โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามกลางเมืองสเปนและเฆตาเฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง สงครามกลางเมืองสเปนและเฆตาเฟ

สงครามกลางเมืองสเปน vs. เฆตาเฟ

งครามกลางเมืองสเปน (Spanish Civil War) เป็นการรบในประเทศสเปนที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างฝ่ายสนับสนุนกับฝ่ายต่อต้านสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ได้แก่ "ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐ" ประกอบด้วยกลุ่มมัชฌิมา กลุ่มสังคมนิยม กลุ่มคอมมิวนิสต์ รวมทั้งชาวกาตาลาและชาวบาสก์ที่หัวรักถิ่นและเป็นอนาธิปไตย กับ "ฝ่ายชาตินิยม" ที่เป็นฝ่ายก่อการกบฏ รวมถึงพวกนิยมกษัตริย์ พวกการ์ลิสต์ พวกคาทอลิกหัวเก่า และพวกฟาสซิสต์ฟรังกิสต์ ซึ่งกองทัพสเปนเองก็ได้แตกแยกออกเป็นสองฝ่าย แต่ละฝ่ายก็พยายามระดมหาพันธมิตรต่างประเทศมาช่วยรบ ฝ่ายนิยมสาธารณรัฐดึงสหภาพโซเวียตและเม็กซิโก ส่วนฝ่ายชาตินิยมดึงพวกฟาสซิสต์จากอิตาลีและนาซีเยอรมนี สงครามดังกล่าวนับว่าเป็นการเร่งความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามโลกครั้งที่สอง และถูกมองว่าเป็นสงครามตัวแทนระหว่างสองลัทธิ คือ คอมมิวนิสต์ สหภาพโซเวียตและฟาสซิสต์ ฝ่ายอักษะ สงครามดังกล่าวได้มีการนำรถถังและการทิ้งระเบิดทางอากาศมาใช้ และถูกกล่าวขานถึงความโหดร้ายของสงครามและความแตกแยกทางการเมืองจากนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่หลายคน อย่างเช่น เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์, มาร์ธา เกลฮอร์น, จอร์จ ออร์เวลล์, และโรเบิร์ต คาป. นนหลักของเมืองเฆตาเฟ (ถนนมาดริด) เฆตาเฟ (Getafe) เป็นเมืองหนึ่งในเขตนครหลวงของกรุงมาดริด ประเทศสเปน อยู่ห่างจากย่านกลางเมืองไปทางทิศใต้ประมาณ 12 กิโลเมตร ในปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) เมืองนี้มีประชากร 156,320 คน (สถาบันสถิติแห่งชาติสเปน) เฆตาเฟเป็นศูนย์อุตสาหกรรมและการค้า รวมทั้งการท่าอากาศยานทหาร (มีสโลแกนกล่าวไว้ว่าเมืองนี้เป็น "อู่การบินของสเปน") และยังมีระบบการขนส่งที่มีคุณภาพ เชื่อมต่อกับกรุงมาดริดด้วยทางหลวงหลายเส้นทาง (A-4, A-42, M-45) และรถไฟใต้ดิน หากตรงไปทางทิศตะวันออกของเมือง จะพบเซร์โรเดโลสอังเฆเลส (Cerro de los Ángeles) ซึ่งเป็นเนินเขาที่มีชื่อเสียงจากการถูกจัดเป็นศูนย์กลางด้านภูมิศาสตร์ของคาบสมุทรไอบีเรีย บนเนินเขามีสำนักสงฆ์ (monastery) ที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และอนุสาวรีย์ที่สร้างขึ้นหลังสงครามกลางเมืองสเปนสิ้นสุดลง เฆตาเฟยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยการ์โลสที่ 3 (University Carlos III) ตั้งขึ้นในโรงทหารเก่าแห่งหนึ่งซึ่งซ่อมแซมและทำใหม่เพื่อใช้ประโยชน์ทางด้านนี้ สโมสรฟุตบอลของเมืองคือ สโมสรฟุตบอลเฆตาเฟ (Getafe CF) ที่เล่นอยู่ในลีกลาลีกา (2006-2007) และใช้สนามอัลฟอนโซ เปเรซ (ความจุ 14,000 คน) ส่วนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเมือง บางชิ้นส่วนของโครงเครื่องบินแอร์บัส A380 ได้ถูกสร้างขึ้นที่นั่น จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่จะเห็นเครื่องบินดังกล่าวสักลำบินเข้าและออกจากบริเวณฐานบิน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง สงครามกลางเมืองสเปนและเฆตาเฟ

สงครามกลางเมืองสเปนและเฆตาเฟ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คาบสมุทรไอบีเรียประเทศสเปน

คาบสมุทรไอบีเรีย

มุทรไอบีเรีย คาบสมุทรไอบีเรีย (Iberian Peninsula; Península Ibérica; Península Ibérica; Península Ibèrica) ตั้งอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 582,860 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของทวีปยุโรปรองจากคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ทางทิศเหนือติดกับเทือกเขาพิเรนีสและประเทศฝรั่งเศส ทางทิศตะวันออกติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศใต้สุดติดกับช่องแคบยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรียมีความยาวประมาณ 900 กิโลเมตร กว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 900 กิโลเมตร รูปร่างคล้ายสีเหลี่ยมพื้นผ้า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและเทือกเขา พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้บริเวณเทือกเขาเซียร์ราเนบาดา เป็นบริเวณแห้งแล้งมากแห่งหนึ่งในคาบสมุทร เมืองที่สำคัญที่อยู่ในคาบสมุทรไอบีเรีย ได้แก่ มาดริด บาร์เซโลนา บาเลนเซีย เซบียา บิลบาโอ ลิสบอน โปร์ตู และยิบรอลตาร.

คาบสมุทรไอบีเรียและสงครามกลางเมืองสเปน · คาบสมุทรไอบีเรียและเฆตาเฟ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ประเทศสเปนและสงครามกลางเมืองสเปน · ประเทศสเปนและเฆตาเฟ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง สงครามกลางเมืองสเปนและเฆตาเฟ

สงครามกลางเมืองสเปน มี 57 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฆตาเฟ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 3.03% = 2 / (57 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สงครามกลางเมืองสเปนและเฆตาเฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »