โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา vs. โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

นีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา (Thai Parliament Television - TPTV) เป็นช่องโทรทัศน์ของไทย ซึ่งออกอากาศโดยไม่ใช้คลื่นความถี่ และกำลังทดลองออกอากาศ ผ่านโครงข่ายโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ประเภทบริการสาธารณะ ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อการกระจายข้อมูลข่าวสาร เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี ระหว่างรัฐสภากับประชาชน ทางช่องหมายเลข 10 ดำเนินการโดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร มีภารกิจหลักในการถ่ายทอดสด การประชุมรัฐสภา การประชุมสภาผู้แทนราษฎร และการประชุมวุฒิสภา (ปัจจุบันหมายถึง การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) รวมถึงรายงานข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานของรัฐสภา เผยแพร่สู่ประชาชนทั่วไป รวมถึงรายการสาระประโยชน์ต่างๆ ออกอากาศในช่วงนอกเหนือจากการประชุมสภาฯ สถานีฯ ได้ประกอบพิธีเปิดและเริ่มออกอากาศ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งมีสุชน ชาลีเครือ ประธานวุฒิสภาขณะนั้น เป็นประธานในพิธี โดยขณะนั้นออกอากาศในช่องความถี่ของโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็นบีทีของกรมประชาสัมพันธ์ที่ช่อง NBT 15. ทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย (Digital television in Thailand) เป็นระบบโทรทัศน์ดิจิทัลภายในอาณาเขตประเทศไทย โดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง กำหนดระยะของการทดลองออกอากาศไว้ ระหว่างวันอังคารที่ 1 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557 ก่อนจะกำหนดเวลาให้ผู้ประกอบการทุกราย เตรียมความพร้อมขั้นสุดท้าย เพื่อเริ่มออกอากาศในส่วนกลาง ระหว่างวันศุกร์ที่ 25 เมษายน ถึงวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557สภาผู้แทนราษฎรไทยอสมทอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณทรูวิชันส์คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติคณะรักษาความสงบแห่งชาติ16 มิถุนายน

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

พ.ศ. 2557และสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · พ.ศ. 2557และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

พ.ศ. 2558และสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · พ.ศ. 2558และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557และสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย

ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและสภาผู้แทนราษฎรไทย · สภาผู้แทนราษฎรไทยและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อสมท

ริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (MCOT Public Company Limited; ชื่อย่อ: บมจ.อสมท, MCOT PCL.) เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรี ประกอบธุรกิจสื่อสารมวลชน อันประกอบด้วย กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาค 53 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย กิจการวิทยุกระจายเสียง ส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็ม ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จำนวน 53 สถานี และในระบบเอเอ็ม ในส่วนกลาง 2 สถานี สำนักข่าวไทย ดำเนินการผลิต รวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข่าวสาร ทั้งทางสื่อโทรทัศน์ และวิทยุกระจายเสียง รวมไปถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยที่ทำการส่วนกลางในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 63/1 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร.

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและอสมท · อสมทและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ

mux กับ demuxมัลติเพล็กซ์เซอร์ การรวมสัญญาณ กับ การไม่รวมสัญญาณมัลติเพล็กซ์เซอร์ มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer: MUX) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ซึ่งเป็นตัวที่ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาต์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป รูปบล็อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์ จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D0 ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S0 ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S0 ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D0 ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (22.

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ · อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทรูวิชันส์

ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.

ทรูวิชันส์และสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · ทรูวิชันส์และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)

มชัดลึก เป็นหนังสือพิมพ์รายวัน ฉบับภาษาไทย ในเครือเนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป เสนอข่าวทั่วไป โดยเริ่มออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2544 มีจำนวนพิมพ์วันละ 900,000 ฉบับในปี พ.ศ. 2559.

คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)และสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · คมชัดลึก (หนังสือพิมพ์)และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

ณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (National Broadcasting and Telecommunication Commission) หรือ กสท. (NBTC) เป็นหน่วยงานอิสระของรัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการบริหารความถี่วิทยุเพื่อกิจการโทรคมนาคม และกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม กสท.จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ณะรัฐประหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ. (National Council for Peace and Order (NCPO) เดิมใช้ชื่อ National Peace and Order Maintaining Council (NPOMC)) เป็นคณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง โดยรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม..

คณะรักษาความสงบแห่งชาติและสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · คณะรักษาความสงบแห่งชาติและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

16 มิถุนายนและสถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา · 16 มิถุนายนและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย มี 75 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 9.82% = 11 / (37 + 75)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สถานีวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »