โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ vs. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

อากาศเอก สำราญ จำรัส เป็นที่รู้จักในชื่อ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เกิดที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันจากการเป็นนายแบบถ่ายโฆษณาในสินค้าหลายตัว เช่น เบียร์สิงห์, กางเกงยีนส์ฮาร่า, เบียร์ช้าง ก่อนจะเข้าสู่วงการการแสดง โดยมีผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์เรื่อง พี่เลี้ยง ของไฟว์สตาร์ ที่มี สันติสุข พรหมศิริ และ จินตหรา สุขพัฒน์ แสดงนำ ก่อนจะมีผลงานตามมาอีกหลายเรื่องทั้งละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เช่น ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535, วันนี้ที่รอคอย ในปี พ.ศ. 2536 สารวัตรใหญ่ ในปี พ.ศ. 2537, เลือดเข้าตา ในปี พ.ศ. 2538, หัวใจศิลา ในปี พ.ศ. 2550, อยากหยุดตะวันไว้ที่ปลายฟ้า ในปี พ.ศ. 2553, พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ในปี พ.ศ. 2553, รักไม่มีวันตาย ในปี พ.ศ. 2554 และเคยมีบทบาทเป็นนักแสดงนำครั้งหนึ่งในภาพยนตร์เรื่อง เชอรี่ แอน ในปี พ.ศ. 2544 โดยแสดงคู่กับ แอนนี่ บรู๊ค และ ชฎาพร รัตนากร โดยถือเป็นนักแสดงประจำในภาพยนตร์จากการกำกับของ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล (หม่อมน้อย) ชีวิตส่วนตัว จบการศึกษาจากโรงเรียนจ่าอากาศ และเป็นนักกีฬาบาสเก็ตบอลของทีมทหารอากาศ โดยเล่นในประเภทถ้ว. นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2535พ.ศ. 2537พ.ศ. 2538พ.ศ. 2550พ.ศ. 2553สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์ไอทีวีจังหวัดแพร่

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2535และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · พ.ศ. 2535และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2537และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · พ.ศ. 2537และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2538และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · พ.ศ. 2538และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2550และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · พ.ศ. 2550และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

พ.ศ. 2553และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · พ.ศ. 2553และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไอทีวี

นีโทรทัศน์ไอทีวี (Independent Television ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ข่าวภาคค่ำประจำวัน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีโทรทัศน์เพื่อข่าวสาร และสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง 26และช่อง 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหน.

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแพร่

ังหวัดแพร่ (25px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย อดีตนครรัฐอิสระขนาดเล็ก มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบระหว่างภูเขา โดยมีทิวเขาล้อมรอบ และมีแม่น้ำสายสำคัญไหลผ่านคือแม่น้ำยม.

จังหวัดแพร่และศักราช ฤกษ์ธำรงค์ · จังหวัดแพร่และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ มี 70 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 241 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 2.57% = 8 / (70 + 241)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศักราช ฤกษ์ธำรงค์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »