โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 vs. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง.. มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระมหากษัตริย์ไทยพระแสนเมืองกรมพระราชวังบวรสถานมงคลราชวงศ์บ้านพลูหลวงรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระเจ้าปราสาททองอาณาจักรอยุธยานางกุสาวดี

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

พระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · พระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

พระแสนเมือง

ระแสนเมือง ทรงครองแคว้นล้านนาโดยมีอาณาเขตอิทธิพลด้านตะวันตกของแคว้นล้านนาเดิมในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2189 - 2202 ในรัชกาลนี้ พม่าเริ่มมีปัญหากับจีนฮ่อซึ่งเป็นกองกำลังของราชวงศ์หมิงที่ถูกขับไล่ลงมาทางใต้โดยราชวงศ์ชิง พระแสนเมือง เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ที่ปกครองโดยพม่า โดยนครถูกยึดครองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ผู้คนและหญิงสาวในเมืองนั้นถูกกวาดต้อนเป็นอย่างมาก หนึ่งในนั้น คือ เจ้านางสมบุญ (ภายหลังในเป็น พระนางกุสาวดี) ได้เป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมีพระโอรสด้วยกัน 1 พระองค์ คือ พระเจ้าเสือ.

พระแสนเมืองและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · พระแสนเมืองและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · กรมพระราชวังบวรสถานมงคลและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เป็นราชวงศ์ที่ 5 และเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองอาณาจักรอยุธยาก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี..

ราชวงศ์บ้านพลูหลวงและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ราชวงศ์บ้านพลูหลวงและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าว่า สมเด็จพระสุริเยนทราธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 29 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สองแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองร..

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8และสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง · สมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และอาณาจักรอยุธยา · สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

นางกุสาวดี

นางกุสาวดี เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่ ได้เป็นสนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่หลังจากนางตั้งครรภ์ได้ทรงยกให้เป็นภรรยาของสมเด็จพระเพทราชา ส่วนพระราชโอรสนั้นต่อมาได้ขึ้นครองราชเป็นพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี (พระเจ้าเสือ).

นางกุสาวดีและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · นางกุสาวดีและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 มี 31 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มี 34 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 15.38% = 10 / (31 + 34)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »