองจากฝั่งตะวันออก ในปี ค.ศ.2013 อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา เวลาค่ำ ในปี ค.ศ.2013 อาคารรัฐสภาสหรัฐอเมริกา หรือทับศัพท์ว่า ยูเอสแคปพิตอล (United States Capitol; U.S.

ดู สหรัฐและอาคารรัฐสภาสหรัฐ

อำนาจบริหาร

อำนาจบริหาร (Executive) เป็นการปกครองส่วนที่มีอำนาจและความรับผิดชอบเฉพาะการบริหารประเทศประจำวัน ระบบการแยกใช้อำนาจออกแบบมาเพื่อกระจายอำนาจในบรรดาหลายฝ่าย เป็นความพยายามที่จะรักษาเสรีภาพปัจเจกบุคคลเพื่อเป็นการสนองตอบผู้นำทรราชตลอดประวัติศาสตร์ บทบาทของฝ่ายบริหาร คือ บังคับใช้กฎหมายตามที่สภานิติบัญญัติบัญญัติขึ้นและระบบตุลาการตีความ ฝ่ายบริหารสามารถเป็นบ่อเกิดของกฎหมายบางประเภทได้ เช่น กฤษฎีกาหรือคำสั่งของฝ่ายบริหาร ระบบข้าราชการประจำบริหารมักเป็นที่มาของระเบี.

ดู สหรัฐและอำนาจบริหาร

อำนาจตุลาการ

อำนาจตุลาการ เป็นระบบศาลซึ่งทำหน้าที่ตีความและใช้บังคับกฎหมาย (apply the law) ในนามของรัฐ ตุลาการยังเป็นกลไกสำหรับระงับข้อพิพาท ภายใต้ลัทธิการแยกใช้อำนาจ ฝ่ายตุลาการมักไม่สร้างกฎหมาย (ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของฝ่ายนิติบัญญัติ) หรือบังคับใช้กฎหมาย (enforce the law) (ซึ่งเป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร) แต่ตีความกฎหมายและใช้บังคับกฎหมายเข้ากับข้อเท็จจริงของแต่ละคดี ฝ่ายตุลาการมักได้รับภารกิจให้ประกันความยุติธรรมเท่าเทียมกันตามกฎหมาย มักประกอบด้วยศาลอุทธรณ์สูงสุด (court of final appeal) เรียกว่า "ศาลสูงสุด" หรือ "ศาลรัฐธรรมนูญ" ร่วมกับศาลที่ต่ำกว่า ในหลายเขตอำนาจ ฝ่ายตุลาการมีอำนาจเปลี่ยนแปลงกฎหมายผ่านกระบวนการการพิจารณาทบทวนโดยศาล ศาลที่มีอำนาจการพิจารณาทบทวนโดยศาลอาจบอกล้างกฎหมายและหลักเกณฑ์ของรัฐเมื่อเห็นว่ากฎหมายหรือหลักเกณฑ์นั้นไม่เข้ากับบรรทัดฐานที่สูงกว่า เช่น กฎหมายแม่บท บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ผู้พิพากษาเป็นกำลังสำคัญสำหรับตีความและนำรัฐธรรมนูญไปปฏิบัติ ฉะนั้น จึงสร้างประชุมกฎหมายรัฐธรรมนูญในประเทศที่ใช้ระบบคอมมอนลอว์ หมวดหมู่:การปกครอง.

ดู สหรัฐและอำนาจตุลาการ

อินก็อดวีทรัสต์

อินก็อดวีทรัสต์ ปรากฏอยู่บนธนบัตร อินก็อดวีทรัสต์ แปลตามตัวอักษรว่า "เราเชื่อมั่นในพระเจ้า" เป็นคำขวัญประจำชาติสหรัฐอเมริก.

ดู สหรัฐและอินก็อดวีทรัสต์

อินทรีหัวขาว

อินทรีหัวขาว หรือ อินทรีหัวล้าน (White-Head Eagle, Bald Eagle, American Eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกอินทรีทะเล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Haliaeetus leucocephalus เป็นนกขนาดใหญ่ มีจุดเด่น คือ ขนส่วนหัวจนถึงลำคอเป็นสีขาว ตัดกับสีขนลำตัวและปีกซึ่งเป็นสีดำ และปลายหางสีขาว ขณะที่กรงเล็บ รวมทั้งจะงอยปากเป็นสีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 70-102 เซนติเมตร (28-40 นิ้ว) ความยาวปีกเมื่อกางปีก 1.8-2.3 เมตร (5.9-7.5 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 2.5 ถึง 7 กิโลกรัม (9-12 ปอนด์) ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ประมาณร้อยละ 25 สามารถบินได้เร็วประมาณ 48 กิโลเมตร/ชั่วโมง และมีสายตาที่สามารถมองได้ไกลประมาณ 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) จัดเป็นนกที่มีความสวยงามและสง่างามมากชนิดหนึ่ง มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตลอดไปจนถึงเม็กซิโกตอนเหนือ และทะเลแคริบเบียน มักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือชายทะเล เพราะกินปลาเป็นอาหารหลัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 25-30 ปี ในขณะที่ยังเป็นนกวัยอ่อนจนถึง 5 ขวบ ขนบริเวณหัวและปลายหางจะยังเป็นสีน้ำตาล ไม่เปลี่ยนไปเป็นสีขาว อินทรีหัวขาวมีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีกันค่อนข้างโลดโผน โดยนกทั้งคู่จะใช้กรงเล็บเกาะเกี่ยวกันกลางอากาศ แล้วทิ้งตัวดิ่งลงสู่พื้นดิน แต่เมื่อใกล้จะถึงพื้น ก็จะผละแยกออกจากกัน ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้เป็นไปเพื่อต้องการทดสอบความแข็งแกร่งของคู่ของตน ซึ่งจะทำให้ได้ลูกนกที่เกิดมาใหม่นั้นเป็นนกที่แข็งแรง อีกทั้งยังเป็นคู่ที่จับคู่กันตลอดชีวิตอีกด้วย เว้นแต่ตัวใดตัวหนึ่งตายไปเสียก่อน จึงจะหาคู่ใหม่ อินทรีหัวขาวถือเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยปรากฏในตราประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และอีกหลายหน่วยงานราชการในประเทศ อินทรีหัวขาว เป็นนกที่ได้รับการคุ้มครองในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ดู สหรัฐและอินทรีหัวขาว

อินเทล

ำนักงานใหญ่อินเทล ที่ซานตาคลารา อินเทล (Intel) เป็นบริษัทผลิตชิพสารกึ่งตัวนำที่ใหญ่ที่สุดในโลกเมื่อวัดจากรายได้ บริษัทอินเทลเป็นผู้คิดค้นไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูลx86 ออกมาวางจำหน่าย ซึ่งเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ที่ใช้กันมากที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อินเทลก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สหรัฐและอินเทล

อินเทอร์เน็ต

วิถีการจัดเส้นทางผ่านส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้.

ดู สหรัฐและอินเทอร์เน็ต

อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์

ทางอากาศในปี 2010 แสดงปล่องระบายไอน้ำของเตาปฏิกรณ์หมายเลข 2 (ซ้าย) ที่เลิกใช้งานแล้ว ในขณะที่เตาปฏิกรณ์หมายเลข 1 (ขวา) ยังคงปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบัน ประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ขณะเยี่ยมชมห้องควบคุมเตาปฏิกรณ์ TMI-2 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 1979 กับผู้อำนวยการของ NRR นาย Harold Denton ผู้ว่าการรัฐเพนซิลเวเนีย นาย Dick Thornburgh และผู้ควบคุมห้องปฏิบัติการ TMI-2 นาย James Floyd อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์ (Three Mile Island accident) เป็นการหลอมละลายทางนิวเคลียร์บางส่วนที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหรัฐและอุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์

อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน

อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน (Yellowstone National Park) เป็นอุทยานแห่งแรกของโลกและของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในเขตติดต่อ 3 รัฐได้แก่ ไวโอมิง มอนแทนา และไอดาโฮ แต่พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในรัฐไวโอมิง เป็นอุทยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐ มีเนื้อที่มากกว่า 2 ล้านเอเคอร์ คือประมาณ 43,750 ตารางไมล์ หรือ 8,992 ตารางกิโลเมตร ภายในอุทยานประกอบไปด้วยที่ราบสูงและภูเขาสูงมีหน้าผาชัน และทะเลสาบ เยลโลว์สโตนเป็นอุทยานแห่งชาติที่มีบ่อน้ำร้อน และน้ำพุร้อน มากกว่า 10,000 แห่ง และ 250 แห่งเป็นบ่อน้ำพุร้อน (เป็นแมกมาใต้ดินที่พุ่งออกมา) และน้ำพุร้อนที่สำคัญคือ น้ำพุร้อนโอลด์เฟทฟุล ซึ่งมีน้ำพุร้อนพุ่งออกมาทุกๆ 33 และ 93 นาที โดยไม่เปลี่ยนแปลงเลยตลอดระยะเวลา 100 ปีที่ผ่านมา ยังมีน้ำตกอีกกว่า 300 แห่ง ที่สามารถค้นพบและท่องเที่ยวได้อีกมากมาย สัตว์ป่าที่น่าสนใจในอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน ได้แก่หมีกริซลี หมีดำ ควายป่าไบซัน กวางมูส กวางเอลก์ แพะภูเขาบิกฮอร์น แมวป่า หมาป.

ดู สหรัฐและอุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน

อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์

อาสนวิหารพระโลหิตของพระผู้ช่วยให้รอด เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย คริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ (Eastern Orthodox Church) เรียกโดยย่อว่าคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ (The Orthodox Church) หรือคริสตจักรไบแซนไทน์ (The Byzantine Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่เป็นอันดับสองในโลก คริสตจักรนี้ปฏิบัติตามหลักการทางเทววิทยาอย่างไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่สมัยศาสนาคริสต์ยุคแรก ศาสนจักรนี้เชื่อว่าคริสตจักรออร์โธด็อกซ์เป็นคริสตจักรแท้จริงเพียงหนึ่งเดียวที่ก่อตั้งโดยพระผู้เป็นเจ้า โดยสืบเนื่องมาจากอัครทูตของพระเยซูคริสต์ ออร์ทอดอกซ์ (Orthodox) หมายความว่า หลักคำสอนที่ถูกต้อง ซึ่งมาจากภาษากรีกคือ orthos แปลว่าถูกต้อง และ doxa แปลว่าคำสอน เมื่อในช่วงศาสนาคริสต์ยุคแรก ได้มีการเผยแพร่หลักคำสอนที่ผิด ซึ่งจะทำให้เกิดความผิดเพี้ยนของศาสนาจักร ซึ่งทางศาสนจักรออร์ทอดอกซ์ จึงได้เรียกตนเองว่าออร์ทอดอกซ์ เพื่อความเป็นศาสนจักรดั้งเดิม และต่อต้านหลักคำสอนนอกรีต อาจจะทำให้เกิดความแตกแยก ชาวออร์โธดอกซ์ถือว่าศาสนจักรออร์โธดอกซ์เป็นคริสตจักรแท้จริง ดั้งเดิม ศักดิ์สิทธิ์ สากล มีหลักคำสอนที่แท้จริงและดั้งเดิม มาตั้งแต่ศาสนาคริสต์ยุคแรกโดยไม่เคยเปลี่ยนหลักคำสอนใดๆ คริสตจักรออร์ทอดอกซ์แบ่งเป็นคริสตจักรย่อย ๆ แต่ละคริสตจักรมีอัครบิดร (หรือชาวอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่า พระสังฆราช) เป็นประมุข ผู้มีหน้าที่เป็นผู้พิทักษ์ประเพณีของศาสนจักร และสามารถสืบสายกลับไปได้ถึงอัครทูตของพระเยซูโดยเฉพาะนักบุญอันดรูว์ คริสตจักรในกลุ่มอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์มักจะไม่เรียกตนเองว่า “อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์” แต่จะใช้ชื่อเฉพาะของกลุ่มที่บอกที่ตั้งของกลุ่มเช่น “คริสตจักรรัสเซียนออร์ทอดอกซ์” หรือ “คริสตจักรกรีกออร์ทอดอกซ์” "คริสตจักรเซอเบียร์ออร์ทอดอกซ์ หรือชาติอื่น ๆ คริสตจักรยุโรปตะวันออก เอเชียตะวันตก และทวีปแอฟริกาเหนือก็ใช้คำว่า “ออร์ทอดอกซ์” แต่ทางปฏิบัติจะแตกต่างกับ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และจะเรียกตัวเองว่า ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ.

ดู สหรัฐและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์

อีเบย์

อีเบย์ (eBay Inc.) อีเบย์ (ชื่อในตลาดแนสแด็ก: EBAY) เป็นมาร์เก็ตเพลซที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นผู้นำด้านโกลบอล คอมเมิร์ซ รวมถึงเว็บไซต์อีเบย์ สตับฮับ และอีเบย์คลาสสิฟายด์ โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู สหรัฐและอีเบย์

อีเกิลส์ (วงดนตรี)

อีเกิลส์ เป็นวงดนตรีร็อกสัญชาติอเมริกัน ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู สหรัฐและอีเกิลส์ (วงดนตรี)

องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

ดู สหรัฐและองค์การอนามัยโลก

องค์การนานารัฐอเมริกัน

องค์การนานารัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือย่อว่า OAS) เป็นองค์การระหว่างประเทศของหน่วยงานต่างๆ ในอเมริกาตามกฎบัตรสหประชาชาติ ที่ก่อตั้งขึ้นในปี..

ดู สหรัฐและองค์การนานารัฐอเมริกัน

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ.

ดู สหรัฐและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

อนาธิปไตย

อนาธิปไตย (anarchism) โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นปรัชญาการเมืองซึ่งถือว่ารัฐนั้นเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนา ไม่จำเป็นและให้โทษ หรืออีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการคัดค้านผู้มีอำนาจและองค์การมีลำดับชั้นบังคับบัญชาในการชี้นำความสัมพันธ์ของมนุษย์ ผู้เสนออนาธิปไตย หรือรู้จักกันว่า "ผู้นิยมลัทธิอนาธิปไตย" (anarchist) สนับสนุนสังคมที่ปราศจากรัฐโดยตั้งอยู่บนการรวมกลุ่มอย่างสมัครใจที่ไม่มีลำดับชั้น เสรีภาพของปัจเจกชนและการต่อต้านรัฐ คือหลักการที่ชัดเจนของลัทธิอนาธิปไตย สำหรับในเรื่องอื่น ๆ นั้นอาจมีความเห็นที่แตกต่างกันบ้างในหมู่ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้ เช่น การใช้ความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสังคม ชนิดของระบอบเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีและลำดับชั้น การตีความหมายของแนวคิดเกี่ยวกับความสมภาค (egalitarian) และระดับของการจัดองค์กร คำว่า "อนาธิปไตย" ในความหมายที่นักอนาธิปไตยใช้นั้น มิได้หมายถึงภาวะยุ่งเหยิงหรืออโนมี แต่เป็นรูปแบบของความสัมพันธ์ของมนุษย์ที่เสมอภาค ที่ถูกจัดตั้งขึ้นและรักษาอย่างจงใจ หมวดหมู่:ระบอบการปกครอง.

ดู สหรัฐและอนาธิปไตย

อ่าวเม็กซิโก

อ่าวเม็กซิโก อ่าวเม็กซิโก (Gulf of Mexico; Golfo de México) ตั้งอยู่ทางใต้ของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันออกของประเทศเม็กซิโก และอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศคิวบา มีพื้นที่ประมาณ 615,000 ตารางไมล์หรือประมาณ 1.6 ล้านตารางกิโลเมตร จุดที่ลึกที่สุดมีความลึกประมาณ 4,384 เมตร ในอ่าวเป็นแหล่งทรัพย์กรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก เม็กซิโก หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานในประเทศเม็กซิโก.

ดู สหรัฐและอ่าวเม็กซิโก

อไญยนิยม

อไญยนิยม (agnosticism) เป็นมุมมองที่ว่าค่าความจริงของการอ้างบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ้างเกี่ยวกับการมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของพระเจ้าใด ๆ ตลอดจนการอ้างอภิปรัชญา ศาสนาอื่นๆ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเรื่องเหนือธรรมชาติอื่นๆ ว่าเป็นสิ่งที่มีอยู่หรือไม่มีอยู่ หรือไม่สามารถหยั่งรู้ได้ ตามคำกล่าวของนักปรัชญา William L.

ดู สหรัฐและอไญยนิยม

อเมริกันฟุตบอล

กีฬาอเมริกันฟุตบอลในช่วงก่อนเริ่มเทิร์น ทั้งสองฝ่ายจะเตรียมพร้อมในแนวหน้ากระดาน ในภาพมหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต (ชุดแดง) แข่งกับ มหาวิทยาลัยเทกซัสเทค (ชุดขาว) ลูกอเมริกันฟุตบอล รูปร่างกลมรี ปลายแหลม และโดยทั่วไปจะมี แนวตะเข็บด้ายขนาดใหญ่อยู่ที่ด้านหนึ่ง อเมริกันฟุตบอล (American football) เป็นกีฬาประเภททีมที่นิยมมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา จุดมุ่งหมายของการแข่งขันคือแต่ละทีมจะต้องพยายามเคลื่อนลูกบอลเข้าไปสู่ เขตปลายสุดสนาม หรือที่เรียกว่าเอนด์โซนของฝ่ายตรงข้าม การเคลื่อนนั้นสามารถกระทำได้โดย การถือลูกวิ่ง และ การขว้างลูกไปให้เพื่อนร่วมทีม การทำคะแนนสามารถทำได้หลายวิธีคือ การถือลูกวิ่งผ่านเส้นเขตประตู การขว้างลูกไปให้เพื่อนร่วมทีมที่อยู่ในเขตสนามหลังเส้นประตู หรือ การแตะประตู โดยการเตะลูกที่มีเพื่อนร่วมทีมจับตั้งกับพื้นสนามให้ผ่านระหว่างเสาประตู (goalposts หรือ uprights) หลังจากหมดเวลาการแข่งขันทีมที่ได้คะแนนสูงกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ ในสหรัฐอเมริกา และ ประเทศแคนาดา เรียกกีฬาประเภทนี้ว่า "ฟุตบอล (football) " (ในขณะเดียวกันเรียกฟุตบอล ว่า ซอคเกอร์) ในบางประเทศเรียกอเมริกันฟุตบอลว่า "กริดไอเอิร์นฟุตบอล (grid-iron football) " อเมริกันฟุตบอลนั้นเริ่มมีการพัฒนาแยกตัวออกมาจาก รักบี้ฟุตบอล ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 อรีนาฟุตบอล หรือ ฟุตบอลในร่ม เป็นกีฬาที่ดัดแปลงมาจากอเมริกันฟุตบอล.

ดู สหรัฐและอเมริกันฟุตบอล

อเมริกันอินเดียน

อเมริกันอินเดียน อาจหมายถึง.

ดู สหรัฐและอเมริกันอินเดียน

อเมริกันซามัว

อเมริกันซามัว (American Samoa; ซามัว: Amerika Samoa) เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ซามัวและอเมริกันซามัวถูกแบ่งแยกโดยส่วนของประเทศซามัวในปัจจุบันเคยอยู่ในการครอบครองของประเทศเยอรมนี ต่อมาก็ได้ถูกครอบครองโดยประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนของอเมริกันซามัวก็ได้ถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน.

ดู สหรัฐและอเมริกันซามัว

อเมริโก เวสปุชชี

อนุสาวรีย์อเมริโก เวสปุชชีที่ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี อเมริโก เวสปุชชี (Amerigo Vespucci; 9 มีนาคม พ.ศ. 1997 — 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2055) เป็นนักสำรวจ นักเดินเรือ และนักทำแผนที่ชาวอิตาลีที่เป็นคนชี้กระจ่างว่าส่วนที่ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เคยมาสำรวจมานั้นไม่ใช่เป็นแผ่นดินส่วนหนึ่งของเอเชีย หากแต่เป็นแผ่นดินใหม่ หลังจากนั้นก็ได้ตั้งชื่อทวีปเป็นอเมริกาเพื่อเป็นการให้เกียรติกับ อเมริโก เวสปุชชี ในการชี้แนะอย่างถูกต้อง (อเมริโกนั้นเป็นภาษาละติน แต่เพราะในภาษาอังกฤษนั้นเรียกว่าอเมริกา).

ดู สหรัฐและอเมริโก เวสปุชชี

อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์

อเล็กซานเดอร์ แกรห์มเบลล์ อเล็กซานเดอร์ แกรห์ม เบลล์ (Alexander Graham Bell - 3 มีนาคม ค.ศ. 1847 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1922) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ เป็นชาวชาวอเมริกัน นอกจากนี้ เบลล์ยังเป็นผู้มีความสำคัญอย่างมากในงานวิจัยทางด้านอากาศยาน และ ไฮโดรฟอยล.

ดู สหรัฐและอเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์

อเทวนิยม

หมายเปาโลถึงชาวเอเฟซัส (2:12) จากพาไพรัส 46ในศตวรรษที่ 3 ตอนต้น อเทวนิยม (atheism) คือ ทรรศนะที่ไม่เชื่อว่ามีพระเป็นเจ้า และเชื่อในกฎธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับเทวนิยมEncyclopædia Britannica 2009 อเทวนิยมแตกต่างจากอไญยนิยม (agnosticism) ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่ามนุษย์ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้ามีจริงหรือไม่ รวมถึงปรากฏการณ์ที่ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยประสบการณ์ทางผัสสะ คำว่า atheism ในภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีก ἄθεος (atheos) อันมีความหมายว่า "ปราศจากเทพ" ถือเป็นคำหยาบที่ใช้เรียกผู้ปฏิเสธเทพที่สังคมบูชากัน หลังจากที่มีความคิดอย่างอิสระ (freethought) ความสงสัยทางวิทยาศาสตร์ (skeptical inquiry) และการวิจารณ์ศาสนา (criticism of religion) เพิ่มขึ้นแล้ว การใช้คำนี้ก็มีความหมายอย่างแคบลง บุคคลกลุ่มแรกที่เริ่มถือว่าตนเป็นผู้ที่ไม่เชื่อเรื่องพระเทพ โดยเรียกตนเองว่า "ผู้ถืออเทวนิยม" (atheist) นั้น ใช้ชีวิตอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากเหตุที่ว่า ความหมายและความเข้าใจของอเทวนิยมนั้น มีความแตกต่างกัน ในปัจจุบันจึงทราบได้ยากว่าในโลกมีผู้ถืออเทวนิยมกี่คน อิงตามการคาดคะเนในปี..

ดู สหรัฐและอเทวนิยม

ฮอกกี้น้ำแข็ง

อกกี้น้ำแข็ง ฮอกกี้น้ำแข็ง หรือ ไอซ์ฮอกกี้ (Ice hockey) เป็นกีฬาประเภททีมที่เล่นบนพื้นน้ำแข็ง ที่ใช้ความเร็วและกำลังในการเล่น ฮอกกี้น้ำแข็งเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากในแทบที่มีความหนาวเย็นตามธรรมชาติ ที่มีน้ำแข็งเกาะอย่างเช่น ประเทศแคนาดา อเมริกาเหนือ แถบสแกนดิเนเวียและรัสเซีย ต่อมาสามารถเล่นภายในอาคารจากลานเล่นสเก็ตน้ำแข็งเทียมได้ และยังเป็นกีฬาของนักกีฬาสมัครเล่นในเมืองใหญ่อย่าง เมืองที่เป็นเจ้าภาพจัด National Hockey League (NHL) หรือเป็นกีฬาอาชีพของลีกอาชีพ มีลีกใหญ่ สำคัญ 4 ลีกคือ North American professional sports, และ NHL ที่เป็นระดับสูงสุด และ Canadian Women's Hockey League (CWHL) และ Western Women's Hockey League (WWHL) ซึ่งถือว่าเป็นระดับสูงสุดของฮอกกี้น้ำแข็งสตรี นอกจานี้ยังเป็นกีฬาฤดูหนาวอย่างเป็นทางการของแคนาดา มีสมาชิก 66 ประเทศที่เป็นสมาชิกกับ International Ice Hockey Federation (IIHF) แต่ประเทศอย่าง แคนาดา,เช็กเกีย, ฟินแลนด์, รัสเซีย, สโลวาเกีย, สวีเดน และสหรัฐอเมริกา ที่ได้ที่ 1 ที่ 2 ที่ 3 ในการแข่ง IIHF World Championships มากที่สุด และจากแข่งขันโอลิมปิก 63 เหรียญประเภทผู้ชาย ตั้งแต่ปี 1920 มีเพียง 6 ครั้งเท่านั้นที่ประเทศที่ได้รับเหรียญไม่ใช่ประเทศดังกล่าว และหากไม่นับอดีตประเทศอย่าง เชโกสโลวาเกียหรือสหภาพโซเวียตแล้ว มีเพียง 1 เหรียญจาก 6 ครั้งที่ได้เหนือเหรียญทองแดง.

ดู สหรัฐและฮอกกี้น้ำแข็ง

ฮอลลีวูด

ป้ายฮอลลีวูด ฮอลลีวูด (Hollywood) เป็นชื่อเขตในนครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย เหมือนกับเป็นถนนหรือเขตหนึ่งเท่านั้น ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกถึงตะวันตกเฉียงเหนือของศูนย์กลางนครลอสแอนเจลิส เนื่องจากว่าฮอลลิวูดนั้นมีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นศูนย์กลางแห่งประวัติศาสตร์ของโรงถ่ายทำภาพยนตร์ และดาราภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ดังนั้น ชื่อของฮอลลีวูดจึงมักจะถูกเรียกเป็นชื่อแทนของโรงภาพยนตร์แห่งสหรัฐอเมริกาอีกด้วย ทุกวันนี้มีอุตสาหกรรมภาพยนตร์จำนวนมากที่ได้แพร่กระจายไปรอบๆพื้นที่ของแคลิฟอร์เนียและทางตะวันตกของนครลอสแอนเจลิส แต่อุตสาหรรมภาพยนตร์หลักๆที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อ การใส่เทคนิคพิเศษ ผู้สนับสนุน การผลิตขั้นสุดท้าย และบริษัททางด้านแสงประกอบ ยังคงอยู่ในฮอลลีวูด โรงละครสำคัญๆทางประวัติศาสตร์ของฮอลลีวูดหลายแห่งถูกใช้เป็นสถานที่ชุมนุมและเวทีคอนเสิร์ตในงานเปิดตัวสำคัญๆระดับยักษ์ใหญ่ของโลกและยังเป็นเจ้าภาพในการประกาศรางวัลออสการ์หรือที่เรียกกันติดปากว่ารางวัลออสการ์นั่นเอง ฮอลลีวูดเป็นสถานที่ที่คนทั่วโลกต้องการมาเยือนทั้งนักผจญราตรีและนักท่องเที่ยวทั้งหลาย และยังเป็นที่ตั้งของถนน ฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม (Hollywood Walk of Fame) ที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ฮอลลีวูด ค.ศ.

ดู สหรัฐและฮอลลีวูด

ฮาร์ดแวร์

ร์ดแวร์ (hardware) อาจหมายถึง; สิ่งประดิษฐ์ทางกายภาพ: และอุปกรณ์เครื่องหนัก หลากหลายประเภท ที่ใช้เทคโนโลยี.

ดู สหรัฐและฮาร์ดแวร์

ฮิวสตัน

วสตัน (Houston) เป็นเมืองขนาดใหญ่ที่สุดในรัฐเทกซัส และเมืองขนาดใหญ่อันดับสี่ของสหรัฐอเมริกา ฮิวสตันเป็นที่รู้จักในชื่อเสียงของอุตสาหกรรมพลังงาน น้ำมัน อากาศยาน และการขนส่งทางเรือ ท่าเรือในฮิวสตันเป็นท่าเรือที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลก มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในเมืองได้แก่ มหาวิทยาลัยไรซ์ ทีมกีฬาที่สำคัญได้แก.

ดู สหรัฐและฮิวสตัน

ฮิวแมนไรตส์วอตช์

วแมนไรตส์วอตช์ (Human Rights Watch; ย่อ: HRW) เป็นองค์การนอกภาครัฐระหว่างประเทศซึ่งทำวิจัยและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในนครนิวยอร์ก โดยมีสำนักงานในอัมสเตอร์ดัม เบรุต เบอร์ลิน บรัสเซลส์ ชิคาโก เจนีวา โจฮันเนสเบิร์ก ลอนดอน ลอสแอนเจลิส มอสโก ปารีส ซานฟรานซิสโก โตเกียว โตรอนโตและวอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและฮิวแมนไรตส์วอตช์

ฮิปฮอป

ปฮอป (Hip Hop) หรืออาจเขียนเป็น ฮิป-ฮอป (Hip-hop) มีความหมายถึงในด้านดนตรีแนวฮิปฮอป ที่เป็นที่นิยมสำหรับวัยรุ่นอเมริกาและทั่วโลก จนถูกยกระดับให้เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งมีรากฐานการพัฒนามาจากชาวแอฟริกัน-อเมริกัน และ ชาวละติน โดยในช่วงยุค 70' หลังจากที่ดนตรีดิสโก้ที่พัฒนามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทำให้มีการเปิดแผ่นเพลงในคลับต่าง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสร้าง loop, beat ใหม่ ๆ ขึ้นมา ดนตรีฮิปฮอป จึงถือกำเนิดขึ้น.

ดู สหรัฐและฮิปฮอป

ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น

accessdate.

ดู สหรัฐและผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น

ผู้บัญชาการทหาร

ผู้บัญชาการทหาร (Commander-in-chief) คือ ผู้ที่สามารถใช้อำนาจสูงสุดหรือกองกำลังทหารทั้งปวงในประเทศ โดยทั่วไปผู้ที่ดำรงตำแหน่งนี้คือประมุขของรัฐหรือหัวหน้ารัฐบาลซึ่งอาจเป็นพลเรือนก็ได้ สำหรับในประเทศไทยมีตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ จอมทัพ ซึ่งเรียกว่า จอมทัพไทย โดยจอมทัพไทยไม่ใช่ยศทหาร ผู้ที่ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คือ พระมหากษัตริย์ไทย ซึ่งเป็นทั้งประมุขและผู้นำทหารทั้งประเทศ ทรงดำรงพระยศ จอมพล จอมพลเรือ และ จอมพลอาก.

ดู สหรัฐและผู้บัญชาการทหาร

ผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวร (สหรัฐ)

ัตรผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวรสหรัฐ (กรีนการ์ด) (พฤษภาคม 2559) ผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวรชอบด้วยกฎหมายของสหรัฐ (United States lawful permanent residency) เป็นสถานภาพการเข้าเมืองของบุคคลที่ได้รับอนุญาตให้อยู่อาศัยและทำงานในสหรัฐอเมริกาอย่างถาวร บัตรผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวรสหรัฐ (แบบ USCIS I-551) เดิมคือ บัตรการจดทะเบียนคนต่างด้าว หรือบัตรใบรับการจดทะเบียนคนต่างด้าว (แบบ INS I-151) เป็นบัตรประจำตัวรับรองความถูกต้องของสถานภาพผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวรของคนต่างด้าวในสหรัฐ มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า กรีนการ์ด ("บัตรเขียว") เพราะมีสีเขียวตั้งแต่ปี 2489 ถึง 2507 และเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 มีการเปลี่ยนกลับมาเป็นสีเขียวอีกครั้ง กรีนการ์ดยังหมายถึงกระบวนการการเข้าเมืองของการมาเป็นผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวร กรีนการ์ดใช้เป็นหลักฐานว่าผู้ถือบัตร ผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวรชอบด้วยกฎหมาย (lawful permanent resident) ได้รับผลประโยชน์การเข้าเมืองอย่างเป็นทางการ ซึ่งรวมการอนุญาตให้พำนักและเข้าทำงานในสหรัฐ ผู้ถือต้องคงไว้ซึ่งสถานภาพผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวร และอาจถูกขับออกจากสหรัฐได้หากไม่เป็นไปตามเงื่อนไขบางประการของสถานภาพนี้ เดิมราชการการเข้าเมืองและแปลงสัญชาติ (INS) เป็นผู้ออกกรีนการ์ด แต่รัฐบัญญัติความมั่นคงมาตุภูมิปี 2002 (Pub.

ดู สหรัฐและผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวร (สหรัฐ)

จอร์จ ลูคัส

อร์จ วอลตัน ลูคัส จูเนียร์ (George Walton Lucas, Jr.; เกิด 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1944) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง ผู้เขียนบทภาพยนตร์ ชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์ชุดมหากาพย์สตาร์ วอร์ส และอินเดียน่า โจนส์ อีกทั้งเป็นหนึ่งในบรรดาผู้กำกับและผู้ผลิตที่ประสบผลสำเร็จทางธุรกิจอุตสาหกรรมทางภาพยนตร์ โดยมีผลกำไรสุทธิที่ 3 พันล้านเหรียญสหรัฐในปี..

ดู สหรัฐและจอร์จ ลูคัส

จอร์จ วอชิงตัน

อร์จ วอชิงตัน (George Washington, 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1732 Engber, Daniel (2006).. (Both Franklin's and Washington's confusing birth dates are clearly explained.) Retrieved on June 17, 2009.วันเกิดและวันถึงแก่กรรมของจอร์จ วอชิงตันในที่นี้เป็นระบบปฏิทินเกรกอเรียน อย่างไรก็ดี ขณะที่เขาเกิด สหราชอาณาจักรและประเทศอาณานิคมทั้งหมดยังใช้ปฏิทินจูเลียนอยู่ ดังนั้นในบันทึกร่วมสมัยนั้นจึงระบุวันเกิดของเขาเป็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู สหรัฐและจอร์จ วอชิงตัน

จอร์จ ดับเบิลยู. บุช

รืออากาศโท จอร์จ วอล์กเกอร์ บุช (George Walker Bush) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 บุชสังกัดพรรครีพับลิกัน และเกิดในตระกูลบุชซึ่งเป็นตระกูลนักการเมืองตระกูลใหญ่ของสหรัฐอเมริกา โดยพ่อของเขาคือ จอร์จ บุช ประธานาธิบดีคนที่ 41 และน้องชายเขา เจบ บุช เป็นอดีตผู้ว่าการมลรัฐฟลอริดา ก่อนเริ่มเล่นการเมือง จอร์จ ดับเบิลยู บุชเป็นนักธุรกิจบ่อน้ำมัน และเป็นเจ้าของทีมเบสบอล เทกซัส เรนเจอร์ (Texas Rangers) เขาเริ่มเล่นการเมืองระดับท้องถิ่นโดยเป็นผู้ว่าการรัฐเทกซัสคนที่ 46 ชนะการเสนอชื่อลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีของพรรครีพับลิกัน และชนะการเลือกตั้งต่อรองประธานาธิบดี อัล กอร์ใน พ.ศ.

ดู สหรัฐและจอร์จ ดับเบิลยู. บุช

จอร์จ เกิร์ชวิน

อร์จ เกิร์ชวิน (George Gershwin; 26 กันยายน ค.ศ. 1898 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1937) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน มีผลงานในแนวดนตรีคลาสสิก และเพลงป็อบ โดยเป็นผู้ประพันธ์บทเพลงประกอบละครบรอดเวย์ที่มีชื่อเสียง ทั้งในนามส่วนตัว และผลงานร่วมกับไอรา เกิร์ชวิน พี่ชาย ที่เป็นผู้ประพันธ์คำร้อง ผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น ออร์เคสตราสำหรับเปียโน Rhapsody in Blue (1924), An American in Paris (1928) อุปรากร Porgy and Bess (1935) ซึ่งมีเพลงที่ไพเราะและได้รับชื่อเสียงอย่างมากคือ Summertimes และเพลงประกอบภาพยนตร์ Shall We Dance (1937) จอร์จ เกิร์ชวิน เดิมชื่อ ยาค็อบ เกิร์ชโชวิตซ์ (Jacob Gershowitz) บิดาเป็นชาวรัสเซียอพยพมาจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ชื่อ มอร์ริส เกิร์ชโชวิตซ์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อสกุลเป็น เกิร์ชวิน (Gershvin, สะกดด้วย v) จอร์จเป็นลูกคนที่สองในจำนวนสี่คน มีพี่ชายชื่อ อิสราเอล เกิร์ชโชวิตซ์ (ไอรา เกิร์ชวิน) มีน้องชายชื่อ อาร์เทอร์ และน้องสาวชื่อ ฟรานเชส จอร์จเป็นคนแรกในตระกูลเกิร์ชวินที่เปลี่ยนวิธีสะกดนามสกุล จาก "Gershvin" เป็น "Gershwin" จอร์จ เกิร์ชวินเริ่มชีวิตการแสดงดนตรีตั้งแต่อายุ 15 ปี และเริ่มมีผลงานบันทึกเสียงเมื่ออายุ 17 ปี ในปี..

ดู สหรัฐและจอร์จ เกิร์ชวิน

จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

อร์จ เฮอร์เบิร์ต วอล์กเกอร์ บุช (George Herbert Walker Bush) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 41 ของสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2532-พ.ศ. 2536) และเป็นบิดาของจอร์จ ดับเบิลยู.

ดู สหรัฐและจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช

จอห์น ฟอร์ด

อห์น ฟอร์ด (John Ford: 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1894 - 31 สิงหาคม ค.ศ. 1973) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายไอร์แลนด์ เขาโด่งดังจากภาพยนตร์ในแนวคาวบอย อย่างเช่นเรื่อง Stagecoach, The Searchers, และ The Man Who Shot Liberty Valance และภาพยนตร์ดัดแปลงจากบทประพันธ์คลาสสิกอเมริกันในศตวรรษที่ 20 อย่าง The Grapes of Wrath เขาได้รับรางวัลออสการ์ สาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม 4 ครั้ง (1935, 1940, 1941, 1952) ถือเป็นสถิติที่ได้รับรางวัลนี้มากที่สุด หนึ่งในการกำกับของเขา คือเรื่อง How Green Was My Valley ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ในอาชีพการทำงานของเขาที่ยาวนาน 50 ปี ฟอร์ดกำกับภาพยนตร์มากกว่า 140 เรื่อง (ถึงแม้ว่าภาพยนตร์เงียบเกือบทั้งหมดจะสูญหาย) และเขายังเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในบุคคลสำคัญและมีอิทธิพลต่อผู้สร้างภาพยนตร์ในรุ่นของเขา ผลงานภาพยนตร์ของฟอร์ด มักร่วมงานกับผู้ร่วมงานอย่าง อิงมาร์ เบิร์กแมน และออร์สัน เวล.

ดู สหรัฐและจอห์น ฟอร์ด

จอห์น ฟอน นอยมันน์

อห์น ฟอน นอยมันน์ ในช่วงปี ค.ศ. 1940 จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, 28 ธ.ค. ค.ศ. 1903 - 8 ก.พ. ค.ศ. 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้.

ดู สหรัฐและจอห์น ฟอน นอยมันน์

จอห์น มอนทากิว เอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช

อห์น มอนทากิว เอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช (John Montagu, 4th Earl of Sandwich) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษ ดำรงตำแหน่งทางทหารและตำแหน่งทางการเมืองที่สำคัญอย่าง ลอร์ดคนที่หนึ่งแห่งศาลพาณิชย์นาวี, อธิบดีกรมไปรษณีย์, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเหนือ อย่างไรก็ตาม ผู้คนจดจำเขามากที่สุดในฐานะที่เป็นผู้คิดค้นอาหารยอดนิยมอย่างแซนด์วิช จอห์น มอนทากิว เกิดในปี..

ดู สหรัฐและจอห์น มอนทากิว เอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิช

จอห์น สไตน์เบ็ค

อห์น เอิร์นส์ต สไตน์เบ็ค จูเนียร์ (John Ernst Steinbeck, Jr.; พ.ศ. 2445-2511) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกัน เกิดที่ ซาลีนาส รัฐแคลิฟอร์เนีย ได้รับรางวัลรางวัลพูลิตเซอร์ ค.ศ.

ดู สหรัฐและจอห์น สไตน์เบ็ค

จอห์น ดูอี

แสตมป์ของสหรัฐอเมริการูปจอห์น ดูอี จอห์น ดูอี (John Dewey) (20 ตุลาคม ค.ศ. 1859 – 1 มิถุนายน ค.ศ. 1952) เป็นนักปรัชญา นักจิตวิทยา และนักปฏิรูปการศึกษาชาวอเมริกัน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยเวอร์มอนต์ ในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและจอห์น ดูอี

จอห์น ดี. ร็อกเกอะเฟลเลอร์

อห์น ดี.

ดู สหรัฐและจอห์น ดี. ร็อกเกอะเฟลเลอร์

จอห์น เวย์น

อห์น เวย์น (John Wayne) (26 พฤษภาคม ค.ศ. 1907 – 11 มิถุนายน ค.ศ. 1979) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์และผู้สร้างชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำ เขามีรูปลักษณ์บึกบึนและถือเป็นสัญลักษณ์ของนักแสดงอเมริกันคนหนึ่ง เขายังมีน้ำเสียง ท่าเดิน และความสูงที่โดดเด่น เขาเป็นที่รู้จักดีเรื่องมุมมองการเมืองทางด้านอนุรักษ์ และเขาต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ในช่วงทศวรรษ 1950 ในปี 1999 สถาบันภาพยนตร์อเมริกัน ให้เขาอยู่อันดับ 13 ของนักแสดงที่เยี่ยมที่สุดตลอดการ ต่อมา Harris Poll ออกผลสำรวจในปี 2007 ให้เวย์นอยู่อันดับ 3 ของนักแสดงภาพยนตร์ที่เป็นที่ชื่นชอบที.

ดู สหรัฐและจอห์น เวย์น

จอห์น เคจ

อห์น เคจในปัจฉิมวัย จอห์น เคจ (John Cage) คีตกวี นักเปียโน นักเขียน และนักปรัชญาทางดนตรีชาวอเมริกัน เกิดที่เมือง ลอสแอนเจลิส เมื่อปี..

ดู สหรัฐและจอห์น เคจ

จอห์นสตันอะทอลล์

อห์นสตันอะทอลล์ จอห์นสตันอะทอลล์ (Johnston Atoll) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ทาง 1328 กิโลเมตรจากทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโฮโนลูลูของฮาวาย มีพื้นที่ทั้งหมด 2.63 ตารางกิโลเมตร บนเกาะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือมูลค้างคาว จอห์นสตันอะทอลล์เป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่แน่นอน ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จอห์นสตันอะทอลล์ยังมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง และมีท่าเรืออยู่บนเกาะจอห์นสตัน หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย.

ดู สหรัฐและจอห์นสตันอะทอลล์

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ดู สหรัฐและจักรวรรดิญี่ปุ่น

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ดู สหรัฐและจักรวรรดิรัสเซีย

จี7

ี7 (G7) หรือในอดีตคือ จี8 (G8, เพิ่มรัสเซีย) เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 7 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา โดยเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้นับเป็นกว่า 50% ของเศรษฐกิจโลก (ณ ปี 2012) นอกจากนั้น ยังมีประธานแห่งสหภาพยุโรปร่วมประชุมด้วย ในปี 2014 จากบทบาทของรัสเซียในวิกฤตการณ์ไครเมีย ทำให้รัสเซียถูกพักจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม และประเทศที่เหลือได้มีการจัดประชุมในนามจี7 อีกครั้ง.

ดู สหรัฐและจี7

ธีโอดอร์ โรสเวลต์

ีโอดอร์ รูสเวลต์ ธีโอดอร์ รูสเวลต์ (Theodore Roosevelt) (27 ตุลาคม พ.ศ. 2401 - 6 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 26 ของสหรัฐอเมริกา ผู้คนนิยมเรียกเขาว่า เท็ดดี้ ซึ่งรูสเวลต์นั้นคือแรงบรรดาลใจให้ก่อให้เกิดตุ๊กตาหมีในตำนานอย่าง หมีเท็ดดี้ ซึ่งหลายๆคนรู้จักดี แต่ในด้านการบริหารประเทศ รูสเวลต์ก็ไม่ได้น้อยหน้าใคร เขาได้ดำรงตำแหน่งติดต่อกันถึง 2 สมัย 8 ปี และใบหน้าของเขาก็ได้ถูกสลักไว้ในอนุสรณ์สถานแห่งชาติเมานต์รัชมอร์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เขาหรือรูสเวลต์เป็นประธานาธิบดีที่มีความสามารถมากคนหนึ่งของอเมริกา มีบทบาทและทรงอิทธิพลคนหนึ่ง ที่สำคัญเขายังได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติสูงสุดในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและธีโอดอร์ โรสเวลต์

ถั่วเหลือง

ั่วเหลือง เป็นพืชเศรษฐกิจที่เหมาะสำหรับปลูกสลับกับการปลูกข้าว ได้มีรายงานการปลูกถั่วเหลืองในประเทศจีนเมื่อเกือบ 5,000 ปีมาแล้ว แต่ก็ยังไม่แน่ชัดว่าส่วนใดของประเทศจีนเป็นถิ่นกำเนิดที่สันนิษฐานและยอมรับกันโดยทั่วไปคือบริเวณหุบเขาแม่น้ำเหลือง (ประมาณเส้นรุ้งที่ 35 องศาเหนือ) เพราะว่าอารยธรรมของจีนได้ถือกำเนิดที่นั่น และประกอบกับมีการจารึกครั้งแรกเกี่ยวกับถั่วเหลือง เมื่อ 2295 ปีก่อนพุทธกาล ที่หุบเขาแม่น้ำเหลือง จากนั้นถั่วเหลืองได้แพร่กระจายสู่ประเทศเกาหลีและญี่ปุ่น เมื่อ 200 ปีก่อนคริสตกาล แล้วเข้าสู่ยุโรปในช่วงหลัง..

ดู สหรัฐและถั่วเหลือง

ทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติ เกิดขึ้นตามธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมที่ค่อนข้างปลอดการรบกวนจากมนุษย์ ในรูปแบบของธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติมักมีลักษณะของปริมาณความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายของภูมิประเทศในหลายระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติมาจากสิ่งแวดล้อม บางทรัพยากรสำคัญต่อการดำรงชีพของมนุษย์ ขณะที่ส่วนใหญ่ถูกใช้เพื่อตอบสนองความต้องการ ทรัพยากรธรรมชาติยังอาจจำแนกต่อไปได้อีกหลายวิธีเช่นการทำสิ่งต่างๆที่เป็นประโยช ทรัพยากรธรรมชาติเป็นวัสดุและองค์ประกอบที่สามารถพบได้ในสิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ทุกอย่างที่มนุษย์ทำขึ้นประกอบด้วยทรัพยากรธรรมชาติ (ในระดับมูลฐาน) ทรัพยากรธรรมชาติอาจมีเป็นสิ่งแยกกัน เช่น น้ำและอากาศบริสุทธิ์ เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอย่างปลา หรืออาจมีอยู่ในรูปผลัด (alternative) ที่ต้องผ่านขบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากร เช่น แร่โลหะ น้ำมันและพลังงานรูปส่วนใหญ่ มีการถกเถียงอย่างมากทั่วโลกในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งบางส่วนเป็นเพราะความขาดแคลนที่เพิ่มขึ้น (การหมดไปของทรัพยากร) แต่ยังเนื่องจากการส่งออกทรัพยากรธรรมชาติเป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจหลายประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับประเทศพัฒนาแล้ว) บางทรัพยากรธรรมชาติสามารถพบได้ทุกหนแห่ง เช่น แสงอาทิตย์และอากาศ อย่างไรก็ดี ทรัพยากรส่วนมากมิได้พบทั่วไป เพียงเกิดขึ้นในพื้นที่เล็ก ๆ กระจัดกระจายกัน ทรัพยากรกลุ่มนี้เรียกว่า ทรัพยากรท้องถิ่น มีทรัพยากรน้อยชนิดมากที่ถูกพิจารณาว่าใช้แล้วไม่หมด (inexhaustible) คือ จะไม่หมดไปในอนาคตอันใกล้ ทรัพยากรกลุ่มนี้ ได้แก่ รังสีดวงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ และอากาศ (แม้การเข้าถึงอากาศที่สะอาดอาจหมดไปได้) อย่างไรก็ดี ทรัพยากรส่วนใหญ่เป็นประเภทที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible) หมายความว่า มีปริมาณจำกัด และหมดไปได้หากจัดการอย่างไม่เหมาะสม ทรัพยากรธรรมชาติเป็นวัสดุ ซึ่งสิ่งมีชีวิตสามารถได้รับจากธรรมชาติเพื่อดำรงชีพหรือองค์ประกอบอื่นของสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติที่มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์ได้เพื่อเพิ่มสวัสดิการของตนก็ถูกพิจารณาว่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติเช่นกัน.

ดู สหรัฐและทรัพยากรธรรมชาติ

ทรานซิสเตอร์

ทรานซิสเตอร์ (transistor) เป็นอุปกรณ์สารกึงตัวนำที่สามารถควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนได้ ใช้ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า, เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า, ควบคุมแรงดันไฟฟ้าให้คงที่, หรือกล้ำสัญญาณไฟฟ้า (modulate) เป็นต้น การทำงานของทรานซิสเตอร์เปรียบได้กับวาล์วควบคุมที่ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่ขาเข้า เพื่อปรับขนาดกระแสไฟฟ้าขาออกที่จ่ายมาจากแหล่งจ่ายไฟ ทรานซิสเตอร์ประกอบด้วยวัสดุเซมิคอนดักเตอร์ที่มีอย่างน้อยสามขั้วไฟฟ้าเพื่อเชื่อมต่อกับวงจร ภายนอก แรงดันหรือกระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้กับขั้วทรานซิสเตอร์หนึ่งคู่ จะมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระแสที่ไหลผ่านในขั้วทรานซิสเตอร์อีกคู่หนึ่ง เนื่องจากพลังงานที่ถูกควบคุม (เอาต์พุต)จะสูงกว่าพลังงานที่ใช้ในการควบคุม (อินพุท) ทรานซิสเตอร์จึงสามารถขยายสัญญาณได้ ปัจจุบัน บางทรานซิสเตอร์ถูกประกอบขึ้นมาต่างหากแต่ยังมีอีกมากที่พบฝังอยู่ใน แผงวงจรรวม ทรานซิสเตอร์เป็นการสร้างบล็อกพื้นฐานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย ​​และเป็นที่แพร่หลายในระบบอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม.

ดู สหรัฐและทรานซิสเตอร์

ทวิตเตอร์

ทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จำพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 280 ตัวอักษร ว่าตนเองกำลังทำอะไรอยู่ โดยเรียกการส่งข้อความนี้ว่า ทวีต (Tweet) ซึ่งแปลว่า เสียงนกร้อง ทวิตเตอร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม..

ดู สหรัฐและทวิตเตอร์

ทวีปอเมริกาเหนือ

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ (North America; Amérique du Nord; América del Norte; Nordamerika) เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากทวีปเอเชียและแอฟริกาตามลำดับ ประกอบด้วยภูมิภาคอเมริกาเหนือและอเมริกากลาง ซึ่งแบ่งแยกกันอย่างชัดเจนตามขอบเขตของประเทศโดยมีแม่น้ำริโอแกรนด์เป็นแนวเขตแดน ภูมิภาคอเมริกาเหนือมีเพียง 2 ประเทศ คือ ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนอเมริกากลางใช้ภาษาสเปนเป็นหลัก ประกอบด้วยประเทศทั้งใหญ่และเล็ก รวมถึงประเทศที่เป็นหมู่เกาะจำนวน 23 ประเทศ โดยกรีนแลนด์เป็นประเทศอยู่เหนือที่สุด และประเทศปานามาอยู่ใต้สุด มีพรมแดนติดกับทวีปอเมริกาใต้ สภาพโดยรวมแล้วประชากรในอเมริกาเหนือมีชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่าอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาเหนือได้แก่พื้นที่ตอนเหนือทั้งหมดของดินแดนที่เรียกว่า โลกใหม่ ซีกโลกตะวันตก หรือ ทวีปอเมริกา อเมริกาเหนือมีส่วนเชื่อมต่อกับทวีปอเมริกาใต้บริเวณคอคอดปานามา ผู้เชี่ยวชาญบางคนกล่าวว่าอเมริกาเหนือไม่ได้เริ่มจากคอคอดปานามา แต่เริ่มจากคอคอดเตวานเตเปก (Tehuantepec) ในประเทศเม็กซิโก ซึ่งอยู่ในอเมริกากลาง.

ดู สหรัฐและทวีปอเมริกาเหนือ

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู สหรัฐและทวีปเอเชีย

ทอมัส พินชอน

ทอมัส พินชอน (Thomas Pynchon; เกิด 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2480) เป็นนักเขียนชาวอเมริกัน ผลงานของเขามักมีเนื้อหาซับซ้อน เกี่ยวข้องกับแนวคิดโมเดิร์นชั้นสูงและโพสต์โมเดิร์น นวนิยายลำดับที่ 3 Gravity's Rainbow ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในผลงานชิ้นเอกของ.

ดู สหรัฐและทอมัส พินชอน

ทอมัส เอดิสัน

''A Day with Thomas Edison'' (1922) ทอมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) เป็นนักประดิษฐ์และนักธุรกิจชาวอเมริกัน ผู้ซึ่งประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สำคัญต่าง ๆ มากมาย ได้ฉายา "พ่อมดแห่งเมนโลพาร์ก" เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มนำหลักการของ การผลิตจำนวนมาก และ กระบวนการประดิษฐ์ มาประยุกต์รวมกัน ทอมัส เอดิสัน มักจะถูกเข้าใจผิดว่าเป็นผู้คิดค้นหลอดไฟ แต่ในความเป็นจริงเขาเป็นบุคคลแรกที่จดสิทธิบัตรในการประดิษฐ์หลอดไฟจากนักวิทยาศาสตร์กว่า 20 คนที่คิดค้นหลอดไฟ และสามารถนำมาทำเป็นธุรกิจได้ เอดิสันยังคงเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) บริษัทเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ของโลก และก่อตั้งอีกหลายบริษัทในด้านไฟฟ้า หนึ่งในบริษัทของเอดิสันยังเป็นผู้คิดค้นเก้าอี้ไฟฟ้าสำหรับประหารชีวิตนักโทษอีกด้วย เอดิสันยังคงเป็นบุคคลสำคัญในสงครามกระแสไฟฟ้า (War of Currents) โดยเอดิสันพยายามผลักดันระบบไฟฟ้ากระแสตรงของบริษัท แข่งกับระบบไฟฟ้ากระแสสลับของจอร์จ เวสติงเฮาส์ (George Westinghouse) โดยพนักงานในบริษัทของเขาได้โฆษณาชวนเชื่อความอันตรายของไฟฟ้ากระแสสลับโดยการฆ่าหมาแมวเป็นจำนวนหลายตัว.

ดู สหรัฐและทอมัส เอดิสัน

ทอมัส เอคินส์

ทอมัส คาวเพิร์ทเวต เอคินส์ (Thomas Cowperthwait Eakins; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1844 - 25 มิถุนายน ค.ศ. 1916) เป็นจิตรกร ประติมากร ช่างภาพ และนักการศึกษาวิจิตรศิลป์คนสำคัญชาวอเมริกันของขบวนการสัจนิยม ทอมัส เอคินส์เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นศิลปินคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประวัติศาสตร์ศิลป์อเมริกัน ตลอดอายุงานอาชีพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1870 จนกระทั่งในบั้นปลาย ทอมัส เอคินส์เลือกหัวข้อที่ดึงมาจากผู้คนจากบ้านเกิดที่ฟิลาเดลเฟีย เอคินส์เขียนภาพเหมือนหลายร้อยภาพ ที่มักจะเป็นภาพของเพื่อน สมาชิกในครอบครัว หรือบุคคลสำคัญในวงการศิลปะ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการศาสนา เมื่อดูอย่างรวมรวมแล้วก็เป็นภาพเขียนที่สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของปัญญาชนของฟิลาเดลเฟียในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษ 20 แต่เมื่อพิจารณาเป็นภาพ ๆ ไปก็จะเป็นภาพของคนที่กำลังคิด นอกจากนั้นแล้วเอคินส์ก็เขียนภาพขนาดใหญ่หลายภาพที่เป็นการนำภาพเหมือนออกมาจากห้องนั่งเล่นเข้ามาในสำนักงาน ถนน อุทยาน แม่น้ำ เวที และห้องผ่าตัดของเมือง การเขียนนอกสถานที่ทำให้เอคินส์สามารถเขียนในสิ่งที่ได้รับแรงบันดาลใจมากที่สุด ภาพเปลือย หรือกึ่งเปลือยกำลังเคลื่อนไหว ในขณะเดียวกันเอคินส์ก็สามารถจัดการวางรูปทรงของตัวแบบในแสงที่จัดจ้า หรือจัดให้ดูลึกโดยใช้การศึกษาทางทัศนมติเข้าช่วย สิ่งที่สำคัญพอ ๆ กับการสร้างงานศิลปะคืองานทางด้านการเป็นนักการศึกษา ในฐานะครูเอคินส์เป็นผู้มีอิทธิพลเป็นอันมากในงานทัศนศิลป์ของสหรัฐอเมริก.

ดู สหรัฐและทอมัส เอคินส์

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน

ทอมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) (เกิดวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1743 - วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1826)The birth and death of Thomas Jefferson are given using the Gregorian calendar.

ดู สหรัฐและทอมัส เจฟเฟอร์สัน

ทอร์นาโด

ทอร์นาโดที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ทอร์นาโด หรือ ทอร์เนโด (tornado) หรือ ลมงวง (ช้าง) เป็นพายุที่เกิดจากการหมุนของอากาศ สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ โดยลักษณะที่พบได้บ่อยที่สุดคือลักษณะรูปทรงกรวย โดยส่วนปลายโคนชี้ลงที่พื้น ทอร์นาโดสามารถก่อพลังทำลายได้สูง โดยความเร็วลมสามารถสูงมากถึง 500 กม/ชม (300 ไมล์/ชม) ซึ่งก่อให้เกิดการพังทลายของสิ่งก่อสร้างได้ ถึงแม้ว่าทอร์นาโดส่วนใหญ่เกิดในสหรัฐอเมริกา ทอร์นาโดยังสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกทวีปและในหลายประเทศ อาทิเช่น ประเทศญี่ปุ่นมีการเกิดประมาณปีละ 20 ครั้ง.

ดู สหรัฐและทอร์นาโด

ทะเลทรายโมฮาวี

right ทะเลทรายโมฮาวี (Mojave Desert) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา ทางใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนียด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของนครลอสแอนเจลิส มีเนื้อที่ประมาณ 39,000 ตารางกิโลเมตร ทะเลทรายโมฮาวีมีภูเขาล้อมรอบโดยทิศเหนือและทิศตะวันตกเป็นเทือกเขาเซียร์ราเนวาดา ทิศตะวันออกเฉียงใต้เชื่อมต่อกับทะเลทรายโคโลราโด พื้นทะเลทรายเป็นหินชั้นอุดมได้ด้วยแร่ธาตุต่างๆ มีฝนตกเพียงปีละ 115 มิลลิเมตร.

ดู สหรัฐและทะเลทรายโมฮาวี

ทะเลแคริบเบียน

แผนทีภูมิภาคอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนมองจากอวกาศ (ด้านบนซ้าย) ทะเลแคริบเบียน (Caribbean Sea, หรือ; Mar Caribe) เป็นทะเลเขตร้อนในซีกโลกตะวันตก ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเม็กซิโก ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแผ่นเปลือกโลกแคริบเบียน โดยทางทิศใต้จดทวีปอเมริกาใต้ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้จดประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง และทางทิศเหนือและทิศตะวันออกจดหมู่เกาะแอนทิลลีส ได้แก่ เกาะคิวบา เกาะฮิสปันโยลา เกาะจาเมกา และเกาะเปอร์โตริโกในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีสทางทิศเหนือ ส่วนหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (เช่น เกาะแองกวิลลา เกาะดอมินีกา เกาะเซนต์ลูเซีย) อยู่ทางทิศตะวันออก พื้นที่ทั้งหมดของทะเลแคริบเบียน หมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลนี้ และชายฝั่งที่ติดต่อกัน รวมเรียกกันในชื่อภูมิภาคแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนเป็นหนึ่งในทะเลที่ใหญ่ที่สุด มีเนื้อที่ประมาณ 2,754,000 ตารางกิโลเมตร (1,063,000 ตารางไมล์) จุดที่ลึกที่สุดของทะเลนี้คือ Cayman Trough อยู่ระหว่างคิวบากับจาเมกา ที่ความลึก 7,686 เมตร (25,220 ฟุต) ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ชายฝั่งแคริบเบียนมีอ่าวอยู่หลายแห่ง เช่น อ่าวเวเนซุเอลา อ่าวดาริเอน อ่าวโมสกิโตส และอ่าวฮอนดูรั.

ดู สหรัฐและทะเลแคริบเบียน

ทำเนียบขาว

ทำเนียบขาว (White House) เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการและสถานที่ทำงานหลักของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1600 ถนนเพนซิลเวเนีย เขตตะวันตกเฉียงเหนือ วอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและทำเนียบขาว

ทุนนิยม

"พีระมิดระบบทุนนิยม" ถูกตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ในปี..

ดู สหรัฐและทุนนิยม

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ตสฟีลด์-แจ็กสัน แอตแลนตา (Hartsfield-Jackson Atlanta International Airport) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานแอตแลนตา, ท่าอากาศยานฮาร์ตสฟีลด์ หรือเรียกอย่างย่อว่า ฮาร์ตสฟีลด์ ตั้งอยู่บริเวณชานเมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา เป็นท่าอากาศยานที่ความหนาแน่นมากที่สุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารและเที่ยวบินขึ้น-ลง มาตั้งแต่ปี..

ดู สหรัฐและท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา

ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกโอแฮร์ (Chicago O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ ชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์, สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองชิคาโกไปทางตัวะนตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร (17 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ บริหารงานโดยกรมขนส่งทางอากาศเมืองชิคาโก (City of Chicago Department of Aviation) ก่อนหน้าปี..

ดู สหรัฐและท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์

ข้าวโพด

ลักษณะของข้าวโพด ''Zea mays "fraise"'' ''Zea mays "Oaxacan Green"'' ''Zea mays "Ottofile giallo Tortonese”'' ข้าวโพด (Linn.) ชื่ออื่นๆ ข้าวสาลี สาลี (เหนือ) คง (กระบี่) โพด (ใต้) บือเคเส่ะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) เป็นพืชตระกูลเดียวกับหญ้ามีลำต้นสูง โดยเฉลี่ย 2.2 เมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้น 0.5-2.0 นิ้ว เมล็ดจากฝักใช้เป็นอาหารคนและสัตว.

ดู สหรัฐและข้าวโพด

ดอลลาร์สหรัฐ

100 ดอลลาร์สหรัฐ ธนบัตรที่มีค่ามากสุดในสหรัฐในปัจจุบัน ดอลลาร์สหรัฐ (United States dollar; ในเอกสารเก่าอาจพบการใช้ เหรียญสหรัฐ) เป็นสกุลเงินของประเทศสหรัฐอเมริกา และยังใช้เป็นสกุลเงินสำรองในหลายประเทศทั่วโลก รหัสสากลคือ ISO 4217 ใช้ตัวย่อว่า USD และสัญลักษณ์ $ โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐมีค่าเท่ากับเกือบ 34 บาท (baht) สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศหนึ่งที่ใช้หน่วยเงิน ดอลลาร์ เป็นสกุลเงินประจำชาติ และยังมีประเทศอื่นที่มีเงินดอลลาร์เช่นกัน แต่ใช้ชื่อเรียกอื่น เช่น ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ไต้หวัน นอกจากนี้ ดอลลาร์สหรัฐ ยังเป็นสกุลเงินหลักในหลายประเทศ และในบางประเทศถึงแม้ว่าดอลลาร์สหรัฐไม่ใช่สกุลเงินหลัก แต่ยังมีการยอมรับในการใช้จ่ายสินค้าทั่วไป ชื่อเล่นที่ชาวอเมริกันเรียก 1 เซนต์ ว่า "เพนนี" (penny), 5 เซนต์ ว่า "นิกเกิล" (nickel), 10 เซนต์ ว่า "ไดม์" (dime), 25 เซนต์ ว่า "ควอเตอร์" (quarter), 1 ดอลลาร์สหรัฐ ว่า "บั๊ก (ภาษาสแลง, ภาษาพูด)" (buck) และเรียก หนึ่งพันดอลลาร์สหรัฐ ว่า แกรนด์ (grand).

ดู สหรัฐและดอลลาร์สหรัฐ

ดอนัลด์ ทรัมป์

อนัลด์ จอห์น ทรัมป์ (Donald John Trump; เกิด 14 มิถุนายน ค.ศ. 1946) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 45 และยังเป็นนักธุรกิจ, พิธีกรรายการโทรทัศน์ และนักแสดงรับเชิญในภาพยนตร์หลายเรื่อง เขาเป็นประธานและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ของบริษัททรัมป์ออร์กาไนเซชัน ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา ทรัมป์ยังเป็นผู้ก่อตั้งทรัมป์เอนเตอร์เทนเมนต์รีสอร์ต ที่มีกิจการกาสิโนและโรงแรมหลายแห่งทั่วโลก และด้วยการใช้ชีวิตที่หรูหราและการพูดจาที่โผงผางทำให้เขามีชื่อเสียง ยังเป็นส่วนให้เขาประสบความสำเร็จในรายการเรียลลิตี้โชว์ทางช่องเอ็นบีซี ที่ชื่อ The Apprentice (ที่เขารับตำแหน่งพิธีกรและผู้อำนวยการสร้าง) ดอนัลด์เกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก เขาเป็นบุตรคนที่ 4 ใน 5 ของเฟรด ทรัมป์ เศรษฐีผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในนครนิวยอร์ก ดอนัลด์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากพ่อของเขาในเป้าหมายของอาชีพการเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และในครั้งจบการศึกษาจากโรงเรียนธุรกิจวอร์ตันแห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ในปี..

ดู สหรัฐและดอนัลด์ ทรัมป์

ดัชนีการพัฒนามนุษย์

ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index: HDI) คือดัชนีทางสถิติแบบองค์รวมที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการคาดหมายคงชีพ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อหัว ซึ่งใช้จัดลำดับการพัฒนามนุษย์ในแต่ละประเทศเป็น 4 กลุ่ม ยิ่งประเทศใดมีระดับการคาดหมายคงชีพ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อหัวมาก ก็จะยิ่งส่งผลให้ระดับการพัฒนามนุษย์มากตามไปด้วย ทั้งนี้ดัชนีดังกล่าวถูกพัฒนาโดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถาน มาห์บับ อุล ฮัก ร่วมกับนักเศรษฐศาสตร์ชาวอินเดีย อมรรตยะ เสน ซึ่งได้วางกรอบการศึกษาไว้ว่าผู้คนสามารถที่จะ "เป็น" หรือ "กระทำ" สิ่งที่ตนปรารถนาในชีวิตได้หรือไม่ และเผยแพร่รายงานการศึกษาโดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี..

ดู สหรัฐและดัชนีการพัฒนามนุษย์

ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน

ัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index: CPI) หรือดัชนีการรับรู้การทุจริตจัดอันดับโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ซึ่งเป็นองค์การนานาชาติ ก่อตั้งในประเทศเยอรมนี ได้เริ่มมีการจัดทำดัชนีตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน

ดัชนีราคาผู้บริโภค

ัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index: CPI) หมายถึง ตัวเลขทางสถิติที่ใช้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการที่ครอบครัวหรือผู้บริโภคซื้อหามาบริโภคเป็นประจำ ในปัจจุบันเปรียบเทียบกับราคาในปีที่กำหนดไว้เป็นปีฐาน.

ดู สหรัฐและดัชนีราคาผู้บริโภค

ดัชนีประชาธิปไตย

'''ดัชนีประชาธิปไตย เมื่อปี ค.ศ. 2015''' ดัชนีประชาธิปไตย เริ่มสำรวจครั้งแรกในปี..

ดู สหรัฐและดัชนีประชาธิปไตย

ดุค เอลลิงตัน

นเนดี "ดุ๊ค" เอลลิงตัน (29 มีนาคม ค.ศ. 1899 - 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1974) เป็นนักแต่งเพลงชาวอเมริกันเปียโนและดรัมเมเยอร์ของวงดนตรีแจ๊สซึ่งเขานำจาก 2466 จนตายในอาชีพที่ทอดมานานกว่าห้าสิบปี เกิดที่วอชิงตัน ดี.ซี.

ดู สหรัฐและดุค เอลลิงตัน

ดี. ดับเบิลยู. กริฟฟิท

วิด เลเวลิน วาร์ก "ดี.

ดู สหรัฐและดี. ดับเบิลยู. กริฟฟิท

ดีซีคอมิกส์

ลโก้ ดีซีฟิลม์ ดีซีคอมิกส์ (DC Comics) เป็นสำนักพิมพ์หนังสือการ์ตูนอเมริกาที่ใหญ่และประสบความสำเร็จที่สุดแห่งหนึ่ง ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของดีซีเอนเตอร์เทนเมนท์ซึ่งเป็นบริษัทลูกของวอร์เนอร์ บราเดอร์ส เอนเตอร์เทนเมนต์ ซึ่งมีเจ้าของใหญ่คือไทม์ วอร์เนอร์ ดีซีคอมิกส์จัดพิมพ์หนังสือการ์ตูนและมีตัวละครที่มีชื่อเสียงมากมาย เช่น ซูเปอร์แมน แบทแมน วันเดอร์วูแมน โรบิน อะควอแมน ฮอว์คแมน กรีนแอร์โรว์ มาร์เชี่ยนแมนฮันเตอร์ กรีนแลนเทิร์น แฟลช และทีมซูเปอร์ฮีโร เช่น จัสติสโซไซตีออฟอเมริกา จัสติสลีก ทีนไททันส์ ดูมแพโทรล และตัวละครตัวร้ายเช่นเล็กซ์ ลูเธอร์ โจ๊กเกอร์ ริดเดลอร์ มิสเตอร์ฟรีซ แคทวูแมน ซิเนสโตร เพนกวิน ทูเฟซ นายพลซ็อด เบรนิแอก ฮาร์ลีย์ ควินน์ ดาร์กไซด์ และโลโบ เป็นต้น ชื่อ DC มาจากตัวย่อของหัวหนังสือที่เคยได้รับความนิยมที่สุดของสำนักพิมพ์คือ Detective Comics.

ดู สหรัฐและดีซีคอมิกส์

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus), กริสโตบัล โกลอน (Cristóbal Colón), คริสโตโฟรุส โกลุมบุส (Christophorus Columbus) หรือ กริสตอโฟโร โกลอมโบ (Cristoforo Colombo; เกิด ค.ศ.

ดู สหรัฐและคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ความดันโลหิตสูง

รคความดันโลหิตสูง (hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่ำสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลำดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภาพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจำเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท) ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้น ประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง 160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี.

ดู สหรัฐและความดันโลหิตสูง

ความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ

วามตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade Agreement, NAFTA; Accord de libre-échange nord-américain, ALÉNA; Tratado de Libre Comercio de América del Norte, TLCAN) หรือเรียกคำย่อว่า นาฟตา (NAFTA) เป็นองค์กรทางเศรษฐกิจในทวีปอเมริกาเหนือ ในการที่จะร่วมมือกันแสวงหาตลาดส่งออกและลดต้นทุนการผลิตสินค้า เพื่อให้มีราคาถูกลง สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้หลังจากที่สหภาพยุโรป ได้แก้ปัญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอย โดยการเปิดตลาดเสรีเป็นตลาดเดียวแล้ว ผู้นำแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาและเม็กซิโกได้จัดประชุมกันเมื่อ..

ดู สหรัฐและความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ

ควน ปอนเซ เด เลออน

ควน ปอนเซ เด เลออน (Juan Ponce de León; ค.ศ. 1474 – กรกฎาคม ค.ศ. 1521) เป็นนักสำรวจและกองกิสตาดอร์ชาวสเปน เขาเป็นผู้ว่าราชการเปอร์โตริโกคนแรกโดยพระมหากษัตริย์สเปนทรงแต่งตั้ง เขานำคณะสำรวจยุโรปคณะแรกเท่าที่ทราบไปลาฟลอริดาที่เขาตั้งชื่อ และสัมพันธ์กับตำนานน้ำพุแห่งความเยาว์วัย (Fountain of Youth) ซึ่งเชื่อว่าอยู่ในฟลอริดา หมวดหมู่:นักสำรวจคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:กองกิสตาดอร์สเปน หมวดหมู่:ยุคการสำรวจ หมวดหมู่:นักสำรวจทวีปอเมริกาเหนือ.

ดู สหรัฐและควน ปอนเซ เด เลออน

คอมมอนลอว์

ระบบกฎหมายทั่วโลก ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์ (Common law) เป็นกฎหมายซึ่งพัฒนาขึ้นโดยผู้พิพากษาผ่านทางการตัดสินคดีความของศาล และศาลชำนัญพิเศษอื่น ๆ มากกว่าผ่านทางพระราชบัญญัติของฝ่ายนิติบัญญัติ หรือการดำเนินการของฝ่ายบริหาร "ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์" เป็นระบบกฎหมายซึ่งให้น้ำหนักในการปฏิบัติตามคำพิพากษาที่มีมาก่อนเป็นอย่างมาก บนแนวคิดซึ่งเชื่อว่าจะเป็นการอยุติธรรมหากตัดสินดำเนินคดีต่อข้อเท็จจริงที่คล้ายคลึงกันในโอกาสที่ต่างกัน ทำให้การตัดสินคดีตาม "คอมมอนลอว์" ผูกมัดการตัดสินคดีในอนาคตตามไปด้วย ในกรณีซึ่งมีกลุ่มผู้ไม่เห็นด้วยกับกฎหมายดังกล่าว ศาลคอมมอนลอว์ที่เหมาะสมที่สุดจะตรวจสอบการตัดสินคดีที่ผ่านมาของศาลที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน หากข้อพิพาทที่คล้ายคลึงกันได้รับการแก้ไขแล้วในอดีต ศาลจะถูกผูกมัดให้ตัดสินคดีตามการให้เหตุผลซึ่งใช้ในการตัดสินคดีครั้งก่อน ๆ อย่างไรก็ตาม หากศาลพบว่าข้อพิพาทในปัจจุบันมีความแตกต่างอย่างชัดเจนกับการตัดสินดคีในอดีตทั้งหมด ผู้พิพากษาจะมีอำนาจและหน้าที่ที่จะสร้างกฎหมายโดยการริเริ่มเป็นแบบอย่าง ภายหลังจากนั้น การตัดสินคดีครั้งนี้จะเป็นตัวอย่างแก่การตัดสินคดีครั้งต่อไป ซึ่งศาลในอนาคตจะต้องยึดมั่น ในทางปฏิบัติ ระบบคอมมอนลอว์เป็นระบบซึ่งมีความซับซ้อนยิ่งกว่าคุณสมบัติอันเป็นอุดมคติดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น การตัดสินดำเนินดคีของศาลจะถูกผูกมัดในเฉพาะเขตอำนาจศาลที่เฉพาะเท่านั้น และกระทั่งภายในเขตอำนาจศาลที่กำหนด ศาลบางส่วนก็มีอำนาจยิ่งกว่าศาลทั่วไป อาทิเช่น ในการตัดสินคดีส่วนใหญ่ การตัดสินคดีโดยศาลอุทธรณ์จะถูกผูกมัดตามการตัดสินของศาลชั้นต่ำกว่าในการตัดสินดคีความที่มีลักษณะอย่างเดียวกัน และการตัดสินคดีในอนาคตจะถูกผูกมัดตามการตัดสินของศาลอุทธรณ์นี้ แต่มีเพียงการตัดสินของศาลชั้นต่ำกว่าเป็นอำนาจซึ่งไม่ถูกผูกมัดโน้มน้าว ระบบกฎหมาย หมวดหมู่:กฎหมายทรัพย์สิน.

ดู สหรัฐและคอมมอนลอว์

คันทรี (แนวดนตรี)

นตรีคันทรี (Country music) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยมเกิดในแถบสหรัฐอเมริกาทางตอนใต้และทางภูเขาแอพพาลาเชียน มีต้นกำเนิดจากดนตรีโฟล์ก, ดนตรีเคลติก, ดนตรีกอสเปล และดนตรีโอลด์-ไทม์ และพัฒนาอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ 1920Peterson, Richard A.

ดู สหรัฐและคันทรี (แนวดนตรี)

คาทอลิก

ทอลิก (Catholic มาจากภาษากรีกคำว่า καθολικός) แปลว่า สากล ทั่วไป เป็นรูปแบบหนึ่งในศาสนาคริสต์ ที่มีแนวศรัทธา เทววิทยา หลักความเชื่อ พิธีกรรม จริยศาสตร์ จิตวิญญาณ พฤติกรรม เป็นลักษณะเฉพาะของตน ตลอดจนประชากรในนิกายนั้น คำว่าคาทอลิก มีความหมายโดยสรุปได้ 3 อย่าง คือ.

ดู สหรัฐและคาทอลิก

คาซาบลังกา (ภาพยนตร์)

ซาบลังกา (Casablanca) เป็นภาพยนตร์รักอเมริกัน ที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1942 กำกับโดยไมเคิล เคอร์ติซ นำแสดงโดยฮัมฟรีย์ โบการ์ต อิงกริด เบิร์กแมน และพอล เฮนรีด และมีโคลด เรนส์ คอนราด วีดท์ ซิดนีย์ กรีนสตรีท ปีเตอร์ ลอรร์ และดูลีย์ วิลสัน เป็นนักแสดงสบท.

ดู สหรัฐและคาซาบลังกา (ภาพยนตร์)

คานเย เวสต์

นเย โอมารี เวสต์ เกิดเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2520 เป็นนักร้องแนวแร็ป, โปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน เป็นเจ้าของรางวัลแกรมมี่ 21 รางวัลและเป็นหนึ่งในสิบของผู้คว้ารางวัลแกรมมี่มากที่สุดติดอันดับร่วมกับ จอห์น วิลเลียม และมียอดขายถึง 132 ล้านยูนิตทั่วโลก คานเยได้ออกอัลบั้มแรกชื่อชุด The College Dropout ซึ่งประสบความสำเร็จกับเพลงที่ชื่อว่า "Jesus Walk" อัลบั้มชุดที่ 2 ชื่อ Late Registration ซึ่งได้รับการยกย่องมากกว่าอัลบัมแรกและมีเพลงที่ได้ที่ 1 บนชาร์ต Billboard 100 ที่มีชื่อว่า "Gold Digger" เขาได้ออกอัลบัมชุดที่ 3 ที่มีชื่อชุดว่า Graduation ในวันที่ 11 กันยายน..

ดู สหรัฐและคานเย เวสต์

คาไว

กาะคาไว เกาะคาไว (Kauaʻi หรือ Kauai) เป็นเกาะที่เก่าแก่ที่สุดทางธรณีวิทยาของหมู่เกาะฮาวาย มีพื้นที่ 562.3 ตร.ไมล์ (1,456.4 กม2) เป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของหมู่เกาะฮาวาย และเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 21 ของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะโอวาฮู จากการสำรวจประชากรในปี..

ดู สหรัฐและคาไว

คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา

วาดคณะกรรมการร่างคำประกาศอิสรภาพยื่นร่างให้กับรัฐสภาอเมริกา โดยภาพนี้พบได้ในธนบัตรสองดอลลาร์ด้วย คำประกาศอิสรภาพแห่งสหรัฐ (United States Declaration of Independence) เป็นแถลงการณ์ซึ่งสภาภาคพื้นทวีปลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ดู สหรัฐและคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา

คิงแมนรีฟ

แผนที่คิงแมนรีฟ คิงแมนรีฟ (Kingman Reef) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ อยู่ระหว่างอเมริกันซามัวและรัฐฮาวาย มีพื้นที่ทั้งหมด 1 ตารางกิโลเมตร บนเกาะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือสัตว์น้ำ คิงแมนรีฟเป็นแนวปะการังขนาดเล็ก จึงเป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัยอยู่แน่นอนและไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:แนวปะการัง หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย.

ดู สหรัฐและคิงแมนรีฟ

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.

ดู สหรัฐและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

คณะรัฐมนตรีสหรัฐ

ณะรัฐมนตรีสหรัฐ (Cabinet of the United States) เป็นคณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่สุดในฝ่ายบริหารรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา และบุคคลเหล่านี้โดยปรกติแล้วเป็นเจ้ากระทรวงฝ่ายบริหารในรัฐบาลกลางด้ว.

ดู สหรัฐและคณะรัฐมนตรีสหรัฐ

คณะเสนาธิการร่วม

ณะเสนาธิการร่วม (Joint Chiefs of Staff, ย่อ: JCS) เป็นหน่วยงานที่ปรึกษาทางทหารระดับสูงสุดในกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาที่รับผิดชอบในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ทางทหาร คณะเสนาธิการร่วมซึ่งประกอบด้วย เสนาธิการกองทัพบก, เสนาธิการกองทัพอากาศ, หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการกองทัพเรือ, ผู้บัญชาการเหล่านาวิกโยธิน และหัวหน้าสำนักคุ้มกันแห่งชาติ ได้รับการจัดตั้งขึ้นมาโดยรัฐบัญญัติความมั่นคงแห่งชาติปี..

ดู สหรัฐและคณะเสนาธิการร่วม

ซอฟต์แวร์

OpenOffice.org Writer ซอฟต์แวร์ (software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์" ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู.

ดู สหรัฐและซอฟต์แวร์

ซับเวย์ (ร้านอาหาร)

ซับเวย์ (Subway) เป็นร้านอาหารอเมริกันประเภทแฟรนไชส์ มีสินค้าหลักคือ แซนวิช และสลัด ดำเนินการโดย Doctor's Associates, Inc.

ดู สหรัฐและซับเวย์ (ร้านอาหาร)

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ.

ดู สหรัฐและซัดดัม ฮุสเซน

ซันไมโครซิสเต็มส์

ัญลักษณ์ของ Sun Microsystems เป็นตัวอักษร Sun สี่ชุด ที่มองจากมุมไหนก็ได้ ซันไมโครซิสเต็มส์ (Sun Microsystems) เป็นบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ สารกึ่งตัวนำและซอฟต์แวร์ ที่ตั้งอยู่ในซิลิคอนแวลลีย์ เมืองแซนตาแคลรา รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์เด่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปของซัน ได้แก่ เครื่องเซิร์ฟเวอร์และเวิร์กสเตชัน ที่ใช้หน่วยประมวลผลสปาร์ค (SPARC), ระบบปฏิบัติการโซลาริส (Solaris), ระบบไฟล์บนเครือข่าย NFS, และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาจาวา และแพลตฟอร์มจาวา นอกจากนี้ ซันยังเป็นผู้สนับสนุนหลักของ โครงการโอเพ่นออฟฟิศดอทอ็อก (OpenOffice.org) ซึ่งเป็นชุดซอฟต์แวร์สำนักงานแบบโอเพนซอร.

ดู สหรัฐและซันไมโครซิสเต็มส์

ซานฟรานซิสโก

ซานฟรานซิสโก หรือ แซนแฟรนซิสโก (San Francisco) คือเมืองในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มีประชากร ประมาณ 808,976 คน ซึ่งเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรเป็นอันดับสองของประเทศ เมืองซานฟรานซิสโกตั้งอยู่บริเวณอ่าวซานฟรานซิสโก ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาตั้งรกรากในซานฟรานซิสโกคือชาวสเปน โดยในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและซานฟรานซิสโก

ซิลิคอนแวลลีย์

มืองซานโฮเซที่ประกาศตัวเองว่าเป็นเมืองหลวงของซิลิคอนแวลลีย์ ซิลิคอนแวลลีย์ (Silicon Valley) เป็นคำที่ใช้เรียกส่วนใต้ของพื้นที่อ่าวซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีจุดเด่นที่เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของบริษัทเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดของโลก from SiliconValley.com นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านเทคโนโลยีและธุรกิจอีกด้วย ชื่อซิลิคอนแวลลีย์นั้นหมายถึงผู้บุกเบิกและผู้ผลิตซิลิคอนชิปจำนวนมากในบริเวณดังกล่าว แต่ได้กลายมาเป็นหมายถึงธุรกิจไฮเทคทั้งหมดในพื้นที่แทน ปัจจุบันมักใช้เป็นนามนัยแทนภาคไฮเทคของสหรัฐอเมริกา แม้การพัฒนาศูนย์เศรษฐกิจไฮเทคอื่น ๆ ทั่วสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก ซิลิคอนแวลลีย์ยังคงเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมและการพัฒนาไฮเทคชั้นนำ คิดเป็นหนึ่งในสามของมูลค่าการร่วมลงทุนทั้งหมดในสหรัฐอเมริกา from PriceWaterhouseCoopers.com และยังคงเป็นที่ที่มีการเติบโตและเป็นที่สนใจของผู้คนหลากหลาย ทั้งผู้ประกอบการธุรกิจ นักลงทุน และแรงงานในตลาดงานสายเทคโนโลยี ในทางภูมิศาสตร์ ซิลิคอนแวลลีย์ครอบคลุมพื้นที่หุบเขาซานตาคลาราทั้งหมด รวมทั้งนครซานโฮเซ (และชุมชนติดกัน), คาบสมุทรทางใต้, และอ่าวตะวันออกทางใต้.

ดู สหรัฐและซิลิคอนแวลลีย์

ซิติเซนเคน

ซิติเซน เคน (Citizen Kane) เป็นภาพยนตร์แนวดรามาผสมกับแนวลึกลับที่ฉายในปีค.ศ. 1941 จัดจำหน่ายโดยบริษัท RKO Pictures กำกับและแสดงนำโดย ออร์สัน เวลส์ เป็นภาพยนตร์เรื่องแรกของเขา เนื้อเรื่องภายในหนังเกี่ยวกับชีวิตของ ชาร์ล ฟอสเตอร์ เคน นักธุรกิจที่ร่ำรวยที่สุดคนหนึ่ง ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากในอุตสาหกรรมสื่อมวลชน และทำทุกๆอย่างเพื่อกุมอำนาจด้านสื่อเอาไว้ให้อยู่หมัดไม่ว่าจะใช้เล่ห์กลยังไงก็ตาม ก่อนที่เคนจะตายในคฤหาสน์ใหญ่โตมโฬหารอันสุดแสนลึกลับ ได้เอ่ยประโยคหนึ่งก่อนตายว่า "โรสบัด" (Rosebud) ประโยคนี้เองที่ทำให้นักข่าวธรรมดาคนหนึ่งชื่อ เยเดดิอาห์ เลแลนด์ (โจเซฟ ค็อทเทน) แลแลนด์เกิดความสงสัยและติดต่อสอบถามทุกๆคนที่เคยร่วมงานหรือได้สนทนากับเคน ตัวหนังตั้งคำถามไว้ว่าเลแลนด์ จะทราบไหมว่าสิ่งที่เคนต้องการจะบอกต่อคนอื่นๆคืออะไรกันแน่ ในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและซิติเซนเคน

ซูเปอร์แมน

ซูเปอร์แมน คือตัวละครจากหนังสือการ์ตูนซูเปอร์ฮีโร่ ผลงานของ ดีซีคอมิกส์ สำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของอเมริกาDaniels (1998), p.

ดู สหรัฐและซูเปอร์แมน

ซูเปอร์โบวล์

้วยรางวัลวินซ์ลอมบาร์ดี ถ้วยรางวัลชนะเลิศซูเปอร์โบวล์ ซูเปอร์โบวล์ (Super Bowl) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์อเมริกันฟุตบอลอาชีพประจำปีของเอ็นเอฟแอล ระหว่างทีมผู้ชนะเลิศของ สายเอ็นเอฟซี (NFC, National Football Conference) และ สายเอเอฟซี (AFC, American Football Conference) จัดขึ้นวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมกราคม หรือวันอาทิตย์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี.

ดู สหรัฐและซูเปอร์โบวล์

ซีบีเอส

ซีบีเอส (CBS หรือ CBS Broadcasting Inc.) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์อเมริกัน หนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่ แห่งวงการโทรทัศน์ของสหรัฐอเมริกา โดยอีกสองสถานีคือ เอ็นบีซี และเอบีซี และเช่นเดียวกับทั้งเอ็นบีซี ทางซีบีเอสเริ่มจากการเป็นสถานีวิทยุมาก่อน ชื่อมาจากชื่อเก่าของสถานีที่ใช้ชื่อว่า โคลัมเบีย บรอดแคสติง ซิสเตม (Columbia Broadcasting System) ในบางครั้งจะเรียกว่าสถานี "อายเน็ตเวิร์ก" (Eye Network) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า "ดิอาย" (The Eye) เนื่องจากรูปร่างโลโก้ของบริษัทที่มีลักษณะเป็นดวงตา หรือในบางครั้งก็เรียกว่า "ทิฟฟานีเน็ตเวิร์ก" (Tiffany Network) เช่นกัน ที่หมายถึงความมีคุณภาพสูงของรายการของซีบีเอสในช่วงระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งของผู้ก่อตั้ง วิลเลียม เอส.

ดู สหรัฐและซีบีเอส

ซีเอ็นเอ็น

ล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย เท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.

ดู สหรัฐและซีเอ็นเอ็น

ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน

ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน (representative democracy) เป็นประชาธิปไตยแบบหนึ่งซึ่งตั้งอยู่บนหลักว่า ข้าราชการจากการเลือกตั้งเป็นผู้แทนกลุ่มประชาชน ซึ่งขัดต่อประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิปไตยแบบตะวันตกสมัยใหม่ทั้งหมดเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนประเภทใดประเภทหนึ่งทั้งสิ้น เช่น สหราชอาณาจักรเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเยอรมนีเป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนเป็นองค์ประกอบของทั้งระบบรัฐสภาหรือระบบประธานาธิบดี และตรงแบบใช้ในสภาล่าง เช่น สภาสามัญชน (สหราชอาณาจักร) หรือบุนเดชตัก (เยอรมนี) และอาจกำกับอีกทีหนึ่งโดยข้อบังคับตามรัฐธรรมนูญ เช่น สภาสูง ในสภานั้น อำนาจอยู่ในมือของผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน หมวดหมู่:ประชาธิปไตย.

ดู สหรัฐและประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน

ประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต

ประวัติอินเทอร์เน็ต เป็นการศึกษาความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความคิดเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายเดียวที่สามารถให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต่างระบบกันสามารถสื่อสารกันได้นั้นได้มีการพัฒนาผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนด้วยกัน การหลอมรวมกันของการพัฒนาเหล่านั้นได้นำไปสู่เครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลายที่รู้จักกันในชื่อว่า อินเทอร์เน็ต การพัฒนาเหล่านั้นมีทั้งในแง่การพัฒนาเทคโนโลยี และการรวมโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายและระบบโทรคมนาคมที่มีอยู่เดิมเข้าด้วยกัน ความคิดเรื่องนี้ในครั้งแรก ๆ ปรากฏขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 หากแต่การนำแนวคิดเหล่านี้ไปปฏิบัติได้จริงนั้นเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 เทคโนโลยีซึ่งนับได้ว่าเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่นั้นได้เริ่มแพร่หลายออกไปทั่วโลก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 การมาถึงของเวิลด์ไวด์เว็บได้ทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตกลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป.

ดู สหรัฐและประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต

ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ

ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ (Chief Justice of the United States) เป็นประมุขแห่งศาลสหรัฐทั้งปวง และเป็นประมุขของศาลสูงสุดสหรัฐ (Supreme Court of the United States) โดยเป็นหนึ่งในตุลาการศาลสูงสุดเก้าคน แปดคนที่เหลือเรียก ตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ (Associate Justice of the Supreme Court of the United States) ประธานศาลสูงสุดเป็นข้าราชการตุลาการชั้นสูงที่สุดในประเทศ กับทั้งปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการตุลาการ (chief administrative officer) และแต่งตั้งเลขาธิการศาลสหรัฐ (director of the Administrative Office of the United States Courts) ประธานศาลสูงสุดยังเป็นโฆษกสำหรับองค์กรตุลาการของประเทศอีกด้วย ประธานศาลสูงสุดอำนวยกิจการทั้งปวงของศาลสูงสุด เขาจะนั่งเป็นประธานในการพิจารณาคดีทั้งมวลของศาลสูงสุด โดยเฉพาะในการแถลงการณ์ด้วยวาจา และเมื่อศาลสูงสุดจะทำความเห็นในการวินิจฉัยคดี ถ้าเขาอยู่เสียงข้างมาก เขาสามารถกำหนดให้ตุลาการคนใดทำคำพิพากษากลางขึ้น เขายังกำหนดระเบียบวาระอันสำคัญในการประชุมของศาลสูงสุดด้วย นอกจากนี้ เมื่อวุฒิสภาดำเนินคดีอาญาต่อประธานาธิบดี ซึ่งเคยมีมาแล้วสองคราในหน้าประวัติศาสตร์ เขาจะเป็นประธานในการพิจารณาคดี ปัจจุบัน เขายังมีหน้าที่อันตกผลึกมาทางประเพณีอีก คือ เป็นประธานในพิธีให้สัตย์ปฏิญาณเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี จอห์น เจย์ (John Jay) เป็นประธานศาลสูงสุดคนแรก และ จอห์น จี.

ดู สหรัฐและประธานศาลสูงสุดสหรัฐ

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ดู สหรัฐและประธานาธิบดีสหรัฐ

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ดู สหรัฐและประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ดู สหรัฐและประเทศญี่ปุ่น

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู สหรัฐและประเทศฝรั่งเศส

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ดู สหรัฐและประเทศภูฏาน

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู สหรัฐและประเทศรัสเซีย

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ดู สหรัฐและประเทศออสเตรเลีย

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ดู สหรัฐและประเทศอิรัก

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ดู สหรัฐและประเทศอิสราเอล

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ดู สหรัฐและประเทศอิหร่าน

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

ดู สหรัฐและประเทศอิตาลี

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ดู สหรัฐและประเทศอินเดีย

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู สหรัฐและประเทศจีน

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ดู สหรัฐและประเทศซาอุดีอาระเบีย

ประเทศซูรินาม

ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.

ดู สหรัฐและประเทศซูรินาม

ประเทศปาปัวนิวกินี

ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).

ดู สหรัฐและประเทศปาปัวนิวกินี

ประเทศปาเลา

ปาเลา (Palau; ปาเลา: Belau) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐปาเลา (Republic of Palau; ปาเลา: Beluu er a Belau) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ไปประมาณ 500 กิโลเมตร ได้รับเอกราชในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและประเทศปาเลา

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ดู สหรัฐและประเทศนอร์เวย์

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและประเทศนิวซีแลนด์

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ดู สหรัฐและประเทศแคนาดา

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและประเทศโปรตุเกส

ประเทศไมโครนีเซีย

มโครนีเซีย (Micronesia) หรือ สหพันธรัฐไมโครนีเซีย (Federated States of Micronesia) เป็นรัฐบาลภายใต้รัฐธรรมนูญที่มีความสัมพันธ์เสรีกับสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศปาปัวนิวกินี ประเทศไมโครนีเซียจัดอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ซึ่งประกอบด้วยเกาะเล็ก ๆ หลายร้อยเกาะ ครอบคลุมพื้นที่ 5 ประเทศกับ 2 ดินแดน คำว่า Micronesia มักจะนำมาใช้เรียกเป็นชื่อประเทศ อย่างไรก็ดี ไมโครนีเซียก็เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน ไมโครนีเซียในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนในภาวะทรัสตีแห่งหมู่เกาะแปซิฟิก ซึ่งเป็นดินแดนภาวะพึ่งพิงขององค์การสหประชาชาติภายใต้การบริหารของสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ.

ดู สหรัฐและประเทศไมโครนีเซีย

ประเทศไลบีเรีย

ลบีเรีย (Liberia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐไลบีเรีย (Republic of Liberia) เป็นประเทศที่อยู่ในเขตแอฟริกาตะวันตก ติดกับประเทศเซียร์ราลีโอนทางด้านทิศตะวันตก ประเทศกินีทางด้านทิศเหนือ และประเทศโกตดิวัวร์ทางด้านทิศตะวันออก มีเมืองหลวงชื่อมันโรเวียปกครองโดยใช้ระบอบประชาธิปไตย จากการสำรวจประชากรในปี 2008 มีประชากรอยู่ 3,476,608 คน และมีพื้นที่ครอบคลุม 111,369 ตร.กม.

ดู สหรัฐและประเทศไลบีเรีย

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ดู สหรัฐและประเทศไต้หวัน

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ดู สหรัฐและประเทศเกาหลีใต้

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ดู สหรัฐและประเทศเกาหลีเหนือ

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและประเทศเม็กซิโก

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ดู สหรัฐและประเทศเยอรมนี

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ดู สหรัฐและประเทศเนเธอร์แลนด์

ปรากฏการณ์โลกร้อน

ผิดปรกติของอุณหภูมิเฉลี่ยที่ผิวโลกที่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2403–2549 เทียบกับอุณหภูมิระหว่าง พ.ศ. 2504–2533 ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวพื้นที่ผิดปกติที่เทียบกับอุณหภูมิเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและปรากฏการณ์โลกร้อน

ปริญญาตรี

ปริญญาตรี หรือ ปริญญาบัณฑิต เป็นระดับการศึกษาย่อยในการอุดมศึกษา ต่อเนื่องจากชั้นมัธยมศึกษา คำว่า ตรี หมายถึง ชั้นที่สาม (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่า โท สูงกว่า จัตวา) ระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปเวลาสี่ปี แต่สามารถช่วง 2-6 ปีขึ้นอยู่กับภูมิภาคของโลก.

ดู สหรัฐและปริญญาตรี

ปวยร์โตรีโก

ปวยร์โตรีโก (Puerto Rico) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐปวยร์โตรีโก (Estado Libre Asociado de Puerto Rico) เป็นเครือรัฐของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสาธารณรัฐโดมินิกันในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออกเฉียงเหนือ ปวยร์โตรีโกเป็นดินแดนที่เล็กที่สุดของเกรตเตอร์แอนทิลลีส มีพื้นที่รวมเกาะปวยร์โตรีโก เกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง รวมทั้งกลุ่มเกาะ ได้แก่ โมนา เบียเกซ และกูเลบรา การเดินทางเข้าปวยร์โตรีโกนั้นต้องใช้วีซาของสหรัฐอเมริกา เพราะปวยร์โตรีโกถือเป็นดินแดน (territory) ของสหรัฐอเมริกา แม้จะไม่ถือว่าเป็นรัฐ (state) ก็ตาม.

ดู สหรัฐและปวยร์โตรีโก

ปัญหาสิ่งแวดล้อมในสหรัฐ

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมของมนุษย์ต่อหัวของแต่ละประเทศสำหรับปี ค.ศ. 2000 รวมถึงการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน right มีปัญหาสิ่งแวดล้อมจำนวนมากในสหรัฐอเมริกา เช่นเดียวกับประเทศอื่น.

ดู สหรัฐและปัญหาสิ่งแวดล้อมในสหรัฐ

ปัจจัยกระทบ

ปัจจัยกระทบ (impact factor) ปกติใช้คำย่อว่า IF หมายถึงการวัดการได้รับการอ้างอิงของวารสารวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อใช้เป็นตัวแทนที่บ่งชี้ความสำคัญและความน่าเชื่อถือของวารสารในสาขาวิชาการนั้น.

ดู สหรัฐและปัจจัยกระทบ

นาสคาร์

มาคมการแข่งรถสต็อกคาร์แห่งชาติ (National Association for Stock Car Auto Racing) หรือ นาสคาร์ (NASCAR) เป็นบริษัทประเภทธุรกิจครอบครัวที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการแข่งรถ ก่อตั้งโดย บิลล์ ฟรานซ์ ซีเนียร์ ในปี ค.ศ.1948 ต่อมา ไบรอัน ฟรานซ์ หลานชายได้เข้ารับตำแหน่งเป็นประธานบริหารในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและนาสคาร์

นิกายลูเทอแรน

ัญลักษณ์กุหลาบลูเทอแรน นิกายลูเทอแรน (Lutheranism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ตะวันตกฝ่ายโปรเตสแตนต์ มาร์ติน ลูเทอร์ เป็นผู้ก่อตั้งนิกายนี้ขึ้นจากการปฏิรูปหลักเทววิทยาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก.

ดู สหรัฐและนิกายลูเทอแรน

นิโคลา เทสลา

นิโคลา เทสลา (Никола Тесла, Nikola Tesla) เกิดเมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2399 - ถึงแก่กรรม 7 มกราคม พ.ศ. 2486 (86 ปี) เป็น นักประดิษฐ์, นักฟิสิกส์, วิศวกรเครื่องกล, วิศวกรไฟฟ้า และ นักทำนายอนาคต เขาเกิดที่ Smiljan ในอดีตออสเตรีย - ฮังการี ซึ่งปัจจุบันคือสาธารณรัฐโครเอเชีย ภายหลังเขาได้รับสัญชาติเป็นพลเมืองอเมริกัน เทสลามีปัญหาทางประสาทในวัยเด็ก ที่เขาต้องทุกข์ทรมาน จาก โรคย้ำคิดย้ำทำ เขาได้งานแรกในบูดาเปสต์โดยทำงานที่บริษัทโทรศัพท์ เทสล่าได้ประดิษฐ์ลำโพงสำหรับโทรศัพท์ระหว่างที่ทำงานอยู่ที่นี่ ก่อนที่จะเดินทางเร่ร่อนไปอเมริกาในปี 2427 เพื่อที่จะไปทำงานกับ โทมัส เอดิสัน แต่ในไม่นาน เขาก็เริ่มก่อตั้ง ห้องปฏิบัติการ/บริษัท พัฒนาอุปกรณ์ไฟฟ้า ของตัวเองโดยมีผู้สนับสนุนด้านการเงินให้ สิทธิบัตรมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับแบบเหนี่ยวนำ และ หม้อแปลงไฟฟ้า ได้รับการจดทะเบียนโดย จอร์จ เวสติงเฮ้าส์ ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างให้เทสลาเป็นที่ปรึกษาและพัฒนาระบบไฟฟ้ากระแสสลับด้วย ผลงานของเทสลาที่ทำให้เขาเป็นที่สนใจในสมัยนั้นอาทิเช่น การทดลองเกี่ยวกับ คลื่นความถี่สูงและแรงดันไฟฟ้าแรงสูง ใน นิวยอร์ก และ โคโลราโด สปริงซ์, สิทธิบัตรของอุปกรณ์และทฤษฎีที่ใช้ในการสร้างวิทยุสื่อสาร, การทดลอง X-ray ของเขา, เขายังเป็นผู้คิดค้นตัวกำเนิดสัญญาณ (oscillator) หลากหลายรูปแบบอีกด้วย และ โครงการ Wardenclyffe Tower ซึ่งเป็นความพยายามในการส่งสัญญาณไร้สายข้ามทวีปแต่โชคร้ายที่โครงการนี้ไม่ประสบความสำเร็จ แม้เทสลาจะเป็นผู้คิดค้นสัญญาณวิทยุ การค้นพบหลักการสนามแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันดีคือ การค้นคว้าพัฒนาไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งในขณะนั้นมีการแข่งขันกับไฟฟ้ากระแสตรงที่ถูกพัฒนาขึ้นมา โทมัส เอดิสัน แต่ในที่สุดไฟฟ้ากระแสสลับก็ได้รับความนิยมมากกว่า เพราะเกิดการสูญเสียน้อยกว่าในการส่งกระแสไฟฟ้าในระยะทางไกล เทสลาประสบความสำเร็จเป็นที่รู้จักและทำให้ผู้คนเห็นถึงความสามารถของจากโชว์สิ่งประดิษฐ์ที่ดูน่าอัศจรรย์ทั้งหลาย ถึงแม้ว่าเขาจะได้เงินจากสิทธิบัตรต่าง ๆ แต่เขาก็ได้ทำการทดลองอย่างมากมายด้วยเช่นกัน ทำให้ในช่วงบั้นปลายชีวิตของเขาต้องเป็นหนี้ และ มีปัญหาด้านการเงิน ต้องอาศัยอยู่อย่างโดษเดี่ยวในห้องพักหมายเลข 3327 ที่โรงแรม New Yorker ด้วยลักษณะและธรรมชาติในการทำงานของเทสลาทำให้เขาถูกขนานนามว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์เพี้ยน" เทสลาถูกพบว่าเสียชีวิตในห้องพักหมายเลข 3327 ที่โรงแรม New Yorker เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2486 หลังจากการตายของเขางานของเทสล่าก็ได้เงียบหายไป แต่ในปี 2533 เขาก็เริ่มกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง ในปี 2548 เขาถูกเสนอชื่อให้เป็นตัวแทน 1 ใน 100 คนในรายการโทรทัศน์ "The Greatest American" โดยการสำรวจนิยมโดย AOL กับ ช่อง Discovery การทำงานและสิ่งประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียงของเขายังเป็นจุดกำเนิดของทฤษฎีสมคบคิดจำนวนมาก และ ยังได้นำไปใช้สนับสนุนวิทยาศาสตร์เทียม, ทฤษฎียูเอฟโอ และ ไสยศาสตร์ยุคใหม่ อีกด้วย ในปี 2503 หน่วยสำหรับวัดความ ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก หรือ การเหนี่ยวนำด้วยพลังแม่เหล็ก (ที่รู้จักกันทั่วไปว่าเป็นสนามแม่เหล็ก B \), ถูกตั้งชื่อว่า เทสลา เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้ เทสลายังถือเป็นวิศวกรที่สร้างนวัตกรรมล้ำยุคที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สิทธิบัตรของเทสลาและผลงานเชิงทฤษฎีของเขากลายเป็นพื้นฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ได้แก่ ระบบจ่ายกำลังหลายเฟส และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งเขามีส่วนผลักดันเป็นอย่างมากในช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สอง.

ดู สหรัฐและนิโคลา เทสลา

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

ดู สหรัฐและนครนิวยอร์ก

น้ำอัดลม

น้ำอัดลม เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่งที่ไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ มีสีสันแตกต่างกันไป มีคนนิยมดื่มมากและสามารถหาซื้อได้ทั่วไปในร้านที่ขายเครื่องดื่ม นิยมบรรจุในรูปแบบกระป๋อง ขวดแก้ว ขวดพลาสติก เป็นต้น.

ดู สหรัฐและน้ำอัดลม

แบปทิสต์

นิกายแบปทิสต์ (ศัพท์ราชบัณฑิตยสถาน) หรือ แบ๊บติสต์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Baptists) เป็นนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ ชื่อของนิกายนี้มาจากหลักปฏิบัติที่ปฏิเสธการทำพิธีบัพติศมาแก่ทารก แต่ยอมรับเฉพาะพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเท่านั้น คณะแบปทิสต์กำเนิดขึ้นในระหว่างการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ในประเทศอังกฤษราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นจึงแพร่ไปทั่วยุโรปเหนือ และทวีปอื่น ๆ ตามลำดับ ในปี..

ดู สหรัฐและแบปทิสต์

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แฟรงกลิน เดลาโน โรสเวลต์ (อังกฤษ: Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังเป็นประธานาธิบดีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ.

ดู สหรัฐและแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์

แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ (Frank Lloyd Wright) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2410 — 9 เมษายน พ.ศ. 2502) สถาปนิกคนสำคัญคนหนึ่งของโลกในศตวรรษที่ 20 แฟรงค์ ลอยด์ ไรต์ เกิดที่ เมืองริชแลนด์เซนเตอร์ ใน รัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา เข้าเรียนสาขาวิศวกรรมศาสตร์จากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน และลาออกไปทำงานด้านสถาปัตยกรรมทั้งที่เรียนไม่จบ เขาอาศัยและตั้งสำนักงานอยู่ที่เมืองโอกพาร์ก บริเวณชานเมืองชิคาโก ในรัฐอิลลินอยส์ ปัจจุบันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมที่สำคัญ เนื่องจากเป็นที่รวบรวมบ้านพักที่เขาออกแบบไว้กว่า 50 หลังรวมทั้งตัวสำนักงานและบ้านพักของเขาด้วย ผลงานการออกแบบในช่วงแรกของไรต์มีลักษณะเฉพาะที่เรียกว่า "Prairie Houses" ไรต์มีผลงานทั้งหมด 362 ชิ้น และประมาณการว่ายังคงอยู่ในปัจจุบัน (ปี 2005) ประมาณ 300 ชิ้น.

ดู สหรัฐและแฟรงก์ ลอยด์ ไรต์

แฟรงก์ เกห์รี

แฟรงก์ โอเวน เกห์รี (Frank Owen Gehry) (ชื่อแต่กำเนิดคือ Ephraim Owen Goldberg; เกิด:28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 -), Globe and Mail, July 28, 2010 เป็นสถาปนิกสัญชาติแคนาดา-อเมริกัน ปัจจุบันอาศัยในนครลอสแอนเจลิส จากผลงานออกแบบมากมายและแตกต่างจากยุคก่อนหน้านี้ ทำให้ในเวลาต่อมาชื่อของของเขาก็ได้กลายเป็นที่สนใจในหมู่สถาปนิกระดับโลก เขาได้รับการสรรเสริญว่า "งานของเกห์รี เป็นงานที่มีสำคัญที่สุดในวงการสถาปัตยกรรมร่วมสมัย" โดยเวิลด์อเมริกันเซอร์เวย์ (World Architecture Survey) ในปี 2010 รวมไปถึง "สถาปนิกที่มีความสำคัญที่สุดในยุคสมัยของพวกเรา" จาก วานิตีแฟร์ (Vanity Fair) เขาได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ ซ่งเป็นรางวัลสูงสุดในสายวิชาชีพสถาปนิกในปี 1989 และรางวัลอื่นๆอีกมาก รวมถึงได้ปริญญาเอกดุษฎีบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยระดับโลกอีกหลายที่เช่น มหาวิทยาลัยเยล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน เป็นต้น ผลงานของ แฟรงก์ เกห์รี นั้นมีหลากหลายรวมถึงอาคารพักอาศัย พิพิธภัณฑ์ สถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ผลงานที่มีชื่อของเขาได้แก่ พิพิธภัณฑ์กุกเกนไฮม์ บิลบาโอ ในเมืองบิลเบา ประเทศสเปน ซึ่งเป็นอาคารที่มีไทเทเนียมเป็นวัสดุหลัก วอลต์ดิสนีย์คอนเสิร์ตฮอลล์ที่ ลอสแอนเจลิส และแดนซิงเฮาส์ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก อาคารเรย์แอนด์มาเรียสตาตาเซนเตอร์ ในสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ในเมืองแคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ อาคาร8 สปรูซสตรีท ในแมนฮัตตัน นิวยอร์ก เป็นต้น.

ดู สหรัฐและแฟรงก์ เกห์รี

แฟรนไชส์

ตัวอย่างแฟรนไชส์แมคโดนัลด์ แฟรนไชส์ (franchise) เป็นชื่อเรียกการทำธุรกิจโดยมีการให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและการจัดจำหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์โดยชอบธรรม โดยเริ่มมาจากบริษัท ทำรางรถไฟ และบริษัทสาธารณูปโภค ที่พยายามขยายการเติบโตของบริษัทให้มากที่สุด โดยการออกขายสิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ รวมทั้งระบบการทำงานของตัวเองให้ผู้อื่นโดยทำให้มีแบบแผนในการจัดการไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายของธุรกิจผ่านผู้ประกอบการอิสระโดยบริษัทจะให้สิทธิเครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทำธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ในรูปแบบของการทำงานทั้งหมด เช่น ระบบการผลิต ระบบการขาย ระบบการบริหารการตลาด เพื่อที่จะให้รูปแบบวิธีดำเนินธุรกิจในทุกๆสาขาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท.

ดู สหรัฐและแฟรนไชส์

แพลไมราอะทอลล์

แพลไมราอะทอลล์ แพลไมราอะทอลล์ (Palmyra Atoll) เป็นเกาะอยู่ทางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีสภาพภูมิอากาศแบบเขตร้อน มีพื้นที่มั้งหมด 11.9 ตารางกิโลเมตร มีจุดสูงสุดที่ 2 เมตร มีเกาะประมาณ 50 เกาะที่มีผักและมะพร้าวขึ้นอยู่บนเกาะ มีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง และมีท่าเรืออยู่ที่ลากูนตะวันตก ในอดีตแพลไมราอะทอลล์เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฮาวาย ต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ผนวกเกาะแห่งนี้พร้อมกับฮาวายเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตน มีการสร้างถนนซึ่งสร้างในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 หมวดหมู่:เกาะในสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและแพลไมราอะทอลล์

แก๊สธรรมชาติเหลว

ัญลักษณ์แก๊สธรรมชาติเหลวของจีน แก๊สธรรมชาติเหลว (Liquefied natural gas หรือ LNG) เป็นก๊าซธรรมชาติที่ถูกนำไปทำให้สถานะของก๊าซกลายเป็นของเหลวโดยทำให้อุณหภูมิลดลงส่งผลให้ปริมาตรลดลงเหลือประมาณ 1/600 เท่าของปริมาตรเดิม โดยการใช้ความเย็นที่ ลบ 162องศาเซลเชียส หรือที่ลบ260องศาฟาเรนท์ไฮต์ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและการขนส่ง เมื่อต้องการนำไปประโยชน์จะนำเข้าสู่กระบวนการเพิ่มอุณหภูมิซึ่งกลายเป็นเชื้อเพลิงในรูปของแก๊สธรรมชาติอัดสาระคดี เรียกข้อมูลล่าสุด 21 เมษายน 2555.

ดู สหรัฐและแก๊สธรรมชาติเหลว

แมคโดนัลด์

แมคโดนัลด์พลาซา แมคโดนัลด์ (McDonald's) เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเครือร้านอาหารจานด่วนที่ใหญ่ที่สุดในโลก.

ดู สหรัฐและแมคโดนัลด์

แม่น้ำมิสซิสซิปปี

แม่น้ำมิสซิสซิปปี ภาพถ่ายจากสวนสาธารณะในรัฐมินนิโซตา แม่น้ำมิสซิสซิปปี (Mississippi River) อยู่ตอนกลางของสหรัฐอเมริกา เป็นเครือข่ายสาขาแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ(เครือข่ายแม่น้ำมิสซิสซิปปี-มิสซูรี) มีความยาวทั้งสิ้น 3,334 กม.

ดู สหรัฐและแม่น้ำมิสซิสซิปปี

แม่น้ำมิสซูรี

แม่น้ำมิสซูรี (Missouri River)เป็นทางน้ำที่สำคัญทางตอนกลางของสหรัฐอเมริกา มีความยาว 3,767กม.ซึ่งยาวที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ เกิดจากการไหลมารวมกันของแม่น้ำเจฟเฟอร์สัน แม่น้ำแมดิสัน และแม่น้ำแกลละทิน ในแกลละทินเคาน์ตี ทางตอนใต้ของรัฐมอนแทนา ไหลไปทางตะวันออก เข้าสู่ตอนกลางของรัฐเซาท์ดาโคตา จากนั้นจึงไหลไปทางใต้ ผ่านทางตอนใต้ของรัฐเซาท์ดาโคตา แล้วแบ่งเส้นเขตระหว่างรัฐ คือ รัฐเซาท์ดาโคตากับรัฐเนแบรสกา รัฐเนแบรสกากับรัฐไอโอวา รัฐเนแบรสกากับรัฐมิสซูรี และรัฐแคนซัสกับรัฐมิสซูรี แล้วไหลไปทางตะวันออกผ่าตอนกลางของรัฐมิสซูรี รวมกับแม่น้ำมิสซิสซิปปี ทางตอนเหนือของเมืองเซนต์ล.

ดู สหรัฐและแม่น้ำมิสซูรี

แอมะซอน (บริษัท)

แอมะซอน.คอม (Amazon.com -) เป็นเว็บไซต์ในลักษณะอีคอมเมิร์ซ โดยมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองซีแอตเทิล ในรัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา แอมะซอนเป็นเว็บไซต์ขายของออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีขนาดใหญ่กว่าอันดับ 2 ซึ่งคือ สเตเปิลส์ ประมาณสามเท่าตัว เจฟฟ์ เบซอสก่อตั้งแอมะซอนในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและแอมะซอน (บริษัท)

แอตแลนตา

แอตแลนตา (Atlanta, บางสำเนียงออกเสียง แอตแลนนา) เป็นเมืองหลวงและเมืองขนาดใหญ่ในรัฐจอร์เจียของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีประชากร ตามสัมมโนประชากรในปี 2548 ทั้งหมด 470,688 คน ซึ่งแอตแลนตานี้เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของธุรกิจสำคัญระดับโลกหลายอย่าง ไม่ว่า โค้ก เอทีแอนด์ทีไวร์เลสส์ เดลต้า แอร์ไลน์ และ โฮมดีโปต์ รวมทั้งยังเป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นที่สุดของโลกฮาร์ทสฟิลด์-แจ็คสัน นอกจากนี้ในแอตแลนตายังเป็นที่ตั้งของ สถาบันเทคโนโลยีจอร์เจีย ที่รู้จักในชื่อย่อว่า จอร์เจียเทค สถาบันการศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกาแห่งหนึ่ง และที่ตั้งของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ (CDC: Centers for Disease Control and Prevention) แอตแลนตาเคยเป็นสถานที่จัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 1996 และในแอตแลนตายังมีทีมกีฬาที่มีชื่อเสียงหลายทีม อาทิ เช่น แอตแลนตา ฮอกส์ (บาสเกตบอล) และ แอตแลนตา ฟัลคอนส์ (อเมริกันฟุตบอล) อแตแลนตา อแตแลนตา หมวดหมู่:เมืองในรัฐจอร์เจีย.

ดู สหรัฐและแอตแลนตา

แอปเปิล (บริษัท)

ริษัทแอปเปิล (Apple Inc.) หรือในชื่อเดิม บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer Inc.) เป็นบริษัทในซิลิคอนแวลลีย์ ทำธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แอปเปิลปฏิวัติคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในยุค 70 ด้วยเครื่องแอปเปิล I และแอปเปิล II และแมคอินทอช ในยุค 80 ปัจจุบันแอปเปิลมีชื่อเสียงด้านฮาร์ดแวร์ เช่น ไอแมค ไอพอด ไอโฟน ไอแพด และร้านขายเพลงออนไลน์ไอทูน.

ดู สหรัฐและแอปเปิล (บริษัท)

แอนิเมชัน

ตัวอย่างแอนิเมชันของเครื่องจักรรูปทรงวงกลม แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงโดยการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกัน การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือหรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่น.

ดู สหรัฐและแอนิเมชัน

แอนดรูว์ คาร์เนกี

แอนดรูว์ คาร์เนกี (Andrew Carnegie, 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 - 11 สิงหาคม ค.ศ. 1919) เป็นนักอุตสาหกรรม นักธุรกิจและผู้ประกอบการชาวสกอต-อเมริกัน ผู้นำการขยายตัวอย่างใหญ่หลวงของอุตสาหกรรมเหล็กกล้าอเมริกาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขายังเป็นหนึ่งในนักการกุศลคนสำคัญที่สุดในยุคของเขา คาร์เนกีเกิดในดันเฟิร์มลิน สกอตแลนด์ และอพยพสู่สหรัฐอเมริกากับครอบครัวเมื่อยังเป็นเด็ก อาชีพแรกของเขาในสหรัฐอเมริกา เป็นกรรมกรโรงงานในโรงงานหลอดด้าย ภายหลังเขาทำงานเป็นคนจดรายการ (bill logger) ให้กับเจ้าของบริษัท ไม่นานจากนั้นเขากลายเป็นเด็กส่งของ ท้ายสุด เขาก้าวหน้าเข้าทำงานในบริษัทโทรเลข และจนถึงคริสต์ทศวรรษ 1860 เขาได้ลงทุนในทางรถไฟ รถนอนทางรถไฟ สะพานและบ่อน้ำมัน เขาร่ำรวยขึ้นมาจากการเป็นผู้ขายพันธบัตรระดมเงินทุนแก่วิสาหกิจอเมริกาในยุโรป เขาก่อตั้ง Carnegie Steel Company ในคริสต์ทศวรรษ 1870 ซึ่งทำให้เขาได้รับการจารึกชื่อว่าเป็น "กัปตันแห่งอุตสาหกรรม" จนถึงคริสต์ทศวรรษ 1890 บริษัทของเขาเป็นวิสาหกิจอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดและทำรายได้มากที่สุดในโลก ใน ค.ศ.

ดู สหรัฐและแอนดรูว์ คาร์เนกี

แอนดี วอร์ฮอล

แอนดี วอร์ฮอล (Andy Warhol) เป็นศิลปินชาวอเมริกัน เขาเป็นหนึ่งในผู้นำกลุ่มศิลปะแนวป็อปอาร์ต (pop art) ที่ประสบความสำเร็จอย่างมากจนได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ของงานแนวนี้ งานของเขาสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในเรื่อง คนดัง วงการบันเทิง และการโฆษณาซึ่งกำลังเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาในช่วงยุค 60 หลังจากการประสบความสำเร็จในงานวาดภาพประกอบ แอนดีก็กลายเป็นบุคคลมีชื่อเสียงตามที่เขาหวังเอาไว้ งานของแอนดีมีหลายประเภทตั้งแต่งานมีเดียไปจนถึง ภาพเขียน ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย ภาพพิมพ์สกรีน ประติมากรรม ภาพยนตร์ และดนตรี นอกจากนี้เขายังเป็นศิลปินรุ่นแรกๆที่นำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานศิลปะด้วย นอกจากงานเหล่านี้แล้วแอนดียังเป็นผู้ก่อตั้งนิตยสารและเขียนหนังสืออีกหลายเล่ม อาทิ เช่น The Philosophy of Andy Warhol และ Popism: The Warhol Sixties แม้ในช่วงระยะหลังของชีวิตแอนดีจะไม่ค่อยทำงานศิลปะออกมามากเท่าไหร่ แต่เขาก็ยังคงมีงานในด้านอื่นๆ ออกมาให้เห็นอยู่อย่างต่อเนื่อง เช่น งานโฆษณา หรือ งานแสดงที่เขาได้รับเชิญจากภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง เรือรักเรือสำราญ (Love Boat) และนั้นยิ่งเป็นการตอกย้ำถึงความสำเร็จของเขา หลังจากการแสดงงานครั้งสุดท้ายในยุโรป เมื่อกลับมานิวยอร์กได้ระยะหนึ่ง แอนดีก็เสียชีวิตลงในปี 1987.

ดู สหรัฐและแอนดี วอร์ฮอล

แอโรสมิธ

แอโรสมิธ (Aerosmith) เป็นวงฮาร์ดร็อกอเมริกัน ที่ในบางครั้งมีฉายาว่า "แบดบอยจากบอสตัน" และ "วงร็อกแอนด์โรลอเมริกันที่ยอดเยี่ยมที่สุด" แนวเพลงมีลักษณะฮาร์ดร็อกที่มีรากมาจากแนวเพลงบลูส์ และยังรวมกับองค์ประกอบของแนวป็อป, เฮฟวีเมทัล แกลมเมทัล, และอาร์แอนด์บี ที่มีอิทธิพลต่อศิลปินรุ่นหลังในเวลาต่อมา วงก่อตั้งในบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ ในปี 1970 มือกีตาร์ โจ เพอร์รี และ มือเบส ทอม ฮามิลตัน เริ่มในวงตั้งแต่แรก ตั้งชื่อวงว่า แจมแบนด์ จากนั้นเจอนักร้อง สตีเวน ไทเลอร์,มือกลอง โจอี คราเมอร์ และมือกีตาร์ เรย์ ทาบาโน และรวมกันในชื่อวง แอโรสมิธ โดยในปี 1971 ทาบาโนออกและแบรด วิทฟอร์ดมาแทน จากนั้นเริ่มพัฒนาวงในบอสตัน พวกเขาเซ็นสัญญากับโคลัมเบียเรคคอร์ดส ในปี 1972 และออกผลงานที่ขายได้หลายแผ่นเสียงทองคำขาว เริ่มต้นในปี 1973 กับอัลบั้มเปิดตัว และในปี 1975 วงได้ก้าวสู่กระแสหลักกับอัลบั้ม Toys in the Attic และกับผลงานปี 1976 กับร็อกที่แข็งขึ้นในฐานะฮาร์ดร็อกซุเปอร์สตาร์ โดยในปลายยุค 1970 พวกเขาเป็นวงที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในกลุ่มวงประเภทฮาร์ดร็อกและมีแฟนเกิดขึ้นมา ที่มักจะเรียกตัวเองว่า "บลูอาร์มี่"Davis, p.

ดู สหรัฐและแอโรสมิธ

แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม

แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม (Joint Comprehensive Plan of Action, ย่อ: JCPOA; برنامه جامع اقدام مشترک, ย่อ: برجام BARJAM) เป็นความตกลงระหว่างประเทศต่อโครงการนิวเคลียร์อิหร่านซึ่งบรรลุในกรุงเวียนนาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ระหว่างประเทศอิหร่าน พี5+1 (สมาชิกถาวรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติห้าประเทศ ได้แก่ ประเทศจีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา บวกเยอรมนี) และสหภาพยุโรป การเจรจาอย่างเป็นทางการสู่แผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วมต่อโครงการนิวเคลียร์อิหร่านเริ่มด้วยการลงมติรับแผนปฏิบัติการร่วม ซึ่งเป็นความตกลงชั่วคราวที่ลงนามระหว่างอิหร่านและประเทศพี5+1 ในเดือนพฤศจิกายน 2556 อีกยี่สิบเดือนถัดมา ประเทศอิหร่านและประเทศพี5+1 เจรจากัน และในเดือนเมษายน 2558 มีการตกลงกรอบข้อตกลงนิวเคลียร์อิหร่านสำหรับความตกลงสุดท้ายและในเดือนกรกฎาคม 2558 ประเทศอิหร่านและพี5+1 ตกลงกับแผนนี้ ภายใต้ความตกลงนี้ ประเทศอิหร่านตกลงกำจัดคลังยูเรเนียมเสริมสมรรถนะปานกลาง ตัดคลังยูเรเนียมเสริมสมรรถนะต่ำ 98% และลดเครื่องหมุนเหวี่ยงแก๊สลงประมาณสองในสามเป็นเวลา 13 ปี อีก 15 ปีถัดจากนี้ อิหร่านจะเสริมสมรรถนะยูเรเนียมได้ไม่เกิน 3.67% ประเทศอิหร่านยังตกลงไม่สร้างเครื่องปฏิกรณ์น้ำหนักใหม่เป็นระยะเวลาเดียวกัน กิจกรรมเสริมสมรรถนะยูเรเนียมใด ๆจะถูกจำกัดอยู่ที่สิ่งอำนวยความสะดวกเดี่ยวที่ใช้เครื่องปั่นเหวี่ยงรุ่นแรกเป็นเวลา 10 ปี สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นจะถูกแปลงเพื่อลดความเสี่ยงการแพร่ขยาย เพื่อเฝ้าสังเกตและพิสูจน์ยืนยันการปฏิบัติตามของอิหร่านกับความตกลงนี้ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) จะสามารถเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวกนิวเคลียร์ทั้งหมดของอิหร่านสม่ำเสมอ ความตกลงนี้กำหนดว่าเพื่อแลกเปลี่ยนกับการปฏิบัติตามข้อผูกมัดของตนอย่างพิสูจน์ยืนยันได้ ประเทศอิหร่านจะได้รับการช่วยเหลือจากสหรัฐ สหภาพยุโรปและวิธีการบังคับที่เกี่ยวข้องกับนิวเคลียร์ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาต.

ดู สหรัฐและแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วม

แจ๊ส

แจ๊ส เป็นลักษณะดนตรีชนิดหนึ่งที่พัฒนามาจากกลุ่มคนดำในสหรัฐอเมริกา (African Americans) ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีลักษณะพิเศษคือโน้ตบลูส์ การลัดจังหวะ จังหวะสวิง การโต้และตอบทางดนตรี และการเล่นสด โดยแจ๊สถือเป็นลักษณะดนตรีคลาสสิกชนิดหนึ่งของสหรัฐอเมริก.

ดู สหรัฐและแจ๊ส

แจ็กสัน พอลล็อก

อล แจ็กสัน พอลล็อก (Paul Jackson Pollock) เป็นจิตรกรชาวอเมริกันยุคศตวรรษที่ 20 และเป็นผู้นำขบวนการเขียนภาพแบบสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม (abstract expressionism) ซึ่งเป็นการทำงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือเทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือแบบแผนใด ๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะชิ้นนั้น พอลล็อกได้รับสมญานามว่า "แจ็กเดอะดริปเปอร์" (Jack The Dripper) จากนิตยสารไทม์ ด้วยแบบอย่างการเขียนภาพที่เรียกว่า กัมมันตจิตรกรรม (action painting) ด้วยการสาด เท หยด สลัดสีลงบนผ้าใบขนาดใหญ่ แสดงถึงความเคลื่อนไหวว่องไวและมีพลัง ด้วยผลงานที่น่าสนใจและวิธีการซึ่งเป็นเอกลักษณ์นี้ ทำให้เขามีชื่อเสียง และผลงานของเขาหลาย ๆ ชิ้นมีราคาสูงหลายล้านดอลลาร.

ดู สหรัฐและแจ็กสัน พอลล็อก

แดลลัส

แดลลัส (Dallas) เป็นเมืองขนาดใหญ่ในสหรัฐอเมริกาตั้งอยู่ในรัฐเทกซัส มีพื้นที่ 385 ตร.ไมล์ (997 ตร.กม.) ซึ่งเมื่อ กรกฎาคม 2549 มีประชากร 1,250,280 คน แดลลัสตั้งอยู่เป็นเมืองคู่กับเมืองฟอร์ตเวิร์ธ แดลลัสก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและแดลลัส

แซนตาเฟ (รัฐนิวเม็กซิโก)

แซนตาเฟ (Santa Fe) เป็นเมืองหลวงของรัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของรัฐ เป็นคันทรีซีตของแซนตาเฟเคาน์ตี มีประชากร 67,947 คน จากการสำรวจประชากรในปี..

ดู สหรัฐและแซนตาเฟ (รัฐนิวเม็กซิโก)

แนวคิดหลังยุคนวนิยม

แนวคิดหลังยุคนวนิยม (Postmodernism) บางทีใช้คำว่าหลังสมัยใหม่ หรือแนวคิดหลังสมัยใหม่ เป็นแนวคิดทางการเมือง ปรัชญา วัฒนธรรม สังคม ดนตรี และอื่น ๆ ที่ก่อตัวขึ้นโดยมีมุมมองที่ต่างออกไปจากมุมมองทางความคิดแบบเดิม ๆ ของโลก ไม่ว่าจะแนวคิดลัทธิก่อนสมัยใหม่ หรือแนวคิดลัทธิสมัยใหม่ แนวคิดหลังสมัยใหม่ถูกจัดเข้ารวมกับทฤษฎีสายวิพากษ์ (Critical Theory/Critical Scholar).

ดู สหรัฐและแนวคิดหลังยุคนวนิยม

แนนซี เพโลซี

แนนซี เพโลซี (Nancy Pelosi (ชื่อเต็ม Nancy Patricia D'Alesandro Pelosi)) เกืดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1940 ที่เมืองบัลติมอร์ รัฐแมริแลนด์ ปัจจุบันมีตำแหน่งเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะได้รับตำแหน่งในสภาคองเกรสที่ 110 เพโลซีมีตำแหน่งเป็นผู้นำพรรคฝ่ายค้าน (Minority Leader) ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและแนนซี เพโลซี

แนแธเนียล ฮอว์ธอร์น

แนแธเนียล ฮอว์ธอร์น (Nathaniel Hawthorne หรือชื่อเมื่อเกิด: Nathaniel Hathorne) (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1804 - (19 พฤษภาคม ค.ศ. 1864) แนแธเนียล ฮอว์ธอร์นเป็นนักเขียนนวนิยาย และ นักเขียนเรื่องสั้นคนสำคัญชาวอเมริกัน ที่เกิดเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู สหรัฐและแนแธเนียล ฮอว์ธอร์น

ให้ยืม-เช่า

ประธานาธิบดีโรสเวลต์ลงนามร่างรัฐบัญญัติให้ยืม-เช่าเพื่อมอบความช่วยเหลือแก่บริเตนและจีน (ค.ศ. 1941) นโยบายให้ยืม-เช่า (Lend-Lease) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "รัฐบัญญัติส่งเสริมการป้องกันสหรัฐ" (An Act to Promote the Defense of the United States), (Pub.L.

ดู สหรัฐและให้ยืม-เช่า

โบราณคดี

การขุดค้นซากโบราณ โบราณคดี (Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการสำรวจ การขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบในการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากกระบวนการข้างต้น เพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เรณูวิทยา การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไท.

ดู สหรัฐและโบราณคดี

โมบิดิก

มบิดิก (Moby-Dick) คือนวนิยายของ เฮอร์มัน เมลวิลล์ ในปี..

ดู สหรัฐและโมบิดิก

โรคฝีดาษ

ฝีดาษตามลำตัวของผู้ป่วย การระบาดของฝีดาษในยุโรป การติดเชื้อฝีดาษของชาวอเมริกันอินเดียนจากชาวยุโรป ฝีดาษ, ไข้ทรพิษ หรือ ไข้หัว (Smallpox) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่เกิดจาก small poxvirus (Variolar) มีลักษณะเฉพาะคือมีผื่นขึ้นตามตัว และมีอาการทั่วไปรุนแรง โรคนี้ระบาดในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถานและเอธิโอเปียเมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและโรคฝีดาษ

โรคหลอดเลือดสมอง

รคลมปัจจุบัน หรือ โรคลมเหตุหลอดเลือดสมอง หรือ โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เป็นการหยุดการทำงานของสมองอย่างฉับพลันโดยมีสาเหตุจากการรบกวนหลอดเลือดที่เลี้ยงสมอง โรคนี้อาจเกิดจากการขาดเลือดเฉพาะที่ของสมอง (ischemia) ซึ่งมีสาเหตุจากภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด (thrombosis) หรือภาวะมีสิ่งหลุดอุดหลอดเลือด (embolism) หรืออาจเกิดจากการตกเลือด (hemorrhage) ในสมอง ผลจากภาวะดังกล่าวทำให้สมองส่วนที่ขาดเลือดหรือตกเลือดทำงานไม่ได้ และอาจส่งผลทำให้อัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia; ไม่สามารถขยับแขนขาส่วนใดส่วนหนึ่งหรือซีกใดซีกหนึ่ง) ไม่สามารถที่จะทำความเข้าใจหรือพูดได้ หรือตาบอดครึ่งซีก (hemianopsia; ไม่สามารถมองเห็นครึ่งซีกหนึ่งของลานสายตา) ทั้งนี้ถ้ามีความรุนแรงมาก อาจทำให้ถึงตายได้ โรคลมปัจจุบันเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ซึ่งสามารถทำให้เสียการทำงานของระบบประสาทอย่างถาวร อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนมากมายทำให้พิการและเสียชีวิตได้ นับเป็นสาเหตุหลักของความพิการในสหรัฐอเมริกาและยุโรป และเป็นสาเหตุการตายอันดับที่สองของทั่วโลก และกำลังจะขึ้นเป็นสาเหตุการตายอันดับแรกในไม่ช้.

ดู สหรัฐและโรคหลอดเลือดสมอง

โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ

รคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery disease (CAD)) หรือที่เรียกว่าโรคหลอดเลือดแดงหัวใจแข็ง (accessdate หรือ atherosclerotic cardiovascular disease หรือ coronary heart disease) หรือ โรคหัวใจขาดเลือด (ischemic heart disease (IHD)) เป็นชนิดที่พบบ่อยที่สุดของโรคหัวใจ และ สาเหตุของโรคหัวใจล้มเหลว.

ดู สหรัฐและโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ

โรคหัด

รคหัด (measles) เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่ติดต่อกันได้ง่ายมาก เกิดจากเชื้อไวรัสหัด ในระยะแรกผู้ป่วยจะมีไข้ ซึ่งมักเป็นไข้สูง (>40 องศาเซลเซียส) ไอ น้ำมูกไหลจากเยื่อจมูกอักเสบ และตาแดงจากเยื่อตาอักเสบ ในวันที่ 2-3 จะเริ่มมีจุดสีขาวขึ้นในปาก เรียกว่าจุดของคอปลิก จากนั้นในวันที่ 3-5 จะเริ่มมีผื่นเป็นผื่นแดงแบน เริ่มขึ้นที่ใบหน้า จากนั้นจึงลามไปทั่วตัว อาการมักเริ่มเป็น 10-12 หลังจากรับเชื้อ และมักเป็นอยู่ 7-10 วันสามารถพบภาวะแทรกซ้อนได้ราว 30% ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้แก่ ท้องร่วง ตาบอด สมองอักเสบ ปอดอักเสบ และอื่นๆ โรคนี้เป็นคนละโรคกับโรคหัดเยอรมันและหัดกุหลาบ โรคหัดติดต่อทางอากาศ เชื้อหัดจะออกมาพร้อมกับการไอและการจามของผู้ป่วย นอกจากนี้ยังอาจติดต่อผ่านการสัมผัสน้ำลายหรือน้ำมูกของผู้ป่วยได้ด้วย หากมีผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและอยู่ในที่เดียวกันกับผู้ติดเชื้อ จะเกิดการติดเชื้อถึงเก้าในสิบ ผู้ติดเชื้อจะสามารถแพร่เชื้อให้คนอื่นได้ตั้งแต่ 4 วันก่อนมีอาการ ไปจนถึง 4 วัน หลังเริ่มมีผื่น.

ดู สหรัฐและโรคหัด

โรคอัลไซเมอร์

รคอัลซไฮเมอร์ หรือ โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease หรือ AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ.

ดู สหรัฐและโรคอัลไซเมอร์

โรคอ้วน

รคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมีผลเสียต่อสุขภาพ ทำให้มีการคาดหมายคงชีพลดลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น หรืออย่างใดอย่างหนึ่งWHO 2000 p.6 การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย (BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) ยกกำลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้ำหนักเกิน โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน การขาดกิจกรรมทางกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีน ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ ยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก สำหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้ำหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้นมีหลักฐานสนับสนุนจำกัด โดยเฉลี่ยแล้ว คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรักษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้น การจำกัดอาหารและการออกกำลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหารหรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสม หากอาหาร การออกกำลังกายและยาไม่ได้ผล การทำบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon) อาจช่วยให้น้ำหนักลดได้ หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลำไส้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้ โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 21 โรคอ้วนถูกระบุว่าเป็นปัญหาในโลกสมัยใหม่อย่างมาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกตะวันตก) ทว่าในอดีต ความอ้วนถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์ และกระทั่งปัจจุบันก็ยังมีความเชื่อดังกล่าวในบางบริเวณของโลก ใน..

ดู สหรัฐและโรคอ้วน

โรคซึมเศร้า

รคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติทำให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และอาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้แก่ผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ทำงานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น คำว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะทำให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฆ่าตัวตาย และมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ) เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชาย การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคลและการทดสอบสภาพจิต ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะทำงานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะนำให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐานเพียงพอสำหรับการคัดกรองโรค โดยทั่วไป โรคซึมเศร้ารักษาได้ด้วยจิตบำบัดและยาแก้ซึมเศร้า ดูเหมือนยาจะมีประสิทธิภาพ แต่ฤทธิ์อาจสำคัญเฉพาะในผู้ที่ซึมเศร้ารุนแรงมาก ๆ เท่านั้น ไม่ชัดเจนว่ายาส่งผลต่อความเสี่ยงการฆ่าตัวตายหรือไม่ ชนิดของจิตบำบัดที่ใช้มีการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy) และการบำบัดระหว่างบุคคล หากมาตรการอื่นไม่เป็นผล อาจทดลองให้การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (ECT) อาจจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยที่มีควมเสี่ยงทำร้ายตนเองเข้าโรงพยาบาลแม้บางทีอาจขัดต่อความประสงค์ของบุคคล ความเข้าใจถึงธรรมชาติและสาเหตุของความซึมเศร้าได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังไม่สมบูรณ์และยังมีประเด็นมากมายที่ยังต้องวิจัย เหตุที่เสนอรวมทั้งเป็นปัญหาทางจิต ทางจิต-สังคม ทางกรรมพันธุ์ ทางวิวัฒนาการ และปัจจัยอื่น ๆ ทางชีวภาพ การใช้สารเสพติดเป็นเวลานานอาจเป็นเหตุหรือทำอาการเศร้าซึมให้แย่ลง การบำบัดทางจิตอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนรู้ ทฤษฎีทางชีววิทยามักจะพุ่งความสนใจไปที่สารสื่อประสาทแบบโมโนอะมีน คือ เซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดพามีน ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติในสมองและช่วยการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท.

ดู สหรัฐและโรคซึมเศร้า

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

รคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive pulmonary disease, COPD, chronic obstructive lung disease, COLD, chronic obstructive airway disease, COAD) เป็นโรคปอดอุดกั้นที่มีลักษณะเฉพาะคือความบกพร่องอย่างเรื้อรังในการไหลผ่านของอากาศของระบบทางเดินหายใจ --> และมักจะแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไป --> อาการที่พบบ่อยได้แก่ เหนื่อย ไอ และ มีเสมหะ ผู้ป่วยหลอดลมอักเสบเรื้อรังส่วนใหญ่จะมี COPD ด้วย สาเหตุพบบ่อยที่สุดของ COPD คือการสูบบุหรี่ สาเหตุอื่นๆ ที่มีบทบาทบ้างแต่น้อยกว่าการสูบบุหรี่ได้แก่ มลพิษทางอากาศ และ พันธุกรรม เป็นต้น สาเหตุของมลพิษทางอากาศที่พบบ่อยในประเทศที่กำลังพัฒนาอีกอย่างหนึ่งได้แก่ อากาศเสียจากการทำอาหารหรือควันไฟ การสัมผัสสิ่งระคายเคืองเหล่านี้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาการอักเสบขึ้นในเนื้อปอด ทำให้หลอดลมฝอยตีบลงและการแตกตัวของเนื้อเยื้อปอด เรียกว่า ถุงลมโป่งพอง อังกฤษ:emphysema การวินิจฉัยนั้นใช้พื้นฐานของความสามารถในการไหลผ่านของอากาศด้วยการตรวจวัดโดย การทดสอบการทำงานของปอด โดยมีความแตกต่างจากโรคหอบหืด คือ การลดลงของปริมาณอากาศที่ไหลผ่านด้วยการให้ยานั้นไม่ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ COPD สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงของสาเหตุของโรคที่ทราบ ซึ่งรวมถึงการลดปริมาณการสูบบุหรี่และการปรับปรุงคุณภาพของอากาศทั้งภายในและภายนอก การรักษา COPD ได้แก่: การเลิกสูบบุหรี่ การฉีดวัคซีน การฟื้นฟูสภาพ และการพ่นสูดยาขยายหลอดลมบ่อยๆ และการใช้ยาสเตียรอยด์ บางคนอาจได้รับประโยชน์จากการบำบัดด้วยออกซิเจนระยะยาวหรือการปลูกถ่ายปอด ในกลุ่มผู้ที่มีการทรุดลงอย่างเฉียบพลันช่วงหนึ่ง การเพิ่มยาที่ใช้รักษาและการเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลอาจเป็นสิ่งจำเป็น ในทั่วโลกมีผู้ที่ป่วยด้วย COPD จำนวน 329 ล้านคนหรือเกือบ 5% ของจำนวนประชากร ในปี..

ดู สหรัฐและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

โรคไต

รคไต หมายถึง โรคชนิดหนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติของพยาธิสภาพของไตในการทำงานเพื่อขับของเสียออกจากร่างกายและรักษาความสมดุลของเกลือและน้ำในร่างกายมนุษย์ โรคไตมีหลายประเภทดังนี้.

ดู สหรัฐและโรคไต

โรนัลด์ เรแกน

รนัลด์ วิลสัน เรแกน (Ronald Wilson Reagan; 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454 – 5 มิถุนายน พ.ศ. 2547) เป็นประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 (พ.ศ. 2524–2532) สังกัดพรรครีพับลิกัน นอกจากนี้เรแกนยังดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย คนที่ 33 (พ.ศ.

ดู สหรัฐและโรนัลด์ เรแกน

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.

ดู สหรัฐและโลกาภิวัตน์

โลกที่สาม

คำว่า "โลกที่สาม" กำเนิดระหว่างสงครามเย็น นิยามประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ทั้งนาโตหรือกลุ่มคอมมิวนิสต์ สหรัฐ แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ชาติยุโรปตะวันตกและพันธมิตรเป็นโลกที่หนึ่ง ส่วนสหภาพโซเวียต จีน คิวบาและพันธมิตรเป็นโลกที่สอง คำนี้เป็นวิธีจำแนกประเทษในโลกออกเป็นสามกลุ่มใหญ่ ๆ โดยยึดการแบ่งแยกทางการเมืองและเศรษฐกิจ ปกติโลกที่สามถูกมองว่ารวมหลายประเทศอดีตอาณานิคมในทวีปแอฟริกา ละตินอเมริกา โอเชียเนียและเอเชีย บางครั้งถือเอาสมนัยกับประเทศในขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ในทฤษฎีพึ่งพาของนักคิดอย่างราอูล พรีบิช (Raúl Prebisch), วัลเทอร์ รอดนีย์ (Walter Rodney), ทีโอโตนีโอ ดอส ซานโตส (Theotonio dos Santos) และอังเดร กุนเดอร์ แฟรงค์ โลกที่สามเชื่อมกับการแบ่งเศรษฐกิจเป็นประเทศ "ขอบนอก" ในระบบโลกที่มีประเทศ "แกน" ครอบงำ เนื่องจากประวัติศาสตร์ความหมายและบริบทที่วิวัฒนาอย่างซับซ้อน จึงไม่มีบทนิยามของ "โลกที่สาม" อย่างชัดเจนหรือเป็นที่ยอมรับ บางประเทศในกลุ่มคอมมิวนิสต์ เช่น คิวบา ถือว่าเป็น "โลกที่สาม" ่บ่อยครั้ง เพราะประเทศโลกที่สามยากจนทางเศรษฐกิจ ไม่เป็นอุตสาหกรรม จึงเป็นคำเหมาเรียกประเทศยากจนว่า "ประเทศโลกที่สาม" กระนั้น คำว่า "โลกที่สาม" ยังมักใช้รวมประเทศอุตสาหกรรมใหม่อย่างบราซิล อินเดียและจีนซึ่งปัจจุบันเรียกเป็นส่วนหนึ่งของ BRIC ในอดีต ประเทศยุโรปบางประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดและประเทศเหล่านี้ส่วนน้อยที่ร่ำรวยมาก ได้แก่ ไอร์แลนด์ ออสเตรีย สวีเดน ฟินแลนด์และสวิสเซอร์แลนด์ ในช่วงทศวรรษหลังนับแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตและการสิ้นสุดของสงครามเย็น มีการใช้คำว่า "โลกที่สาม" แทนประเทศด้อยพัฒนา โกลบอลเซาท์ และประเทศกำลังพัฒนา แต่มโนทัศน์ดังกล่าวล้าสมัยแล้วในปีล่าสุดเพราะไม่เป็นตัวแทนของสถานภาพการเมืองหรือเศรษฐกิจของโลกอีกต่อไป หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง หมวดหมู่:การจำแนกหมวดหมู่ประเทศ หมวดหมู่:การเมืองแบ่งตามภูมิภาค หมวดหมู่:อภิธานศัพท์สงครามเย็น.

ดู สหรัฐและโลกที่สาม

โลกใหม่

ระวังสับสนกับ โลกยุคใหม่โลกใหม่ (สีเขียว) เปรียบเทียบกับ โลกเก่า (สีเทา) โลกใหม่ (New World) เป็นคำที่ใช้สำหรับดินแดนที่นอกไปจากทวีปแอฟริกา ทวีปยุโรป และ ทวีปเอเชีย ที่ก็คือทวีปอเมริกา และอาจจะรวมไปถึงออสตราเลเชียด้วย เป็นคำที่เริ่มใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อทวีปอเมริกายังใหม่ต่อชาวยุโรปผู้ที่เดิมเชื่อว่าโลกประกอบด้วยทวีปเพียงสามทวีปที่เรียกรวมกันว่าโลกเก่า คำว่า “โลกใหม่” ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า “โลกยุคใหม่” (Modern era) คำหลังหมายถึงช่วงเวลาในประวัติศาสตร์มิใช่แผ่นดิน.

ดู สหรัฐและโลกใหม่

โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือ ซัมเมอร์โอลิมปิกเกมส์ (Summer Olympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศ ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแข่งขันทุกสี่ปี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (International Olympic Committee หรือ IOC) ในแต่ละครั้งจะมีการมอบเหรียญรางวัล ผู้ชนะเลิศได้เหรียญทอง อันดับสองได้เหรียญเงิน และอันดับสามได้เหรียญทองแดง การมอบเหรียญนี้เป็นประเพณีตั้งแต่ปี 1904 ต่อมามีการจัดแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว อันสืบเนื่องมาจากความสำเร็จของโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันนั้นเริ่มต้นครั้งแรกด้วยกีฬาเพียง 42 ประเภท และนักกีฬาชายเพียง 250 คน จนมีจำนวนเพิ่มขึ้นถึงมากกว่า 10,000 คน ของนักกีฬาชายและหญิงจาก 202 ประเทศทั่วโลก คณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ที่ปักกิ่ง คาดการณ์ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน เข้าชิงชัยใน 302 รายการ ในขณะที่กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่คณะกรรมการจัดการแข่งขันได้ประมาณการไว้ว่าจะมีนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันประมาณ 10,500 คน แต่ก็เกิดการคลาดเคลื่อนขึ้นเพราะมีผู้เข้าแข่งขันกว่า 11,099 คน ใน 301 รายการแข่งขัน นักกีฬาถูกส่งเข้าแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศต่าง ๆ (NOC-National Olympic Committee) เพื่อแสดงจำนวนพลเมืองในบังคับของประเทศตน เพลงชาติและธงชาติประกอบพิธีมอบเหรียญ และตารางแสดงจำนวนเหรียญที่ชนะ โดยถูกใช้อย่างกว้างขวางในบางประเทศ โดยปกติแล้วเฉพาะประเทศที่ได้รับการรับรองเท่านั้นที่จะมีผู้แทนได้ แต่มีแค่เพียงประเทศมหาอำนาจบางประเทศเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้มีส่วนร่วม โดยมีเพียง 4 ประเทศที่ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้ง ได้แก่ ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร กรีซ และสวิตเซอร์แลนด์ และมีเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่ชนะและได้รับเหรียญทองอย่างน้อย 1 เหรียญจากการแข่งขันทุกครั้ง คือ สหราชอาณาจักร โดยได้รับตั้งแต่ 1 เหรียญทอง ในปี 1904 1952 และ 1996 จนถึงได้รับ 56 เหรียญทอง ในปี 1908.

ดู สหรัฐและโอลิมปิกฤดูร้อน

โอลิมปิกฤดูหนาว

อลิมปิกฤดูหนาว (Winter Olympic Games) เป็นการแข่งขันระดับโอลิมปิกด้านกีฬาฤดูหนาวที่จัดขึ้นทุก 4 ปี ลักษณะของกีฬาฤดูหนาวจะจัดขึ้นในภูมิประเทศที่เป็นน้ำแข็งหรือหิมะ เช่นสเกตน้ำแข็งและสกี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกของชาติต่าง ๆ (NOCs) บางประเทศนั้นจะเป็นคณะเดียวกันกับโอลิมปิกฤดูร้อนที่จะเป็นผู้ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกับนักกีฬาของชาติอื่น เพื่อชิงเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง สำหรับจำนวนประเทศที่มีส่วนร่วมในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวน้อยกว่าโอลิมปิกฤดูร้อน ด้วยเหตุผลชัดเจนของสภาพภูมิประเทศ และประเทศส่วนใหญ่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ซึ่งไม่มีโอกาสที่จะเข้าถึงการฝึกกีฬาฤดูหนาวนั่นเอง ทั้งนี้ การแข่งขันครั้งแรก จัดขึ้นที่เมืองชาโมนิคซ์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและโอลิมปิกฤดูหนาว

โทรศัพท์

ทรศัพท์ เป็นรูปแบบหนึ่งของการสื่อสารทางไกลด้วยเสียง อาจหมายถึง.

ดู สหรัฐและโทรศัพท์

โทรทัศน์

อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและโทรทัศน์

โทษประหารชีวิต

ประเทศที่เลิกใช้โทษประหารชีวิต: 103 ประเทศ โทษประหารชีวิต หรือ อุกฤษฏ์โทษ (capital punishment, death penalty) เป็นกระบวนการทางกฎหมายซึ่งรัฐลงโทษอาชญากรรมของบุคคลด้วยการทำให้ตาย คำสั่งของศาลที่ให้ลงโทษบุคคลในลักษณะนี้ เรียก การลงโทษประหารชีวิต ขณะที่การบังคับใช้โทษนี้ เรียก การประหารชีวิต อาชญากรรมที่มีโทษประหารชีวิต เรียก "ความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ" คำว่า capital มาจากคำภาษาละตินว่า capitalis ความหมายตามตัวอักษร คือ "เกี่ยวกับหัว" (หมายถึงการประหารชีวิตโดยการตัดหัว) สังคมอดีตส่วนมากนั้นมีโทษประหารชีวิตโดยเป็นการลงโทษอาชญากร และผู้ไม่เห็นด้วยทางการเมืองหรือศาสนา ในประวัติศาสตร์ การลงโทษประหารชีวิตมักสัมพันธ์กับการทรมาน และมักประหารชีวิตในที่สาธารณะ ปัจจุบันมีประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต 58 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตสำหรับอาชญากรรมทุกรูปแบบโดยนิตินัย 98 ประเทศ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตเฉพาะอาชญากรรมปรกติ 7 ประเทศ (โดยคงไว้สำหรับพฤติการณ์พิเศษ เช่น อาชญากรรมสงคราม) และประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตโดยพฤตินัย (คือ ไม่ได้ใช้โทษประหารชีวิตอย่างน้อยสิบปี และอยู่ระหว่างงดใช้โทษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง) องค์การนิรโทษกรรมสากลมองว่าประเทศส่วนใหญ่เป็นผู้ยกเลิก (abolitionist) โดยองค์การฯ พิจารณาว่า 140 ประเทศเป็นผู้ยกเลิกในทางกฎหมายหรือทางปฏิบัติ การประหารชีวิตเกือบ 90% ทั่วโลกเกิดในทวีปเอเชีย แทบทุกประเทศในโลกห้ามการประหารชีวิตบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปีขณะก่อเหตุ นับแต่ปี 2552 มีเพียงประเทศอิหร่าน ซาอุดิอาระเบียและซูดานที่ยังประหารชีวิตลักษณะนี้ กฎหมายระหว่างประเทศห้ามการประหารชีวิตประเภทนี้ โทษประหารชีวิตกำลังเป็นประเด็นการถกเถียงอยู่ในหลายประเทศ และจุดยืนอาจมีได้หลากหลายในอุดมการณ์ทางการเมืองหรือภูมิภาคทางวัฒนธรรมหนึ่ง ๆ ในรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป ข้อ 2 แห่งกฎบัตรสิทธิมูลฐานแห่งสหภาพยุโรปห้ามการใช้โทษประหารชีวิต สภายุโรปซึ่งมีรัฐสมาชิก 47 ประเทศ ยังห้ามสมาชิกใช้โทษประหารชีวิต สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับข้อมติไม่ผูกพันในปี 2550, 2551 และ 2553 เรียกร้องให้มีการผ่อนเวลาการประหารชีวิตทั่วโลก ซึ่งมุ่งให้ยกเลิกในที่สุด แม้หลายชาติยกเลิกโทษประหารชีวิตแล้ว แต่ประชากรโลกกว่า 60% อาศัยอยู่ในประเทศซึ่งเกิดการประหารชีวิต เช่น สี่ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกาและอินโดนีเซีย ซึ่งยังใช้บังคับโทษประหารชีวิต ทั้งสี่ประเทศออกเสียงคัดค้านข้อมติสมัชชาใหญ่ดังกล่าว.

ดู สหรัฐและโทษประหารชีวิต

โดยพฤตินัย

ตินัย (De facto) หมายความว่า "by fact" หรือตามความเป็นจริง ซึ่งตั้งใจที่จะหมายความว่า "ในทางปฏิบัติหรือตามความเป็นจริง ที่อาจจะมิได้เป็นไปตามกฎหมายที่วางไว้" “โดยพฤตินัย” มักจะใช้คู่กับ “โดยนิตินัย” (de jure) เมื่อกล่าวถึงกฎหมาย, การปกครอง หรือวิธี (เช่นมาตรฐาน) ที่พบในประสบการณ์ที่สร้างหรือวิวัฒนาการขึ้นนอกเหนือไปจากในกรอบของกฎหมาย เมื่อใช้ในกิจการที่เกี่ยวกับกฎหมาย “โดยนิตินัย” จะหมายถึงสิ่งที่กฎหมายกำหนด และ “โดยพฤตินัย” ก็จะหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง ซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกับวลี "for all intents and purposes" ("สรุปโดยทั่วไปแล้ว") หรือ "in fact" ("ตามความเป็นจริง") ในทางการปกครอง "de facto government" อาจจะหมายถึงรัฐบาลที่มีอำนาจปกครองที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นที่ยอมรับโดยนานาชาติว่าเป็นรัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย นอกจากนั้นก็อาจจะเป็นคำที่ใช้สถานการณ์ที่ไม่มีกฎหรือมาตรฐานแต่มีการปฏิบัติที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป.

ดู สหรัฐและโดยพฤตินัย

โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ

ัญลักษณ์ของยูเอ็นดีพี สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program: UNDP) มีสำนักงานใหญ่ที่ เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นองค์การพหุภาคี เพื่อช่วยเหลือด้านการพัฒนา และเป็นหน่วยงานสำคัญในการประสานงานความช่วยเหลือในด้านการพัฒนาของสหประชาชาติ โดยเริ่มจากการขยายการให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ แก่ประเทศกำลังพัฒนา ด้วยหลักการดำเนินการแบบสากลและเป็นกลางในทางการเมือง ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ๆสำคัญๆ มีสมาชิก 170 ประเทศ เพื่อร่วมมือในการวางแผน และดำเนินโครงการในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม การศึกษา และสิ่งแวดล้อม.

ดู สหรัฐและโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ

โครงการแมนฮัตตัน

กรุงลอนดอน โครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project หรือชื่อที่เป็นทางการ Manhattan Engineering District) เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับความช่วยเหลือจากสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา การวิจัยนำโดยนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เจ.

ดู สหรัฐและโครงการแมนฮัตตัน

โคคา-โคล่า

รื่องหมายการค้าจดทะเบียนของบริษัทโคคา-โคล่า โคคา-โคล่า โรงงานบรรจุขวด 8 มกราคม 1941 มอนทรีออล, ประเทศแคนาดา Coca-Cola โคคา-โคล่า เป็นเครื่องดื่มอัดลมที่วางขายตามร้านค้า ภัตตาคารและตู้ขายสินค้าแบบหยอดเหรียญในกว่า 200 ประเทศ ผลิตโดย บริษัทโคคา-โคล่าแห่งแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย ซึ่งมักเรียกสั้น ๆ ว่า โค้ก (เครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของบริษัทโคคา-โคล่าในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ.

ดู สหรัฐและโคคา-โคล่า

โต้คลื่น

นักกีฬาโต้คลื่น กีฬาโต้คลื่น เป็นกีฬาที่ต้องใช้กระดานโต้คลื่นเป็นอุปกรณ์หลักในการเล่น โดยผู้เล่นจะนำกระดานโต้คลื่นออกไปในทะเลเพื่อจะว่ายน้ำจับคลื่นไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น และเมื่อคลื่นมีกำลังแรงพอที่จะพยุงตัวนักโต้คลื่นและกระดานโต้คลื่นแล้ว นักโต้คลื่นจะยืนทรงตัวบนกระดานโต้คลื่น และแสดงท่าทางลีลาในการโต้คลื่น.

ดู สหรัฐและโต้คลื่น

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ดู สหรัฐและโปรเตสแตนต์

โนม ชอมสกี

นม ชอมสกี ดร.

ดู สหรัฐและโนม ชอมสกี

ไมก์ เพนซ์

มเคิล ริชาร์ด เพนซ์ (Michael Richard Pence) หรือเรียกอย่างง่ายว่า ไมก์ เพนซ์ (Mike Pence) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก่อนหน้านี้เขาเป็นผู้ว่าการรัฐอินดีแอนาระหว่าง..

ดู สหรัฐและไมก์ เพนซ์

ไมโครซอฟท์

มโครซอฟท์ (Microsoft) เป็นหนึ่งในบริษัทผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก มีฐานการผลิตอยู่ที่เมืองเรดมอนด์ รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา โดยผลิตภัณฑ์ของไมโครซอฟท์ที่มีกำลังการตลาดมากที่สุดคือ ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ จุดเริ่มต้นของบริษัทคือการพัฒนาและออกจำหน่ายตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับเครื่องแอทแอร์ 8800 หลังจากนี้น ไมโครซอฟท์เริ่มมีอิทธิพลต่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์ภายในบ้าน โดยการออกระบบปฏิบัติการไมโครซอฟท์ดอสเมื่อช่วงกลางยุค 1980 ในสายการผลิตของไมโครซอฟท์ วินโดวส์ โดยได้รับความนิยมจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี นักวิจารณ์ผู้หนึ่งกล่าวถึงเป้าหมายแรกของไมโครซอฟท์ว่า ไมโครซอฟท์ได้เริ่มครอบงำตลาดซอฟต์แวร์อื่นๆ โดยไมโครซอฟท์มีกิจการอื่นๆ ของตัวเองเช่น MSNBC (ดำเนินธุรกิจเคเบิลทีวี), เอ็มเอสเอ็น (ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต),และเอ็นคาร์ทาร์ (ดำเนินธุรกิจสารานุกรมออนไลน์) บริษัทยังดำเนินกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์อีกด้วย เช่น เมาส์ และอุปกรณ์ความบันเทิงต่าง ๆ เช่น Xbox, Xbox 360, Xbox One, ซูน และ เอ็มเอสเอ็น ทีวี.

ดู สหรัฐและไมโครซอฟท์

ไมเคิล แจ็กสัน

มเคิล โจเซฟ แจ็กสัน เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแต่งเพลง นักออกแบบท่าเต้น นักแสดง โปรดิวเซอร์เพลงและนักการกุศล ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ราชาเพลงป็อป" (The King of Pop)อิทธิพลทางดนตรี การเต้นรำ แฟชั่นและผลงานด้านมนุษยธรรม กับชีวิตส่วนตัวที่ถูกเผยแพร่ควบคู่ไปกับความสำเร็จ ทำให้เขาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมร่วมสมัยมากว่า 4 ทศวรรษ เขาเป็นลูกคนที่ 8 ของครอบครัวแจ็กสัน ปรากฏตัวครั้งแรกในระดับอาชีพด้านดนตรีตั้งแต่อายุ 5 ปี โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกวงเดอะแจ็กสันไฟฟ์ในปี 1964 เขาเริ่มมีผลงานเดี่ยวในปี 1971 ขณะที่ยังคงเป็นสมาชิกของวงอยู่ ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เขากลายเป็นส่วนสำคัญในวัฒนธรรมเพลงป็อป และถือเป็นศิลปินชาวแอฟริกัน-อเมริกันคนแรกที่มีผลงานออกอากาศผ่านทางช่องเอ็มทีวี มิวสิกวิดีโอของเขา ประกอบด้วยเพลง "Beat It", "Billie Jean" และ "Thriller" ได้รับการยกย่องสำหรับการทำลายอุปสรรคทางเชื้อชาติ และเปลี่ยนแปลงรูปแบบมิวสิกวิดีโอจากอุปกรณ์การประชาสัมพันธ์ไปเป็นรูปแบบของงานศิลปะ ความนิยมของมิวสิกวิดีโอเหล่านี้ได้ช่วยให้ช่องเอ็มทีวีที่เพิ่งเปิดใหม่นี้มีชื่อเสียง อัลบั้ม Bad ของเขาในปี 1987 นับเป็นอัลบั้มเพลงแรกในประวัติศาสตร์ที่มีเพลงอันดับ 1 ถึง 5 เพลงบนบิลบอร์ดฮ็อต 100 จากอัลบั้มเดียว มิวสิกวิดีโอในรูปแบบใหม่อย่างเพลง "Black or White" และ "Scream" ก็ยังออกอากาศบ่อยทางช่องเอ็มทีวี เขายังสร้างสรรค์สิ่งใหม่ตลอดคริสต์ทศวรรษ 1990 ด้วยชื่อเสียงที่เลื่องลือในฐานะศิลปินเดี่ยวกับลีลาบนเวทีและการแสดง แจ็กสันสร้างความโด่งดังให้กับเทคนิคการเต้นที่ซับซ้อนโดยใช้ร่างกายมากมายหลายๆท่า ซึ่งก่อให้เกิดการแพร่หลายอย่างมาก อย่างเช่นท่าเต้นหุ่นยนต์และท่าเต้นมูนวอล์ก เอกลักษณ์ทางด้านดนตรีและเสียงร้องอันโดดเด่นของเขายังมีอิทธิพลต่อศิลปินหลายแนวเพลง อิทธิพลของเขาได้แพร่กระจายไปสู่คนหลายรุ่นทั่วโลก Thriller ถือเป็นอัลบั้มเพลงที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาลสี่อัลบั้มเดี่ยวที่เหลือของเขา ก็ยังติดอันดับอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในโลก ประกอบด้วยชุด Off the Wall (1979), Bad (1987), Dangerous (1991) และ HIStory (1995) แจ็กสันเดินทางไปทั่วโลกเพื่อร่วมกิจกรรมด้านมนุษยธรรม เขาหาเงินนับร้อยล้านดอลลาร์เพื่อมูลนิธิการกุศลของเขา มีซิงเกิลและผลกำไรจากทัวร์คอนเสิร์ตที่เขาสนับสนุนให้กับองค์กร 39 แห่ง บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่าเขาเป็นบุคคลบันเทิงที่มีส่วนร่วมในการกุศลมากยิ่งกว่าดาราหรือศิลปินคนใดๆ ชีวิตส่วนตัวของเขามักปรากฏตัวโดยการปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและพฤติกรรมให้คนอื่นจำไม่ได้ แต่นี่ก็เป็นสิ่งที่ทำลายภาพลักษณ์ที่ดีของเขาด้วยเช่นกัน เขายังถูกข้อกล่าวหาลวนลามทางเพศเด็กในปี 1993 แต่ก็ปิดลงโดยเขาไม่มีความผิดเนื่องจากมีหลักฐานไม่เพียงพอ แจ็กสันมีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 และยังมีข้อมูลรายงานขัดแย้งในเรื่องฐานะการเงินของเขาตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แจ็กสันแต่งงานมาแล้วสองครั้ง มีลูกสามคน ต่อมาในปี 2005 เขามีข้อพิพาทอีกครั้งเรื่องล่วงละเมิดทางเพศและอีกหลายคดี แต่เขาก็ไม่มีความผิด (ซึ่งในภายหลังคู่กรณีหลายรายได้ออกมายอมรับว่า แจ็กสัน ไม่ได้กระทำ และที่กล่าวหา เพราะเป็นเด็ก และถูกผู้ปกครองบังคับ โดยหวังที่จะได้รับเงินค่าเสียหาย) เขาเป็นหนึ่งในไม่กี่ศิลปินที่มีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมถึงสองครั้ง ผลงานของเขาประสบความสำเร็จได้รับบันทึกสถิติหลายครั้ง กินเนสส์บุ้คเวิลด์เรคคอร์ดจารึกชื่อเขาเป็น "ศิลปินบันเทิงที่ประสบความสำเร็จที่สุดตลอดกาล" เขาเป็นนักร้องคนเดียวจากโลกดนตรีป็อปและร็อกแอนด์โรลที่มีชื่ออยู่ในหอเกียรติยศแดนซ์ฮอลออฟเฟม และยังเป็นศิลปินเพียงคนเดียวที่มีเพลงฮิตติดท็อป 10 บนบิลบอร์ดฮ็อต 100 ทุก 10 ปี ติดต่อกันนานกว่าครึ่งศตวรรษ แจ็กสันชนะรางวัลจากเวทีต่างๆ นับร้อยกว่ารางวัล ทำให้เขาเป็นศิลปินที่คว้ารางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงป็อปความสำเร็จอื่นๆ ของเขาได้แก่ สถิติในกินเนสบุ้คเวิลด์เรคคอร์ดหลายครั้ง 13 รางวัลแกรมมี่ รางวัลพิเศษ Grammy Legend Award, Grammy Lifetime Achievement Award 26 อเมริกันมิวสิกอวอร์ดส มากกว่าศิลปินคนใดๆ รวมไปถึงรางวัลพิเศษ "ศิลปินแห่งศตวรรษ" และ "ศิลปินแห่งทศวรรษ" 13 ซิงเกิลที่ขึ้นอันดับ 1 ในฐานะนักร้องเดี่ยว มากกว่าที่ศิลปินชายคนใดจะทำได้ และมียอดขายรวมกว่า 400 ล้านชุดทั่วโลก ไมเคิล แจ็กสัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ดู สหรัฐและไมเคิล แจ็กสัน

ไอบีเอ็ม

อบีเอ็ม (International Business Machines, IBM) หรือชื่อเล่น บิ๊กบลู (ยักษ์สีฟ้า) เป็นผู้ผลิตคอมพิวเตอร์และให้บริการด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ รายใหญ่ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่สหรัฐอเมริกา มีพนักงานมากกว่า 330,000 คนทั่วโลก ไอบีเอ็มก่อตั้งมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นบริษัทสารสนเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีสาขามากกว่า 170 ประเทศทั่วโลก ไอบีเอ็มเป็นผู้บุกเบิกเทคโนโลยีเมนเฟรมและนาโนเทคโนโลยี บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ..

ดู สหรัฐและไอบีเอ็ม

ไฮสกูล

นักเรียนไฮสคูลอเมริกันในห้องเรียน ไฮสกูล (high school) เป็นชื่อเรียกระบบการศึกษาภาคบังคับส่วนสุดท้าย มีลักษณะเหมือนกับมัธยมศึกษาตอนปลายในประเทศไทย โดยจะแตกต่างกันในระยะเวลาในการเรียนตั้งแต่ 3-5 ปี ในประเทศต่างๆที่ใช้ระบบไฮสกูล รวมถึง ออสเตรเลีย บราซิล แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ใน อังกฤษ สิงคโปร์ และ ฮ่องกง เรียกว่า "เซเกินแดรีสกูล" (secondary school).

ดู สหรัฐและไฮสกูล

ไซบีเรีย

ซบีเรีย ไซบีเรีย (Siberia, Сиби́рь) ถูกครอบครองโดยชนเผ่าเร่ร่อนหลากหลายกลุ่มแตกต่างออกไป เช่น Yenets, the Nenets, the Hun และ the Uyghurs Khan of Sibir ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้เคียง มีอากาศหนาวเย็นได้เข้าครอบครองแล้วตั้งชื่อว่า Khagan ใน Avaria ในปี..

ดู สหรัฐและไซบีเรีย

เบสบอล

Busch Stadium) ที่เมืองเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี เบสบอล (Baseball) เป็นกีฬาประเภททีม โดยผู้เล่นที่รับ ที่เรียกว่า ผู้ขว้าง หรือ พิทเชอร์ (pitcher) จะขว้างลูกเบสบอล ซึ่งมีขนาดประมาณเท่ากำปั้น มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2นิ้ว ให้ผู้เล่นทีมรุก ซึ่งเรียกว่า ผู้ตี หรือ แบตเตอร์ (batter) นั้นทำการตีลูกด้วยไม้เบสบอล (bat)ซึ่งทำจากไม้หรืออะลูมิเนียม.

ดู สหรัฐและเบสบอล

เบาหวานชนิดที่ 2

หวานชนิดที่ 2 เป็นความผิดปกติของเมแทบอลิซึมระยะยาวซึ่งมีลักษณะคือ ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด การดื้ออินซูลิน และการขาดอินซูลินโดยสัมพัทธ์ อาการโดยทั่วไปได้แก่ กระหายน้ำเพิ่มขึ้น ปัสสาวะมากและน้ำหนักลดที่อธิบายสาเหตุไม่ได้ นอกจากนี้ ยังอาจมีอาการหิวบ่อย รู้สึกเหนื่อย และปวดไม่หาย อาการมักมาอย่างช้า ๆ ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวจากภาวะน้ำตาลสูงในเลือดรวมถึงโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคจอตาเหตุเบาหวานซึ่งอาจเป็นเหตุให้ตาบอด ไตวายและมีการไหลเวียนโลหิตในแขนขาน้อยซึ่งอาจทำให้ต้องตัดอวัยวะออก อาจเกิดภาวะน้ำตาลสูงในเลือดและออสโมลาริตีสูง (hyperosmolar hyperglycemic state) ทว่า ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตน (ketoacidosis) พบไม่บ่อย เบาหวานชนิดที่ 2 ส่วนใหญ่เกิดจากโรคอ้วนและการขาดการออกกำลังกาย บางคนมีความเสี่ยงทางพันธุกรรมมากกว่าคนทั่วไป มีผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 คิดเป็นประมาณ 90% ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด ส่วนอีก 10% ที่เหลือเป็นเบาหวานชนิดที่ 1 และเบาหวานแห่งครรภ์เป็นหลัก ในเบาหวานชนิดที่ 1 มีระดับอินซูลินทั้งหมดลดลงเพื่อควบคุมน้ำตาลในเลือด เนื่องจากการเสียเซลล์บีตาที่ผลิตอินซูลินในตับอ่อนเหตุภาวะภูมิต้านตนเอง การวินิจฉัยโรคเบาหวานทำได้โดยการตรวจเลือด เช่น ระดับกลูโคสในพลาสมาขณะอดอาหาร การทดสอบความทนกลูโคสทางปากหรือฮีโมโกลบินไกลเคต (glycated hemoglobin, A1C) เบาหวานชนิดที่ 2 ป้องกันได้ส่วนหนึ่งโดยการรักษาน้ำหนักให้ปกติ ออกกำลังกายสม่ำเสมอและรับประทานอาหารอย่างเหมาะสม การรักษามีการออกกำลังกายและเปลี่ยนแปลงอาหาร หากระดับน้ำตาลในเลือดไม่ลดลงอย่างเพียงพอ ตรงแบบแนะนำให้ยาเมตฟอร์มิน (metformin) หลายคนอาจลงเอยด้วยการฉีดอินซูลิน ในผู้ที่ต้องใช้อินซูลิน แนะนำให้ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเป็นประจำ ทว่า อาจไม่จำเป็นในรายที่รับประทานยา การผ่าตัดโรคอ้วน (bariatric surgery) มักทำให้โรคเบาหวานดีขึ้นในผู้ป่วยอ้วน อัตราเบาหวานชนิดที่ 2 เพิ่มขึ้นมากนับแต่ปี 2503 ในทำนองเดียวกับโรคอ้วน ในปี 2558 มีประชากรประมาณ 392 ล้านคนได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เมื่อเทียบกับประมาณ 30 ล้านคนในปี 2528 ตรงแบบโรคเริ่มในวัยกลางคนหรือสูงอายุ แม้อัตราเบาหวานชนิดที่ 2 กำลังเพิ่มขึ้นในคนหนุ่มสาว เบาหวานชนิดที่ 2 สัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพสั้นลงสิบปี.

ดู สหรัฐและเบาหวานชนิดที่ 2

เฟซบุ๊ก

ฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นบริการเครือข่ายสังคมสัญชาติอเมริกัน สำนักงานใหญ่อยู่ที่ เมนโลพาร์ก รัฐแคลิฟอร์เนีย เฟซบุ๊กก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 4 กุมภาพัน..

ดู สหรัฐและเฟซบุ๊ก

เพรสไบทีเรียน

็อง กาลแว็ง นิกายเพรสไบทีเรียนราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 431 (Presbyterianism) เป็นหนึ่งในนิกายในศาสนาคริสต์ฝ่ายโปรเตสแตนต์ที่มีต้นกำเนิดที่สกอตแลนด์ ยึดถือแนวคิดทางเทววิทยาแบบลัทธิคาลวิน และมีการจัดระเบียบองค์การแบบเพรสไบทีเรียน หลักเทววิทยาแบบเพรสไบทีเรียนเน้นเรื่องอำนาจอธิปไตยของพระเจ้า สิทธิอำนาจของคัมภีร์ไบเบิล และการรับพระคุณจากพระเจ้าได้โดยการศรัทธาในพระเยซูเท่านั้น ในสกอตแลนด์วิธีการปกครองคริสตจักรของเพรสไบทีเรียนได้รับการรับประกันตามพระราชบัญญัติสหภาพ ค.ศ.

ดู สหรัฐและเพรสไบทีเรียน

เกรตเลกส์

วเทียมบริเวณเกรตเลกส์ แผนที่ เกรตเลกส์ ทะเลสาบทั้ง 5 แห่ง เกรตเลกส์ (อังกฤษ: Great Lakes) เป็นชื่อเรียกทะเลสาบทั้ง 5 ได้แก่ สุพีเรีย มิชิแกน ฮูรอน อิรี และออนแทรีโอ เป็นกลุ่มของทะเลสาบน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก บางครั้งชาวอเมริกันให้ฉายาว่าเป็น "ชายหาดที่สาม" เนื่องจากอาณาบริเวณที่กว้างขวาง ลักษณะระบบนิเวศ ชายหาดและพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ ทำให้ได้รับการขนานนามว่าเป็น "ทะเลในแผ่นดิน" เพราะปริมาณน้ำจืดในทะเลสาบทั้ง 5 คิดเป็น 20 % ของปริมาณน้ำจืดที่มีอยู่บนโลก ในทางภูมิศาสตร์เส้นแบ่งประเทศของสหรัฐอเมริกาและแคนาดาลากผ่านกลุ่มทะเลสาบเหล่านี้ มีเพียงทะเลสาบเดียวที่อยู่ในสหรัฐอเมริกาคือทะเลสาบมิชิแกน บริเวณนี้เป็นแหล่งแร่เหล็กที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะทะเลสาบซุพีเรี.

ดู สหรัฐและเกรตเลกส์

เกลือ

กลือ เกลือ เป็นแร่ธาตุส่วนใหญ่ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) สารประกอบในระดับสูงกว่าเกลือชนิดต่าง ๆ เกลือในธรรมชาติก่อตัวเป็นแร่ผลึกรู้จักกันว่า เกลือหิน หรือแฮไลต์ เกลือพบได้ในปริมาณมหาศาลในทะเลซึ่งเป็นองค์ประกอบของแร่ที่สำคัญ ในมหาสมุทรมีแร่ธาตุ 35 กรัมต่อลิตร ความเค็ม 3.5% เกลือเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตสัตว์ ความเค็มเป็นรสชาติพื้นฐานของมนุษย์ เนื้อเยื่อสัตว์บรรจุเกลือปริมาณมากกว่าเนื้อเยื่อพืช ดังนั้นอาหารของชนเผ่าเร่ร่อนที่ดำรงชีวิตในฝูงต้องการเกลือเพียงเล็กน้อย หรือไม่ต้องการเกลือเลย ขณะอาหารประเภทซีเรียลจำเป็นต้องเพิ่มเกลือ เกลือเป็นหนึ่งในเครื่องปรุงรสที่เก่าแก่ที่สุดและหาได้ง่ายที่สุด และการดองเค็มก็เป็นวิธีการถนอมอาหารที่สำคัญวิธีหนึ่ง หลักฐานการทำเกลือยุคแรกที่สุดย้อนไปถึง 6,000 ปีที่แล้ว เมื่อคนที่อาศัยในประเทศโรมาเนียต้มน้ำเพื่อสกัดเกลือ การทำนาเกลือในจีนก็เกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกัน เกลือถูกชาวฮีบรู กรีก โรมัน ไบแซนไทน์ ฮิไทต์ และอียิปต์ ตีราคาสูง เกลือกลายเป็นวัตถุสำคัญและขนส่งทางเรือผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ผ่านทางทางเกลือที่สร้างขึ้นเฉพาะ และผ่านทะเลทรายซาฮาราในคาราวานอูฐ ความขาดแคลนและความต้องการเกลือทั่วโลกนำไปสู่สงครามชิงเกลือ และใช้เกลือเพื่อเพิ่มภาษีเงินได้ เกลือยังถูกใช้ในพิธีทางศาสนา และวัฒนธรรมต่าง ๆ ด้วย เกลือผลิตจากเหมืองเกลือ หรือจากการระเหยน้ำทะเล หรือน้ำซับที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุในบ่อตื้น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลักของเกลือคือโซดาไฟ และคลอรีน และใช้ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมและในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด์ พลาสติก เยื่อกระดาษ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากการผลิตเกลือปริมาณสองล้านตันต่อปี มีเพียง 6% ที่ให้มนุษย์บริโภค ส่วนอื่น ๆ ใช้ในการปรับสภาวะของน้ำ กำจัดน้ำแข็งบนถนน และใช้ในการเกษตร เกลือที่กินได้มีขายในหลายรูปแบบ เช่น เกลือสมุทรและเกลือโต๊ะปกติจะบรรจุสารป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน และอาจเสริมไอโอดีนเพื่อป้องกันภาวะพร่องไอโอดีน นอกจากจะใช้ปรุงอาหารและวางบนโต๊ะแล้ว เกลือยังพบได้ในอาหารแปรรูปจำนวนมาก อาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปทำให้ความดันโลหิตสูง และอาจเพิ่มความเสี่ยงของกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าผู้ใหญ่ควรบริโภคโซเดียมน้อยกว่า 2,000 มิลลิกรัม หรือเทียบเท่ากับเกลือ 5 กรัมต่อวัน.

ดู สหรัฐและเกลือ

เกาะฮาวแลนด์

กาะฮาวแลนด์ (Howland Island) อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ เป็นพื้นที่ในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ภูมิประเทศเป็นเกาะปะการัง มีพื้นที่ทั้งหมด 1.6 ตารางกิโลเมตร และมีทรัพยากรที่สำคัญคือมูลค้างคาว แต่ไม่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวร ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจเหมือนกับจอห์นสตันอะทอลล์ พอลไมราอะทอลล์ เกาะเบเกอร์ สถานะของเกาะฮาวแลนด์มีสภาพเดียวกันกับเกาะเบเกอร์ ปัจจุบันมีสนามบินอยู่ 1 แห่ง แต่ไม่มีท่าเรือ เกาะฮาวแลนด์ เป็นที่ตั้งของ กระโจมกลางวัน แอร์ฮาร์ต ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ อะมีเลีย แอร์ฮาร์ต นักบินสตรี ที่หายสาบสูญ ระหว่างความพยายามทำการบินรอบโลก เกาะฮาวแลนด์‎ Howland Island seen from space Orthographic projection centered over Howland Island ฮาวแลนด์ ฮาวแลนด์ หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย.

ดู สหรัฐและเกาะฮาวแลนด์

เกาะจาร์วิส

กาะจาร์วิส เกาะจาร์วิส (Jarvis Island) มีพื้นที่ทั้งหมด 4.5 ตารางกิโลเมตรเป็นเกาะเดี่ยวในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง อยู่ในเขตร้อนชื้น มีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือมูลค้างคาว เกาะจาร์วิสไม่มีน้ำจืดอยู่บนเกาะ เกาะจาร์วิสมีสนามบินอยูหนึ่งแห่งซึ่งสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2แต่ไม่มีท่าเรือ เกาะจาร์วิสก็เหมือนกับอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือคือไม่มีรัฐบาล ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และไม่มีคนอยู่อาศัย จาร์วิส หมวดหมู่:เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา จาร์วิส จาร์วิส.

ดู สหรัฐและเกาะจาร์วิส

เกาะนาแวสซา

กาะนาแวสซา เกาะนาแวสซา (Navassa Island) หรือ ลานาวาซ (La Navase) เป็นเกาะร้างขนาดเล็กในทะเลแคริบเบียนอยู่ภายใต้การดูแลของสหรัฐอเมริกาผ่านองค์การบริหารปลาและสัตว์ป่าแห่งสหรัฐ (US Fish and Wildlife Service) นอกจากนั้นเฮติได้อ้างกรรมสิทธิ์เหนือเกาะแห่งนี้เช่นเดียวกัน.

ดู สหรัฐและเกาะนาแวสซา

เกาะเบเกอร์

แผนที่เกาะเบเกอร์ เกาะเบเกอร์ (Baker Island) เป็นเกาะทางมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ไม่มีประชากรอยู่อย่างถาวร ไม่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แต่มีทรัพยากรที่มีคุณค่าเช่น ฟอสเฟต เกาะเบเกอร์มีสนามบินอยู่หนึ่งแห่ง เกาะบาร์เกอร์มีพื้นที่ทั้งหมด 1.4 ตารางกิโลเมตร หมวดหมู่:สหรัฐอเมริกา บเกอร์ หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย.

ดู สหรัฐและเกาะเบเกอร์

เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา

กาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา (United States Minor Outlying Islands) เป็นชื่อเรียกขานเชิงสถิติซึ่งกำหนดโดยรหัสประเทศ ISO 3166-1 ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ประกอบด้วยพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกาเก้าแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ได้แก่ เกาะเบเกอร์ เกาะฮาวแลนด์ เกาะจาร์วิส จอห์นสตันอะทอลล์ คิงแมนรีฟ มิดเวย์อะทอลล์ เกาะนาวาสซา แพลไมราอะทอลล์ และเกาะเวก ส่วนดินแดนแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์และเซร์รานียาแบงก์ ก็ถูกรวมเข้ามาโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเช่นกัน แต่การอ้างสิทธิ์ยังคงเป็นข้อพิพาทกับประเทศอื่น ในจำนวนนี้ แพลไมราอะทอลล์เท่านั้นที่เป็นดินแดนที่ผนวกเข้ากับสหรัฐอเมริกา เกาะเหล่านี้ไม่มีเกาะใดที่ประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวรจนถึง..

ดู สหรัฐและเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา

เกาะเวก

กาะเวก (Wake Island) เป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ มีพื้นทีทั้งหมด 6.5 ตารางกิโลเมตร มีสภาพพื้นที่เป็นเกาะปะการัง ใต้น้ำมีภูเขาไฟอยู่ด้วยและมีแนวปะการังรอบเกาะ เกาะเวกมีเพียงแค่บุคคลในราชการทหารสหรัฐเท่านั้นที่อาศัยอยู่ เกาะเวกมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจทางด้านอาหาร มีระบบโทรศัพท์ดินแดนโพ้นทะเล (OTS) มีสถานีวิทยุแต่ไม่สถานีโทรทัศน์ เกาะเวกมีสนามบินอยู่หนึ่งแห่งบนเกาะเวกแต่ไม่มีท่าเรือ เกาะเวกต่างจากบรรดาดินแดนอาณานิคมของสหรัฐในแปซิฟิกเหนือบางดินแดนเนื่องจากมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อีกทั้งยังเคยเป็นสมรภูมิในสงครามโลกครั้งที่ 2 อีกด้ว.

ดู สหรัฐและเกาะเวก

เมาวี

แผนที่เกาะเมาวี เกาะเมาวี (Maui; ออกเสียง ในภาษาอังกฤษ, ในภาษาฮาวาย) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของในหมู่เกาะฮาวาย มีพี้นที่ 1,883.5 ตารางกิโลเมตร และเป็นเกาะที่ใหญ่อันดับที่ 17 ในสหรัฐอเมริกา เมาวีเป็นส่วนหนึ่งของของรัฐฮาวาย และมีขนาดใหญ่ที่สุดในเกาะทั้งสี่ของเมาวีเคาน์ตี ในปี..

ดู สหรัฐและเมาวี

เมทัลลิกา

มทัลลิกา เป็นวงเฮฟวี่เมทัลสัญชาติอเมริกัน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู สหรัฐและเมทัลลิกา

เมเจอร์ลีกซอกเกอร์

มเจอร์ลีกซอกเกอร์ (Major League Soccer) ย่อว่า เอ็มแอลเอส (MLS) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา โดยในปัจจุบันมีทีมทั้งหมด 20 ทีม โดยแบ่งเป็นสองภูมิภาคคือตะวันออกและตะวันตก ฝั่งละ 10 ทีม เมเจอร์ลีกซอกเกอร์จะเริ่มเล่นประมาณเดือนเมษายนและแข่งจบในเดือนตุลาคมหรือพฤศจิกายนของทุกปี โดยการแข่งขันจะแข่งแบบทีมเหย้า-เยือนอย่างละ 2 ครั้ง รวมเป็นทั้งหมด 4 ครั้งสำหรับในภูมิภาคเดียวกัน และเหย้า-เยือนอย่างละ 1 ครั้งสำหรับต่างภูมิภาคกัน.

ดู สหรัฐและเมเจอร์ลีกซอกเกอร์

เมเจอร์ลีกเบสบอล

มเจอร์ลีกเบสบอล เป็นลีกเบสบอลมืออาชีพ ประกอบไปด้วยทีมที่เล่นในอเมริกันลีก และเนชั่นแนลลีก โดยทั้งสองลีกรวมอยู่ในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและเมเจอร์ลีกเบสบอล

เรือบรรทุกอากาศยาน

รือหลวงจักรีนฤเบศร 6, showing size differences of late 20th century carriers 6 เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ โดยปกติเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของกองทัพเรือสหรัฐ 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป.

ดู สหรัฐและเรือบรรทุกอากาศยาน

เรือจักรไอน้ำ

รือจักรไอน้ำ (steamboat หรือ steamship) คือเรือที่ใช้กลไกในการขับเคลื่อนหลักจากเครื่องจักรไอน้ำ โดยมีความหมายทั้งเรือที่แล่นในทะเลสาบหรือแม่น้ำ (steamboat) กับเรือที่แล่นในมหาสมุทร (steamship) การพัฒนาเครื่องจักรไอน้ำและการนำไปประยุกต์ใช้กับเรือเกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 แต่กว่าจะเป็นที่แพร่หลายก็ล่วงไปถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีการเติบโตอย่างรวดเร็วในการสร้างเรือแล่นในแม่น้ำในสหรัฐอเมริกา เรือจักรไอน้ำชนิดที่ใช้แล่นในทะเลเข้ามาแทนเรือใบแบบเดิมอย่างรวดเร็ว แต่กระนั้น เรือจักรไอน้ำในยุคนั้นก็ยังคงติดตั้งใบเรือสำรองอยู่ เรือไอน้ำสัญชาติฝรั่งเศส "La Touraine" น่าจะเป็นเรือไอน้ำลำสุดท้ายที่ติดตั้งใบเรือไว้ด้วย และไม่เคยต้องใช้ใบเรือนั้นเลย เรือจักรไอน้ำถูกแทนที่ด้วยเรือที่ขับเคลื่อนด้วยดีเซลในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เรือรบส่วนใหญ่ใช้เครื่องจักรไอน้ำตั้งแต่ราวคริสต์ทศวรรษ 1860 ตราบจนกระทั่งการคิดค้นเครื่องจักรขับเคลื่อนด้วยกังหันก๊าซในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ดู สหรัฐและเรือจักรไอน้ำ

เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์

อาคารคู่เวิร์ลดเทรดเซ็นเตอร์ ก่อนถูกทำลาย เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (World Trade Center) สูง 530 เมตรกับ 431เมตรเป็นกลุ่มอาคารจำนวน 7 อาคารในนครนิวยอร์ก ก่อสร้างระหว่าง พ.ศ.

ดู สหรัฐและเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์

เศรษฐกิจแบบผสม

รษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจซึ่งทั้งภาคเอกชนและรัฐชี้นำเศรษฐกิจ ซึ่งสะท้อนลักษณะของทั้งเศรษฐกิจแบบตลาดและเศรษฐกิจที่มีการวางแผน เศรษฐกิจแบบผสมส่วนมากอาจอธิบายได้ว่าเป็นเศรษฐกิจแบบตลาดที่มีการควบคุมดูแลอย่างเข้มแข็งและการจัดหาสินค้าสาธารณะของรัฐบาล เศรษฐกิจแบบผสมบางแห่งยังมีลักษณะรัฐวิสาหกิจ โดยทั่วไป เศรษฐกิจแบบผสมมีลักษณะคือ เอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ความเด่นของตลาดสำหรับการประสานงานเศรษฐกิจ และวิสาหกิจแสวงผลกำไรและการสะสมทุนที่เหลือเป็นปัจจัยขับหลักมูลเบื้องหลังกิจกรรมเศรษฐกิจ ทว่า รัฐบาลจะถืออิทธิพลเศรษฐกิจมหภาคโดยอ้อมเหนือเศรษฐกิจผ่านนโยบายการคลังและการเงินซึ่งออกแบบมาเพื่อรับมือภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและแนวโน้มของทุนนิยมต่อวิกฤตการณ์การเงินและการว่างงาน ร่วมกับมีบทบาทในการแทรกแซงซึ่งสนับสนุนสวัสดิการสังคม ซึ่งไม่เหมือนกับเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี ต่อมา เศรษฐกิจแบบผสมบางประเทศได้ขยายขอบเขตให้รวมบทบาทสำหรับการวางแผนเศรษฐกิจชี้นำและ/หรือภาควิสาหกิจสาธารณะขนาดใหญ่ด้วย ไม่มีนิยามระบบเศรษฐกิจแบบผสมอย่างเดียว โดยนิยามหลากหลายว่าเป็นการผสมตลาดเสรีกับการแทรกแซงของรัฐ หรือการผสมวิสาหกิจสาธารณะและเอกชน หรือเป็นการผสมระหว่างตลาดและการวางแผนเศรษฐกิจ จุดแข็งหรือจุดอ่อนเปรียบเทียบของแต่ละส่วนในเศรษฐกิจของชาติอาจต่างกันได้มากแล้วแต่ประเทศ เศรษฐกิจตั้งแต่ของสหรัฐอเมริกาจนถึงคิวบาเรียก เศรษฐกิจแบบผสม คำนี้ยังใช้อธิบายเศรษฐกิจของประเทศที่เรียก รัฐสวัสดิการ เช่น ประเทศนอร์ดิก รัฐบาลในเศรษฐกิจแบบผสมมักจัดการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การรักษามาตรฐานการจ้างงาน ระบบสวัสดิการปรับมาตรฐานและการรักษาการแข่งขัน.

ดู สหรัฐและเศรษฐกิจแบบผสม

เส้นทางธารน้ำตา

แผนที่ “เส้นทางธารน้ำตา” เส้นทางธารน้ำตา (Trail of Tears) หมายถึงการบังคับการโยกย้ายถิ่นฐานของชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่รวมทั้งเชอโรคี, ชอคทอว์และอื่นจากดินแดนบ้านเกิดไปตั้งถิ่นฐานยังเขตสงวนอินเดียน (Indian Territory) ใหม่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกาที่ในปัจจุบันคือโอคลาโฮมา “เส้นทางธารน้ำตา” มาจากคำบรรยายการโยกย้ายของชาติชอคทอว์ (Choctaw Nation) ในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและเส้นทางธารน้ำตา

เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตก

ซด, รัฐเนแบรสกา เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันออก.

ดู สหรัฐและเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตก

เหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929

หตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก..

ดู สหรัฐและเหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929

เอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์

กอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ ถ่ายโดย คาร์ล แวน เวเช็น (Carl Van Vechten) ฟรานซีส สกอตต์ คีย์ ฟิตซ์เจอรัลด์ หรือ เอฟ.

ดู สหรัฐและเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์

เอลวิส เพรสลีย์

อลวิส เพรสลีย์ มีชื่อจริงว่า เอลวิส แอรอน เพรสลีย์ (8 มกราคม ค.ศ. 1935 - 16 สิงหาคม ค.ศ. 1977) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวอเมริกัน เขาถือเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม เขามักได้รู้จักในฉายา “ราชาแห่งร็อกแอนด์โรลล์” หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "เดอะคิง" เขาเกิดที่เมืองทูเพอโล รัฐมิสซิสซิปปี ต่อมาย้ายไปทีเมืองเมมฟิส รัฐเทนเนสซี กับครอบครัวของเขาเมื่ออายุได้ 13 ปี เขาเริ่มอาชีพนักร้องที่นี่เมื่อปี 1954 เมื่อเจ้าของค่ายซันเรเคิดส์ ที่ชื่อ แซม ฟิลลิปส์อยากที่จะนำดนตรีของชาวแอฟริกันอเมริกันไปสู่ฐานคนฟังให้กว้างขึ้น และเห็นเพรสลีย์มีความมุ่งมั่นดี ได้ร่วมกับนักกีตาร์ที่ชื่อสก็อตตี มัวร์และมือเบส บิล แบล็ก เพรสลีย์ถือเป็น 1 ในคนที่ให้กับเนิดแนวเพลงร็อกอะบิลลี แนวเพลงผสมผสานจังหวะอัปเทมโป แบ็กบีตผสมเพลงคันทรีกับริทึมแอนด์บลูส์ เขาได้เซ็นสัญญากับอาร์ซีเอวิกเตอร์ โดยมีผู้จัดการคือโคโลเนล ทอม พาร์กเกอร์ ที่เป็นผู้จัดการให้เขาร่วม 2 ทศวรรษ ซิงเกิลแรกของเพรสลีย์กับอาร์ซีเอคือซิงเกิล "Heartbreak Hotel" ออกขายในเดือนมกราคม..

ดู สหรัฐและเอลวิส เพรสลีย์

เออร์วิง เบอร์ลิน

''Alexander's Ragtime Band'', Edison Amberol cylinder, 1911 เออร์วิง เบอร์ลิน (Irving Berlin) เป็นนักแต่งเพลงและเขียนคำร้องชาวอเมริกันเชื้อสายยิวเบลารุส เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับการยกย่องเป็นนักแต่งเพลงที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์การดนตรีอเมริกัน มีผลงานแต่งเพลงมากกว่า 1,500 เพลง ดนตรีประกอบละครบรอดเวย์ จำนวน 19 เรื่อง ดนตรีประกอบภาพยนตร์ 18 เรื่อง เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ 8 ครั้ง ผลงานแต่งเพลงของเขาเคยขึ้นถึงอันดับหนึ่งชาร์ตซิงเกิลถึง 25 ครั้ง ขับร้องโดยศิลปินชื่อดังเช่น เฟรด แอสแตร์ แฟรงก์ ซินาตรา จูดี การ์แลนด์ บาร์บรา สไตรแซนด์ ลินดา รอนสตัดต์ แชร์ ไดอานา รอสส์ บิง ครอสบี แนท คิง โคล บิลลี ฮอลิเดย์ ดอริส เดย์ เอลลา ฟิตซ์เจอรัล.

ดู สหรัฐและเออร์วิง เบอร์ลิน

เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

ออร์เนสต์ มิลเลอร์ เฮมิงเวย์ (Ernest Miller Hemingway; พ.ศ. 2442-2504) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกันผู้ใช้ลีลาภาษาที่สั้นกระชับ เกิดที่ โอค ปาร์ก รัฐอิลลินอยส์ เริ่มทำงานเป็นผู้สื่อข่าวกับหนังสือพิมพ์ เดอะแคนซัสซิตีสตาร์ เข้าเป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำรถพยาบาลทหารจนได้รับบาดเจ็บเมื่อปี..

ดู สหรัฐและเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์

เอดการ์ แอลลัน โพ

อดการ์ แอลลัน โพ (Edgar Allan Poe; 19 มกราคม ค.ศ. 1809 – 7 ตุลาคม ค.ศ. 1849) เป็นนักเขียน กวี บรรณาธิการ และนักวิจารณ์วรรณกรรมชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดจากงานรหัสคดี และเรื่องสยองขวัญ โพเป็นนักเขียนคนแรก ๆ ที่เขียนเรื่องสั้นและได้รับการนับถือว่าเป็นผู้ริเริ่มเขียนเรื่องแต่งแนวสืบสวนสอบสวน เขายังได้รับการยอมรับว่ามีส่วนสำคัญในการพัฒนาเรื่องแนวนิยายวิทยาศาสตร์ซึ่งเพิ่งถือกำเนิดในช่วงนั้นอีกด้วย เขาเป็นนักเขียนชาวอเมริกันชื่อดังคนแรกที่พยายามหาเลี้ยงชีพด้วยการเขียนหนังสืออย่างเดียวเท่านั้น อันเป็นผลให้ชีวิตและอาชีพการงานของเขาเต็มไปด้วยปัญหาทางการเงิน เขาเกิดมาในชื่อ เอดการ์ โพ ที่เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ บิดามารดาของเขาเสียชีวิตตั้งแต่เขาอายุยังน้อย เขาได้รับการเลี้ยงดูโดยจอห์น (John) และฟรานเซส (Frances) แอลลัน แห่งเมืองริชมอนด์ รัฐเวอร์จิเนีย แต่ทั้งคู่ไม่ได้ทำเรื่องรับอุปการะเขาอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด หลังจากใช้เวลาสั้นๆในมหาวิทยาลัยแห่งเวอร์จิเนีย (University of Virginia) และพยายามไต่เต้าอาชีพการงานในกองทัพอยู่ระยะหนึ่ง โพก็แยกตัวจากครอบครัวแอลลัน อาชีพนักเขียนของเขาเริ่มต้นด้วยหนังสือรวมกวีนิพนธ์นิรนาม Tamerlane and Other Poems (1827) และใช้เพียงนามปากกาว่า “ชาวบอสตันคนหนึ่ง” โพหันเหความสนใจของเขาไปยังงานร้อยแก้วและใช้เวลาหลายปีหลังจากนั้นทำงานให้วารสารและนิตยสารวรรณกรรมจนเป็นที่รู้จักจากรูปแบบการวิจารณ์วรรณกรรมของเขาเอง การทำงานของเขาทำให้เขาต้องโยกย้ายไปมาระหว่างหลายเมือง ซึ่งรวมถึงบอลทิมอร์, ฟิลาเดลเฟีย และนครนิวยอร์ก ที่เมืองบอลทิมอร์ ปี..

ดู สหรัฐและเอดการ์ แอลลัน โพ

เอนรีโก แฟร์มี

อนริโก แฟร์มี เอนริโก แฟร์มี (Enrico Fermi) (29 กันยายน พ.ศ. 2444 – 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497) นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลชาวอิตาลีผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาวิชานิวเคลียร์ฟิสิกส์ เป็นนักฟิสิกส์ที่เชี่ยวชาญทั้งการทดลองและทฤษฎี ซึ่งหาได้ยากยิ่งในวงการฟิสิกส์ปัจจุบัน.

ดู สหรัฐและเอนรีโก แฟร์มี

เอ็มมิเน็ม

มาร์แชล บรูซ มาเธอร์ที่สาม (Marshall Bruce Mathers III; เกิด 17 ตุลาคม ค.ศ. 1972) รู้จักกันชื่อที่ใช้บนเวทีว่า เอ็มมิเน็ม (Eminem แต่นิยมเขียนเป็น EMINƎM)และอัลเทอร์อีโกของเขา สลิม เชดี (Slim Shady) เป็นแร็ปเปอร์ โปรดิวเซอร์ นักแต่งเพลง และนักแสดงชาวอเมริกา ความนิยมในเอ็มมิเน็มทำให้วงดี 12 ที่เขาเป็นสมาชิกเป็นที่รู้จัก นอกจากการเป็นสมาชิกวงดี 12 แล้ว เอ็มมิเน็มยังร่วมงานฮิปฮอปในแบดมีตอีวิล ร่วมกับรอยส์ดา 5'9" เอ็มมิเน็มเป็นหนึ่งในศิลปินที่มียอดจำหน่ายสูงสุดในโลกและเป็นศิลปินที่มียอดจำหน่ายผลงานเพลงสูงสุดในคริศทศวรรษที่ 2000 หลายนิตยสารได้จัดอันดับเอ็มมิเน็มเป็นหนึ่งในศิลปินที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล อาทิ โรลลิ่งสโตน ซึ่งจัดอันดับอยู่ที่ 82 ในศิลปินที่ยิ่งใหญ่ตลอกาล 100 คน และประกาศให้เขาเป็น "ราชาเพลงฮิปฮอป" รวมถึงการร่วมงานกับวงดี 12 และแบดมีตอีวิล เอ็มมิเน็มก็ประสบความสำเร็จติด 1 ใน 10 บนชาร์ต''บิลบอร์ด'' 200 เอ็มมิเน็มได้ยอดจำหน่ายมากกว่า 42 ล้านเพลง และ 49.1 ล้านอัลบั้มในสหรัฐอเมริกา และ 100 ล้านอัลบั้มทั่วโลก เอ็มมิเน็มได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วในปี..

ดู สหรัฐและเอ็มมิเน็ม

เอเอ็มดี

แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์, Inc. หรือ เอเอ็มดี เป็นบริษัทสัญชาติอเมริกัน ก่อตั้งเมื่อ ปี ค.ศ. 1969 โดยพนักงานเก่าจากบริษัท Fairchild Semiconductor โดย เอเอ็มดี ผลิตสินค้าเกี่ยวกับ เซมิคอนดัคเตอร์ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่มลรัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นผู้พัฒนา ซีพียู และเทคโนโลยีต่างๆ ออกสู่ตลาด และ ผู้ใช่ทั่วไป.โดยที่สินค้าหลักของบริษัทคือ ไมโครโพรเซสเซอร์,เมนบอร์ดชิปเซ็ต,การ์ดแสดงผล,ระบบฟังตัว สำหรับคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์,คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และ ระบบฝังตัวต่าง โดยที่ผลิตภัณฑ์ของเอเอ็มดีที่เป็นที่รู้จักได้แก่ไมโครโพรเซสเซอร์ตระกูล APU,Phenom II,Athlon II, Sempron, บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล, APU Mobile ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา,Opteron สำหรับเซิร์ฟเวอร์ และชิปกราฟิก Readeon เอเอ็มดี เป็นผู้ผลิตอันดับ 2 ในตลาดของไมโครโพรเซสเซอร์ ที่มีพื้นฐานอยู่บน x86 อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในผู้ผลิตชิปกราฟิกการ์ดรายใหญ่ของโลก และ ยังผลิตหน่วยความจำแบบแฟลช โดยในปี 2010 เอเอ็มดี เป็นผู้ผลิตเซมิคอนดัคเตอร์ อันดับที่ 12 ของโลก เอเอ็มดีนับเป็นคู่แข่งที่สำคัญของอินเทลในตลาดไมโครโพรเซสเซอร์ และมีคดีความฟ้องร้องกันอยู่ในหลายประเทศ เรื่องอินเทลผูกขาดการค้า ปัจจุบันได้ทำการยอมความกันไปแล้ว.

ดู สหรัฐและเอเอ็มดี

เฮอร์แมน เมลวิลล์

อร์แมน แมลวิลล์ (Herman Melville) (1 สิงหาคม พ.ศ. 2362 – 28 กันยายน พ.ศ. 2434) เป็นนักเขียนชาวอเมริกัน แต่งทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น เรียงความ และบทกวี วรรณกรรมชิ้นเอกของเขาคือ โมบี-ดิก (Moby Dick) ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู สหรัฐและเฮอร์แมน เมลวิลล์

เฮนรี ฟอร์ด

นรี ฟอร์ด พ.ศ. 2462 เฮนรี ฟอร์ด (Henry Ford) (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2406 – 7 เมษายน พ.ศ. 2490) เป็นผู้ก่อตั้งบริษัทฟอร์ดมอเตอร์ และได้ชื่อว่าเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนก่อให้เกิด "ชนชั้นกลาง" ขึ้นมาในสังคมอเมริกัน ฟอร์ดเป็นผู้แรกที่ประยุกต์ระบบสายพานการผลิตเข้ากับการผลิตยานยนต์ในจำนวนมาก ๆ ความสำเร็จนี้ไม่เพียงแต่ปฏิวัติการผลิตเชิงอุตสาหกรรมเท่านั้น แต่ยังมีอิทธิพลอย่างมากกับวัฒนธรรมสมัยใหม่ โดยนักทฤษฎีสังคมหลายคนถึงกับเรียกช่วงประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและสังคมช่วงนี้ว่า "แบบฟอร์ด" (Fordism).

ดู สหรัฐและเฮนรี ฟอร์ด

เฮนรี เดวิด ทอโร

นรี เดวิด ทอโร ในปี 1856 เฮนรี เดวิด ทอโร (Henry David Thoreau, 12 กรกฎาคม 2360 - 6 พฤษภาคม 2405) นักเขียนและนักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เกิดที่เมืองคองคอร์ด รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เมื่อจบการศึกษาในปี..

ดู สหรัฐและเฮนรี เดวิด ทอโร

เจ. พี. มอร์แกน

อห์น เพียร์พอนต์ มอร์แกน (John Pierpont Morgan) เป็นนักการเงิน นายธนาคาร และนักสะสมงานศิลปะ ซึ่งมีอิทธิพลในวงการการเงินธุรกิจและการควบรวมบริษัทในระหว่างที่เขามีชีวิตอยู่ ในปี 1892 มอร์แกนดำเนินการควบรวมเอดิสันเจนเนอรัลอิเล็กทริกและทอมสัน-ฮุสตันอิเล็กทริก จนกลายเป็นเจนเนอรัลอิเล็กทริก หลังจากที่จัดหาทุนเพื่อสร้างเฟเดอรัลสตีลคัมพานี เขาควบรวมกิจการกับคาร์เนกีสตีลคัมพานีและบริษัทเหล็กอื่น ๆ ในปี 1901 ซึ่งรวมทั้งกลุ่มบริษัทเหล็กและลวดของวิลเลียม อีเดนบอร์นเพื่อก่อตั้งยูเอสสตีล มอร์แกนเสียชีวิตที่กรุงโรม อิตาลี ในปี 1913 เมื่ออายุได้ 75 ปี โดยทิ้งทรัพย์สมบัติและกิจการไว้ให้กั.

ดู สหรัฐและเจ. พี. มอร์แกน

เจมส์ บราวน์

มส์ โจเซฟ บราวน์ จูเนียร์ (James Joseph Brown, Jr.) (3 พฤษภาคม ค.ศ. 1933 - 25 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นนักร้อง นักแสดง เอนเทอร์เทนเนอร์ ชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในฐานะผู้มีอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในวงการเพลงป็อปในคริสตวรรษที่ 20 ด้วยเอกลักษณ์ด้านน้ำเสียงและท่าเต้น เขาเป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักเต้น หัวหน้าวง บราวน์เป็นผู้ขับเคลื่อนวงการเพลง เขาเป็นอิทธิพลให้กับศิลปินหลายศิลปิน และยังมีอิทธิพลต่อวงการเพลงป็อปแอฟริกัน อย่างเช่น แอฟโฟรบีต, jùjú และ mbalaxPareles, J.

ดู สหรัฐและเจมส์ บราวน์

เจมส์ คุก

องเจมส์ คุก นักสำรวจชาวอังกฤษ วาดโดยนาธาเนียล แดนซ์ ปีค.ศ. 1775 จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ทางทะเลแห่งชาติ ในเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ เจมส์ คุก (27 ตุลาคม ค.ศ.

ดู สหรัฐและเจมส์ คุก

เจมส์ แคเมรอน

แคเมรอน กับภรรยาคนที่ 2 แคเมรอนในปี ค.ศ. 2007 เจมส์ แฟรนซิส แคเมรอน (James Francis Cameron) เกิดวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1954 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวแคนาดา โปรดิวเซอร์ นักเขียนบทและผู้คิดค้นด้านภาพยนตร์ ผลงานเขียนและกำกับของเขาเช่น ฅนเหล็ก 2029 และ ไททานิก ที่ขึ้นแท่นภาพยนตร์ทำรายได้สูงสุดอันดับหนึ่งตลอดกาลในปี.ศ 1997 จนถึงปัจจุบันนี้ผลงานการกำกับของเขามียอดรวมราว 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ปรับรายได้ตามอัตราเงินเฟ้อ หลังจากมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง แคเมรอนเน้นการทำงานด้านการผลิตสารคดีและระบบกล้องฟิวชันดิจิตอล 3 มิติ เขากลับมาทำผลงานภาพยนตร์อีกครั้งในรอบ 12 ปี ในผลงานเรื่อง อวตาร ที่ใช้เทคโนโลยีระบบกล้องฟิวชัน ภาพยนตร์ฉายวันที่ 16 ธันวาคม..

ดู สหรัฐและเจมส์ แคเมรอน

เจมส์ทาวน์ (โรดไอแลนด์)

มส์ทาวน์ (Jamestown) เป็นเมืองในนิวพอร์ตเคาน์ตี โรดไอแลนด์ สหรัฐอเมริกา ในปี..

ดู สหรัฐและเจมส์ทาวน์ (โรดไอแลนด์)

เจย์-ซี

-ซี (Jay-Z) มีชื่อจริงว่า ชอว์น โครี คาร์เตอร์ (Shawn Corey Carter) เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1969 เป็นนักร้องแนวแร็ปชาวอเมริกัน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานและซีอีโอบริษัท เดฟ แจมและ ร็อก-อะ-เฟลลา เรคคอร์ดส์ เจย์-ซียังเป็นหนึ่งในเจ้าของคลับ 40/40 Club ในนิวยอร์ก และเป็นหนึ่งในหุ้นส่วน นิวเจอร์ เน็ตส์ ถือเป็นนักร้องแนวฮิปฮอปที่ประสบความสำเร็จในอาชีพต่างๆคนหนึ่ง เขามีทรัพย์สินประมาณ 900 ล้านเหรียญ เขาเป็นผู้ก่อตั้งและประธานฝ่ายบริหารให้กับ Rocawear อีกทั้งยังมีหุ้นส่วนใน NJ Nets, 40/40 Sports Clubs รวมถึงผลิตภัณฑ์บำรุงผิวและเสริมความงาม Carol's Daughter เขาได้เข้าสู่ธุรกิจรองเท้ากีฬาโดยการสร้างไลน์ใหม่ร่วมกับรองเท้าผ้าใบรีบ็อกในนามว่า S.

ดู สหรัฐและเจย์-ซี

เทพลิขิต

''ความเจริญของเอมริกา'' ค.ศ. 1872 โดยจอห์น เกสต์ แสดงให้เห็นถึงภาพเชิงเปรียบเทียบของกระบวนการพัฒนาพื้นที่ฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นภาพที่แสดงถึง ''โคลัมเบีย'' บุคลาธิษฐานของสหรัฐอเมริกานำพาความเจริญก้าวหน้าไปสู่ฝั่งตะวันตกพร้อมกับเหล่าผู้ตั้งรกราก ถือตำราเรียนและร้อยสายโทรเลขไปตามทางขณะลอยเคลื่อนไปทิศตะวันตก ซึ่งเน้นด้วยผู้บุกเบิกที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันพร้อมกับระบบขนส่งทางราง ขณะที่ชนอเมริกันพื้นเมืองและฝูงสัตว์ต่างหลีกหนีด้วยความตื่นกลัว เทพลิขิต หรือ โองการของพระเจ้า (Manifest Destiny) เป็นวลีที่เป็นปรัชญาที่เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ว่าสหรัฐอเมริกานั้นมีภารกิจที่กำหนดไว้โดยเทพให้ทำการขยายพรมแดน จากชายฝั่งแอตแลนติกทางตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือออกไปทางทิศตะวันตกจนจรดชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก วลี Manifest Destiny ซึ่งมีความหมายว่า ชะตากรรมที่พระเจ้ากำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือภารกิจที่ปฏิเสธไม่ได้ นี้ จอห์น โอ ซัลลิแวน นักหนังสือพิมพ์ในเมืองนิวยอร์กเป็นผู้คิดรังสรรค์รูปคำขึ้นมาใช้ในปี ค.ศ.

ดู สหรัฐและเทพลิขิต

เทย์เลอร์ สวิฟต์

ทย์เลอร์ แอลิสัน สวิฟต์ (Taylor Alison Swift; เกิด 13 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เธอเป็นหนึ่งในศิลปินหญิงยอดนิยมที่เป็นที่รู้จักจากการแต่งเพลงเกี่ยวกับชีวิตส่วนตัวและเป็นที่สนใจของสื่ออย่างมาก สวิฟต์เกิดเติบโตในรัฐเพนซิลเวเนีย ต่อมาเธอได้ย้ายไปยังเมืองแนชวิลล์ รัฐเทนเนสซี ขณะอายุ 14 ปี เพื่อหางานทำเกี่ยวกับเพลงคันทรี เธอได้เซ็นสัญญากับค่ายเพลงบิกแมชีนเรเคิดส์ และเป็นนักแต่งเพลงที่อายุน้อยที่สุดที่ได้เซ็นสัญญากับบริษัทโซนี/เอทีวีมิวสิกพับบลิชชิง อัลบั้มแรกของสวิฟต์มีชื่อเดียวกับตนเอง วางจำหน่ายในปี..

ดู สหรัฐและเทย์เลอร์ สวิฟต์

เทวัสนิยม

เทวัสนิยม (deism) เป็นแนวความคิดที่สำคัญในศตวรรษที่ 18 โดยในศตวรรษนี้เป็นยุคแห่งเหตุผล นักคิดทั้งหลายต่างพยายามที่จะสร้างระบบการวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ที่ได้ผลและสมเหตุสมผลขึ้น โดยไม่ยอมพึ่งพาอาศัยอำนาจเหนือธรรมชาติต่าง ๆ พระเจ้าเป็นเพียงผู้สร้างโลกเท่านั้น เราจะเห็นการแบ่งเป็นฝักฝ่ายระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ได้เกิดขึ้น พวกหัวเก่าโจมตีพวกหัวใหม่ว่าต่อไปนี้จะไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์หลงเหลืออยู่อีก การถกเถียงเป็นไปอย่างกว้างขวางอันเป็นเหตุให้เกิดความคิดแบบเทวัสนิยมขึ้นมา พวกนี้เชื่อในพระเจ้าแต่ในขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นในเหตุผลและคิดว่าจะสามารถใช้เหตุผลพิสูจน์ในเรื่องพระเจ้าได้ พวกนี้เชื่อต่อไปอีกว่าเหตุผลเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจศาสนาและศีลธรรมอย่างถูกต้อง พวกนี้ถือว่าพระเจ้านั้นมีอยู่ ทว่าหลังจากที่ทรงสร้างโลกแล้วก็มิได้ลงมายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์อีกเลย พวกนี้ยอมรับศาสนาในสมัยแรกเริ่ม แต่มักจะโจมตีศาสนาในระยะหลังที่มีพิธีการ มีพระเป็นผู้สืบศาสนา พวกนี้เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีเหตุผลอยู่ในตัว เพียงแต่ว่าคนส่วนใหญ่ไม่สามารถจะบังคับในตัวเองให้ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ทำให้พระเข้ามามีบทบาทได้ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว มนุษย์ทุกคนเข้าถึงและรู้เข้าใจเกี่ยวกับศาสนาเป็นอย่างดี ตัวอย่างผู้มีความเชื่อแบบเทวัสนิยม ได้แก่ เบนจามิน แฟรงคลินและวอลแตร์ หมวดหมู่:ความเชื่อ.

ดู สหรัฐและเทวัสนิยม

เทศมณฑล

น์ตี (county) เป็นหน่วยย่อยของการปกครองในหลายประเทศ มีไว้เพื่อการบริหารท้องถิ่นตลอดจนการอื่นที่จำเป็นThe Chambers Dictionary, L.

ดู สหรัฐและเทศมณฑล

เทือกเขาร็อกกี

เทือกเขาร็อกกี เทือกเขาร็อกกี (Rocky Mountains หรือ Rockies) เป็นเทือกเขาในอเมริกาเหนือ พาดผ่านตั้งแต่บริติชโคลัมเบียในแคนาดา ไปจนถึงรัฐนิวเม็กซิโกในสหรัฐอเมริกา รวมความยาวประมาณ 4,800 กิโลเมตร โดยมียอดเขาที่สูงที่สุดคือ เมาท์เอลเบิร์ต ในรัฐโคโลราโด ซึ่งมีความสูงประมาณ 4,401 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล ร็อกกี หมวดหมู่:รัฐนิวเม็กซิโก หมวดหมู่:รัฐโคโลราโด หมวดหมู่:ภูเขาในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:เทือกเขาร็อกกี.

ดู สหรัฐและเทือกเขาร็อกกี

เทือกเขาแอปพาเลเชียน

ทือกเขาแอปพาเลเชียนในรัฐนอร์ทแคโรไลนา เทือกเขาแอปพาเลเชียน (Appalachian Mountains, les Appalaches), เป็นเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนือ วางตัวเมื่อประมาณ 480 ล้านปีก่อนในยุคออร์โดวิเชียร จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในอดีต เทือกเขาแอปพาเลเชียนเคยมีความสูงราว ๆ เท่ากับความสูงของเทือกเขาแอลป์และเทือกเขาร็อกกี ภูมิภาคต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับเทือกเขาแอปพาเลเชียนมักถูกเรียกว่า แอปพาเลเชีย (Appalachia).

ดู สหรัฐและเทือกเขาแอปพาเลเชียน

เดอะ ก็อดฟาเธอร์

อะก็อดฟาเธอร์ (The Godfather) เป็นภาพยนตร์ ที่กำกับโดยฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา ออกฉายเมื่อปี ค.ศ. 1972 เกี่ยวกับครอบครัวมาเฟียชาวอิตาลี ชื่อคอร์เลโอเน ที่อพยพจากเมืองเล็กๆ ใกล้กับเมืองปาแลร์โม เมืองเอกของเกาะซิซิลี ไปอยู่ที่เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยมีเนื้อเรื่องครอบคลุมช่วงทศวรรษ ค.ศ.

ดู สหรัฐและเดอะ ก็อดฟาเธอร์

เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล

ปกเดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัลฉบับแรก 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2432 เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล (The Wall Street Journal) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันระหว่างประเทศภาษาอังกฤษที่มีต้นกำเนิดในสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กโดยดาวโจนส์แอนด์คอมพานี ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของนิวส์คอร์ปอเรชัน เช่นเดียวกับรุ่นเอเชียและยุโรปของหนังสือพิมพ์ เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัลเป็นหนังสือพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาหากคิดตามยอดจัดจำหน่าย ตามข้อมูลของสำนักงานสถิติยอดจำหน่ายสิ่งพิมพ์ (Audit Bureau of Circulations) หนังสือพิมพ์ดังกล่าวมียอดจำหน่าย 2,092,523 ฉบับ (รวม 400,000 ฉบับที่บอกรับสมาชิกออนไลน์แบบเสียค่าใช้จ่าย) จนถึงเดือนมีนาคม..

ดู สหรัฐและเดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัล

เดอะวิซาร์ดออฟออซ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2482)

อะวิซาร์ดออฟออซ (The Wizard of Oz) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี..

ดู สหรัฐและเดอะวิซาร์ดออฟออซ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2482)

เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..

ดู สหรัฐและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

เดอะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์

อะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์ (The Stars and Stripes Forever) เป็นเพลงมาร์ชปลุกใจที่แต่งโดย จอห์น ฟิลิป ซูซา ใน..

ดู สหรัฐและเดอะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ดู สหรัฐและเดอะนิวยอร์กไทมส์

เดอะแกรดูเอท

อะแกรดูเอท (The Graduate) เป็นภาพยนตร์ตลกที่ออกฉายในปี..

ดู สหรัฐและเดอะแกรดูเอท

เดอะเพนตากอน

อะเพนตากอน (The Pentagon) หรือ อาคารเพนตากอน เป็นอาคารที่ทำการของกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เคานตีอาร์ลิงตัน รัฐเวอร์จิเนีย อาคารเพนตากอนรูปห้าเหลี่ยมเป็นสัญลักษณ์ทางการทหารของสหรัฐอเมริกา อาคารเพนตากอนเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.

ดู สหรัฐและเดอะเพนตากอน

เดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก

อะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก (The World Factbook, ISSN) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า ซีไอเอเวิลด์แฟกต์บุ๊ก (CIA World Factbook) เป็นทรัพยากรอ้างอิงที่สำนักข่าวกรองกลาง (ซีไอเอ) ผลิต โดยมีสารสนเทศแบบกาลานุกรมเกี่ยวกับประเทศของโลก เดอะแฟกต์บุ๊ก เข้าถึงได้ในรูปเว็บไซต์ ซึ่งมีการปรับบางส่วนทุกสัปดาห์ และยังมีให้ดาวน์โหลดเพื่อใช้แบบออฟไลน์ เอกสารดังกล่าวให้ข้อมูลสรุปประมาณสองถึงสามหน้าเกี่ยวกับประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การสื่อสาร การปกครอง เศรษฐกิจ และการทหารของหน่วยการปกครอง 267 แห่ง (entity) ซึ่งได้แก่ประเทศ เขตสังกัด และพื้นที่อื่นในโลกที่สหรัฐรับรอง สำนักข่าวกรองกลางจัดทำ เดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อข้าราชการสหรัฐ วัจนลีลา การจัดรูปแบบ ขอบเขต และเนื้อหาได้รับการออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของพวกเขาเป็นหลัก อย่างไรก็ดี เอกสารวิจัยวิชาการและบทความข่าวมักใช้เป็นทรัพยากร แม้จะมีคุณภาพสารสนเทศกำกวมก็ตาม เนื่องจากเป็นงานของรัฐบาลสหรัฐ จึงถือเป็นสาธารณสมบัติในสหรัฐอเมริก.

ดู สหรัฐและเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก

เครื่องรับวิทยุ

รื่องรับวิทยุรุ่นเก่า เครื่องรับวิทยุ เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเดียวชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่รับและเลือกคลื่นวิทยุจากสายอากาศ แล้วนำไปสู่ภาคขยายต่อไป โดยมีช่วงความถี่ของคลื่นที่กว้าง แล้วแต่ประเภทของการใช้งาน โดยทั่วไป คำว่า "เครื่องวิทยุ" มักจะใช้เรียกเครื่องรับสัญญาณความถี่กระจายเสียง เพื่อส่งข่าวสาร และความบันเทิง โดยมีย่านความถี่หลักๆ คือ คลื่นสั้น คลื่นกลาง และคลื่นยาว.

ดู สหรัฐและเครื่องรับวิทยุ

เครื่องจักรไอน้ำ

รื่องจักรไอน้ำ เครื่องจักรไอน้ำ (Steam engine) ประดิษฐ์โดย โทมัส นิวโคเมน (Thomas Newcomen) เมื่อ พ.ศ. 2248 (ค.ศ. 1705) ต่อมา เจมส์ วัตต์ ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำขึ้น ซึ่งหลังจากนั้น ได้มีการนำเอาชื่อท่านมาตั้งเป็นหน่วยของกำลังไฟฟ้า เช่น กำลังไฟฟ้า 400 วัตต์ เป็นต้น เครื่องจักรไอน้ำเป็นเครื่องจักรแรกๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น รถจักรไอน้ำ เรือกลไฟ ฯลฯ เครื่องจักรไอน้ำ เป็นเครื่องจักรประเภท สันดาปภายนอก ที่ให้ความร้อนผ่านของเหลว (น้ำ) และทำการเปลี่ยนไอของของเหลวเป็นพลังงานกล ซึ่งสามารถนำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยการนำไอน้ำมาหมุนกังหันของ เครื่องปั่นไฟ (ไดนาโม) เครื่องจักรไอน้ำต้องมีหม้อต้มในการต้มน้ำในการทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำที่ได้จากการต้ม จะนำไปเป็นแรงในการดันกระบอกสูบหรือกังหัน ข้อดีของเครื่องจักรไอน้ำประการหนึ่งคือการที่สามารถใช้แหล่งความร้อนจากอะไรก็ได้ เช่น ถ่านหิน, ฟืน, น้ำมันปิโตรเลียม หรือกระทั่ง นิวเคลียร์ และแม้แต่ในปัจจุบัน เครื่องจักรไอน้ำหรือกลไกที่ถูกพัฒนาขึ้นจากเครื่องจักรไอน้ำยังคงปรากฏซ่อนอยู่ในเครื่องจักรเครื่องกลแทบทุกประเภท เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน จนถึง กระบอกสูบในรถยนต์ หรือในเครื่องบินในปัจจุบันนั้นมีการค้นพบรูปแบบใหม่ๆในการนำเครื่องจักรไอน้ำไปใช้งาน การค้นพบครั้งล่าสุดถูกค้นพอโดนลูกชายของโทมัส นิวโครแมน โดยชื่อที่ใช้ในการค้นพบคือ อเล็กซ์ซี่ นิวโครแมน ซึ่งถูกค้นพบเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม..

ดู สหรัฐและเครื่องจักรไอน้ำ

เคที เพร์รี

แคเทอรีน เอลิซาเบธ ฮัดสัน (Katheryn Elizabeth Hudson; เกิด 25 ตุลาคม ค.ศ. 1984) หรือชื่อในวงการคือ เคที เพร์รี (Katy Perry) เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน หลังจากเธอร้องเพลงในโบสถ์ในวัยเด็ก เธอได้ทำงานดนตรีแนวเพลงกอสเปลขณะเป็นวัยรุ่น เพร์รีเซ็นสัญญากับสังกัดเรดฮิลล์เรเคิดส์ และออกสตูดิโออัลบั้มแรกในชื่อ เคที ฮัดสัน โดยใช้ชื่อเกิดของเธอ เมื่อ..

ดู สหรัฐและเคที เพร์รี

เซร์รานียาแบงก์

ซร์รานียาแบงก์ (Serranilla Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน เซร์รานียาแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่ตั้งอยู่ประมาณ 350 กิโลเมตร (220 ไมล์) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ ปุนตากอร์ดา นิการากัว และประมาณ 280 กิโลเมตร (170 ไมล์) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ จาเมกา เพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้ที่สุดคือ บาโฮนวยโวแบงก์ ตั้งอยู่ 110 กิโลเมตร (68 ไมล์) ทางตะวันออก.

ดู สหรัฐและเซร์รานียาแบงก์

เนชันแนลฟุตบอลลีก

นชันแนลฟุตบอลลีก (National Football League; ย่อ: NFL) เป็นลีกกีฬาอเมริกันฟุตบอลระดับอาชีพในสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 32 ทีมจากเมืองต่าง ๆ ลีกนี้ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ดู สหรัฐและเนชันแนลฟุตบอลลีก

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ดู สหรัฐและเนโท

.edu

.edu เป็นโดเมนระดับบนสุดตามหมวด (sTLD) ในระบบการตั้งชื่อโดเมนบนอินเทอร์เน็ต ย่อมาจากคำว่า education แสดงถึงวัตถุประสงค์ในตอนเริ่มแรกว่าใช้สำหรับเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการศึกษาต่างๆโดยมีเงื่อนไขว่าสถาบันหรือมหาวิทยาลัยที่ขอจดโดเมนนี้ จะต้องมีที่ตั้งของสถาบันหรือมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา โดเมน.edu นั้น ผู้ให้บริการจดโดเมนนี้คือ กลุ่มสถาบันระดับอุดมศึกษาแห่งสหรัฐอเมริกา (เรียกชื่อหน่วยงานนี้ว่า EDUCASE) และอยู่ภายใต้การกำกับดูแลโดยกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐอเมริก.

ดู สหรัฐและ.edu

.gov

.gov เป็นโดเมนระดับบนสุดตามหมวด (gTLD) ในระบบการตั้งชื่อโดเมนบนอินเทอร์เน็ต ย่อมาจากคำว่า government ปัจจุบัน.gov ได้รับการสงวนไว้สำหรับหน่วยงานรัฐบาลของสหรัฐอเมริกาเท่านั้น อย่างไรก็ตามมีบางหน่วยงานที่ใช้.us แทน หรือใช้ทั้งสองอย่าง หมวดหมู่:โดเมนระดับบนสุด sv:Toppdomän#Generiska toppdomäner.

ดู สหรัฐและ.gov

.us

.us เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับสหรัฐอเมริกา เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2528.

ดู สหรัฐและ.us

ดูเพิ่มเติม

ประเทศในกลุ่ม 20

ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ

รัฐสมาชิกเนโท

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2319

สมาพันธรัฐสิ้นสภาพ

อดีตอาณานิคมและรัฐในอารักขาของอังกฤษในทวีปอเมริกา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ U.S.USAUnited StatesUnited States of AmericaUsสหรัฐอเมริกาสหรัฐฯประเทศสหรัฐประเทศสหรัฐอเมริกาประเทศอเมริกา

กองทัพบกสหรัฐกองทัพอากาศสหรัฐกองทัพเรือสหรัฐกองทุนการเงินระหว่างประเทศการบุกครองคูเวตการยอมจำนนของญี่ปุ่นการรู้หนังสือการลงประชาทัณฑ์การล่มสลายของสหภาพโซเวียตการสมรสเพศเดียวกันในสหรัฐอเมริกาการสื่อสารมวลชนการผ่อนคลายความตึงเครียดการผ่อนคลายความตึงเครียดสหรัฐ–คิวบาการถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์การทำลายป่าการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิการขนส่งระบบรางการตื่นทองที่แคลิฟอร์เนียการซื้อลุยเซียนาการซื้ออะแลสกาการปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอเมริกาการประชุมยัลตาการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศการประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919การแยกใช้อำนาจการแข่งรถการโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชนการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์การไม่มีศาสนาการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกำมะถันกีฬาโอลิมปิกกติกาสัญญาวอร์ซอฝันอเมริกันฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งฝ่ายอักษะภาวะน้ำตาลสูงในเลือดภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอมภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อภาวะเงินเฟ้อภาษากวางตุ้งมาตรฐานภาษาญี่ปุ่นภาษาฝรั่งเศสภาษาละตินภาษาสเปนภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษแบบอเมริกันภาษาอิตาลีภาษาฮาวายภาษาจีนมาตรฐานภาษาตากาล็อกภาษาโปรตุเกสภาษาเชอโรกีภาษาเกาหลีภาษาเยอรมันภาษาเวียดนามภาคเศรษฐกิจขั้นที่ 3ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทรภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนมหาวิทยาลัยชิคาโกมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มหาวิทยาลัยโคลัมเบียมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรแปซิฟิกมหาอำนาจมอรมอนมะเร็งมะเร็งปอดมาริลิน มอนโรมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์มาร์ติน สกอร์เซซีมาดอนน่ามิลตัน ฟรีดแมนมิดเวย์อะทอลล์ยอดเขาเดนาลียาฮู!ยุโรปตะวันตกยูทูบยูเอสแอร์เวย์ยูเอสเอทูเดย์รอย ลิกเทนสไตน์รอยเตอร์สรองประธานาธิบดีสหรัฐระบบสภาเดี่ยวระบบสองสภาระบบธนาคารกลางสหรัฐระบบทางหลวงอินเตอร์สเตตระบบประธานาธิบดีระบอบนาซีรักบี้ยูเนียนรักร่วมสองเพศรักร่วมเพศรักเธอสุดที่รักรัฐบัญญัติสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์รัฐบัญญัติคุ้มครองผู้ป่วยและการบริบาลที่เสียได้รัฐฟลอริดารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐรัฐลุยเซียนารัฐวอชิงตันรัฐสภาสหรัฐรัฐสวัสดิการรัฐออริกอนรัฐอะแลสการัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์รัฐฮาวายรัฐธรรมนูญสหรัฐรัฐของสหรัฐรัฐนิวเม็กซิโกรัฐแอละแบมารัฐแคลิฟอร์เนียรัฐโรดไอแลนด์รัฐโคโลราโดรัฐไวโอมิงรัฐเพนซิลเวเนียรัฐเวอร์มอนต์รัฐเวอร์จิเนียราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ราชอาณาจักรฮาวายราชนาวีรายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการส่งออกรายชื่อประเทศเรียงตามมูลค่าการนำเข้ารายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐรายนามประธานาธิบดีสหรัฐราล์ฟ วอลโด เอเมอร์สันรางวัลพูลิตเซอร์รางวัลลูกโลกทองคำรางวัลออสการ์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ร็อกแอนด์โรลลอสแอนเจลิสลอสแอนเจลิสไทมส์ลักเซมเบิร์กลัทธิฟาสซิสต์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรมลัทธิอิงสามัญชนลัทธิขงจื๊อลัทธิคอมมิวนิสต์ลัทธิคาลวินลัทธิเต๋าวอชิงตัน ดี.ซี.วอลต์ ดิสนีย์วอลเลย์บอลวอสตอค 1วันขอบคุณพระเจ้าวันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์วิกฤตการณ์การเงิน พ.ศ. 2550–2551วิกิพีเดียวิมานลอย (ภาพยนตร์)วิลเลิม เดอ โกนิงวิลเลียม ฟอล์คเนอร์วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544วุฒิสภาสหรัฐวูดโรว์ วิลสันศาลสูงสุดสหรัฐศาสนาบาไฮศาสนาพุทธศาสนายูดาห์ศาสนาอิสลามศาสนาฮินดูศาสนาคริสต์ศาสนาซิกข์ศาสนาเชนศิลปะประชานิยมสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐสภานิติบัญญัติสมาพันธรัฐอเมริกาสมาคมบาสเกตบอลแห่งชาติสหพันธรัฐสหพันธ์สาธารณรัฐสหภาพยุโรปสหราชอาณาจักรสัจนิยมสังคมนิยมสันนิบาตชาติสารานุกรมบริตานิกาสาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์สาธารณรัฐฮาวายสาธารณรัฐนิยมสาธารณรัฐเทกซัสสำนักวิจัยพิวสำนักงานสอบสวนกลางสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐสำนักงานใหญ่สหประชาชาติสิบสามอาณานิคมสิทธิธรรมชาติและสิทธิทางกฎหมายสถาบันภาพยนตร์อเมริกันสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สงคราม ค.ศ. 1812สงครามกลางเมืองอเมริกาสงครามอิรักสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามตัวแทนสงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามปฏิวัติอเมริกาสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)สงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามเกาหลีสงครามเม็กซิโก–อเมริกาสงครามเย็นสงครามเวียดนามสงครามเจ็ดปีสตีเวน สปีลเบิร์กสนธิสัญญาแวร์ซายสแตนดาร์ดแอนด์พัวร์สสเกตบอร์ดหมู่เกาะอะลูเชียนหมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนาหมู่เกาะเวอร์จินหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐหลอดไส้ร้อนแบบธรรมดาหลุยส์ อาร์มสตรองห้ามจัดเก็บภาษีหากไม่มีผู้แทนอภิมหาอำนาจอวตาร (ภาพยนตร์)ออร์สัน เวลส์อะพอลโล 11อะโดบีซิสเต็มส์อับราฮัม ลินคอล์นอัลกออิดะฮ์อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์อัตราการกักขังในสหรัฐอเมริกาอันดับท่าอากาศยานที่มีความหนาแน่นสูงสุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารอาหารดัดแปรพันธุกรรมอาคารรัฐสภาสหรัฐอำนาจบริหารอำนาจตุลาการอินก็อดวีทรัสต์อินทรีหัวขาวอินเทลอินเทอร์เน็ตอุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตนอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์อีเบย์อีเกิลส์ (วงดนตรี)องค์การอนามัยโลกองค์การนานารัฐอเมริกันองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนาธิปไตยอ่าวเม็กซิโกอไญยนิยมอเมริกันฟุตบอลอเมริกันอินเดียนอเมริกันซามัวอเมริโก เวสปุชชีอเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์อเทวนิยมฮอกกี้น้ำแข็งฮอลลีวูดฮาร์ดแวร์ฮิวสตันฮิวแมนไรตส์วอตช์ฮิปฮอปผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้นผู้บัญชาการทหารผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวร (สหรัฐ)จอร์จ ลูคัสจอร์จ วอชิงตันจอร์จ ดับเบิลยู. บุชจอร์จ เกิร์ชวินจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุชจอห์น ฟอร์ดจอห์น ฟอน นอยมันน์จอห์น มอนทากิว เอิร์ลที่ 4 แห่งแซนด์วิชจอห์น สไตน์เบ็คจอห์น ดูอีจอห์น ดี. ร็อกเกอะเฟลเลอร์จอห์น เวย์นจอห์น เคจจอห์นสตันอะทอลล์จักรวรรดิญี่ปุ่นจักรวรรดิรัสเซียจี7ธีโอดอร์ โรสเวลต์ถั่วเหลืองทรัพยากรธรรมชาติทรานซิสเตอร์ทวิตเตอร์ทวีปอเมริกาเหนือทวีปเอเชียทอมัส พินชอนทอมัส เอดิสันทอมัส เอคินส์ทอมัส เจฟเฟอร์สันทอร์นาโดทะเลทรายโมฮาวีทะเลแคริบเบียนทำเนียบขาวทุนนิยมท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตาท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ข้าวโพดดอลลาร์สหรัฐดอนัลด์ ทรัมป์ดัชนีการพัฒนามนุษย์ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันดัชนีราคาผู้บริโภคดัชนีประชาธิปไตยดุค เอลลิงตันดี. ดับเบิลยู. กริฟฟิทดีซีคอมิกส์คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสความดันโลหิตสูงความตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือควน ปอนเซ เด เลออนคอมมอนลอว์คันทรี (แนวดนตรี)คาทอลิกคาซาบลังกา (ภาพยนตร์)คานเย เวสต์คาไวคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกาคิงแมนรีฟคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติคณะรัฐมนตรีสหรัฐคณะเสนาธิการร่วมซอฟต์แวร์ซับเวย์ (ร้านอาหาร)ซัดดัม ฮุสเซนซันไมโครซิสเต็มส์ซานฟรานซิสโกซิลิคอนแวลลีย์ซิติเซนเคนซูเปอร์แมนซูเปอร์โบวล์ซีบีเอสซีเอ็นเอ็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ตประธานศาลสูงสุดสหรัฐประธานาธิบดีสหรัฐประเทศฟิลิปปินส์ประเทศญี่ปุ่นประเทศฝรั่งเศสประเทศภูฏานประเทศรัสเซียประเทศออสเตรเลียประเทศอิรักประเทศอิสราเอลประเทศอิหร่านประเทศอิตาลีประเทศอินเดียประเทศจีนประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซูรินามประเทศปาปัวนิวกินีประเทศปาเลาประเทศนอร์เวย์ประเทศนิวซีแลนด์ประเทศแคนาดาประเทศโปรตุเกสประเทศไมโครนีเซียประเทศไลบีเรียประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเม็กซิโกประเทศเยอรมนีประเทศเนเธอร์แลนด์ปรากฏการณ์โลกร้อนปริญญาตรีปวยร์โตรีโกปัญหาสิ่งแวดล้อมในสหรัฐปัจจัยกระทบนาสคาร์นิกายลูเทอแรนนิโคลา เทสลานครนิวยอร์กน้ำอัดลมแบปทิสต์แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์แฟรงก์ เกห์รีแฟรนไชส์แพลไมราอะทอลล์แก๊สธรรมชาติเหลวแมคโดนัลด์แม่น้ำมิสซิสซิปปีแม่น้ำมิสซูรีแอมะซอน (บริษัท)แอตแลนตาแอปเปิล (บริษัท)แอนิเมชันแอนดรูว์ คาร์เนกีแอนดี วอร์ฮอลแอโรสมิธแผนปฏิบัติการเบ็ดเสร็จร่วมแจ๊สแจ็กสัน พอลล็อกแดลลัสแซนตาเฟ (รัฐนิวเม็กซิโก)แนวคิดหลังยุคนวนิยมแนนซี เพโลซีแนแธเนียล ฮอว์ธอร์นให้ยืม-เช่าโบราณคดีโมบิดิกโรคฝีดาษโรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจโรคหัดโรคอัลไซเมอร์โรคอ้วนโรคซึมเศร้าโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังโรคไตโรนัลด์ เรแกนโลกาภิวัตน์โลกที่สามโลกใหม่โอลิมปิกฤดูร้อนโอลิมปิกฤดูหนาวโทรศัพท์โทรทัศน์โทษประหารชีวิตโดยพฤตินัยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติโครงการแมนฮัตตันโคคา-โคล่าโต้คลื่นโปรเตสแตนต์โนม ชอมสกีไมก์ เพนซ์ไมโครซอฟท์ไมเคิล แจ็กสันไอบีเอ็มไฮสกูลไซบีเรียเบสบอลเบาหวานชนิดที่ 2เฟซบุ๊กเพรสไบทีเรียนเกรตเลกส์เกลือเกาะฮาวแลนด์เกาะจาร์วิสเกาะนาแวสซาเกาะเบเกอร์เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกาเกาะเวกเมาวีเมทัลลิกาเมเจอร์ลีกซอกเกอร์เมเจอร์ลีกเบสบอลเรือบรรทุกอากาศยานเรือจักรไอน้ำเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์เศรษฐกิจแบบผสมเส้นทางธารน้ำตาเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันตกเหตุการณ์ตลาดหลักทรัพย์วอลล์สตรีทตก ค.ศ. 1929เอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์เอลวิส เพรสลีย์เออร์วิง เบอร์ลินเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์เอดการ์ แอลลัน โพเอนรีโก แฟร์มีเอ็มมิเน็มเอเอ็มดีเฮอร์แมน เมลวิลล์เฮนรี ฟอร์ดเฮนรี เดวิด ทอโรเจ. พี. มอร์แกนเจมส์ บราวน์เจมส์ คุกเจมส์ แคเมรอนเจมส์ทาวน์ (โรดไอแลนด์)เจย์-ซีเทพลิขิตเทย์เลอร์ สวิฟต์เทวัสนิยมเทศมณฑลเทือกเขาร็อกกีเทือกเขาแอปพาเลเชียนเดอะ ก็อดฟาเธอร์เดอะวอลล์สตรีทเจอร์นัลเดอะวิซาร์ดออฟออซ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2482)เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์เดอะสตาส์แอนด์สไตรส์ฟอร์เอเวอร์เดอะนิวยอร์กไทมส์เดอะแกรดูเอทเดอะเพนตากอนเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊กเครื่องรับวิทยุเครื่องจักรไอน้ำเคที เพร์รีเซร์รานียาแบงก์เนชันแนลฟุตบอลลีกเนโท.edu.gov.us