โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสันติสุข พรหมศิริ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสันติสุข พรหมศิริ

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง vs. สันติสุข พรหมศิริ

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559). มื่อครั้งรับบท "จะเด็ด" ใน ''ผู้ชนะสิบทิศ'' ทางช่อง 3 สันติสุข พรหมศิริ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดง นักพากย์ และพิธีกรชาวไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสันติสุข พรหมศิริ

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสันติสุข พรหมศิริ มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บาท (สกุลเงิน)พ.ศ. 2537มนต์รักลูกทุ่งระนาดเอกรางวัลโทรทัศน์ทองคำองค์บาก 2ขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชซุ้มมือปืนเรือนแพ

บาท (สกุลเงิน)

งินบาท (ตัวละติน: Baht; สัญลักษณ์: ฿; รหัสสากลตาม ISO 4217: THB) เป็นสกุลเงินตราประจำชาติของประเทศไทย เดิมคำว่า "บาท" เป็นหนึ่งในคำใช้เรียกหน่วยการชั่งน้ำหนักของไทย ปัจจุบันยังมีใช้ในความหมายเดิมอยู่บ้าง โดยเฉพาะในการซื้อขายทองคำ เช่น "ทองคำวันนี้ราคาขายบาทละ 15,000 บาท" หมายถึงทองคำหนักหนึ่งบาทสามารถขายได้ 15,000 บาท ในสมัยที่เริ่มใช้เหรียญครั้งแรก เงินเหรียญหนึ่งบาทนั้นเป็นเงินที่มีน้ำหนักหนึ่งบาทจริง ๆ ไม่ได้ทำด้วยทองแดงนิกเกิลเช่นในปัจจุบัน เหรียญไทยนั้นผลิตออกมาโดยสำนักกษาปณ์ กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง โดยสามารถผลิตออกใช้ได้ไม่จำกัดจำนวนโดยไม่ต้องมีสิ่งใดมาค้ำประกัน เพราะโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญกปาษณ์นั้นมีค่าในตัวเองอยู่แล้ว ส่วนธนบัตรนั้นผลิตและควบคุมการหมุนเวียนโดยธนาคารแห่งประเทศไทย การผลิตธนบัตรนำออกใช้จะมีหลักเกณฑ์วิธีที่เหมาะสมเพื่อให้เศรษฐกิจของชาติมีเสถียรภาพ ตามข้อมูลของสมาคมโทรคมนาคมทางการเงินระหว่างธนาคารทั่วโลก (SWIFT) สกุลเงินบาทได้รับการอันดับเป็นสกุลเงินอันดับที่ 10 ของโลกที่ใช้ในการชำระเงินระหว่างประเทศ (most frequently used currencies in World Payments).

บาท (สกุลเงิน)และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · บาท (สกุลเงิน)และสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2537และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · พ.ศ. 2537และสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักลูกทุ่ง

มนต์รักลูกทุ่ง เป็นภาพยนตร์ไทยที่สร้างมาจากบทประพันธ์เรื่อง "มนต์รักลูกทุ่ง" ของ รังสี ทัศนพยัคฆ์ โดยใช้นามแฝงว่า "มหศักดิ์ สารากร" โดยมิตร ชัยบัญชา มีส่วนร่วมในเนื้อเรื่องด้วย คู่พระ-นาง คือไอ้คล้าว กับ ทองกวาว รับบทโดย มิตร ชัยบัญชา กับเพชรา เชาวราษฎร์ ส่วนคู่รอง คือแว่น กับบุปผา รับบทโดย ศรีไพร ใจพระ กับบุปผา สายชล ภาพยนตร์เรื่องนี้ออกฉายเมื่อวันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ทำรายได้ถล่มทลายจากทั่วประเทศถึง 13 ล้านบาทและฉายติดต่อกันนาน 6 เดือน ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซียม จนถึงวันที่ 2 ตุลาคม..

มนต์รักลูกทุ่งและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · มนต์รักลูกทุ่งและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ระนาดเอก

ระนาดเอก ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่วิวัฒนาการมาจากกรับ แต่เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลาย ๆ อันวางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกัน แล้วทำรางรองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่าง ๆ กันนั้นให้ติดกัน และขึงไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง นำตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนำมาติดหัวท้ายของไม้กรับนั้น ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาด เรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่นเดียวกันว่า ผืน ระนาดเอกใช้ในงานมงคล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลในบ้าน บรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทำหน้าที่เป็นผู้นำวง.

ระนาดเอกและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ระนาดเอกและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · รางวัลโทรทัศน์ทองคำและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

องค์บาก 2

องค์บาก 2 (Ong Bak 2) เป็นภาพยนตร์ศิลปะการต่อสู้ ที่นำแสดงโดย ทัชชกร ยีรัมย์ เป็นภาพยนตร์ภาคต่อของ องค์บาก ของสหมงคลฟิล์ม ซึ่งกำกับโดยปรัชญา ปิ่นแก้ว ที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงในตลาดต่างประเทศ ภาพยนตร์เขียนบทและกำกับโดย ทัชชกร ยีรัมย์ ไอยราฟิล์ม โดยการสนับสนุนของพันนา ฤทธิไกร โดยมีการนำศิลปะการต่อสู้ของไทย มาผสมผสานกับศิลปะการแสดงโขน เริ่มถ่ายทำตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 มีกำหนดออกฉายช่วงต้นปี พ.ศ. 2551 แต่ภาพยนตร์ประสบปัญหาเนื่องจากเปลี่ยนผู้ควบคุมงานซึ่งเดิมคือ แวว ยีรัมย์ และ ธรัช ศุภโชคไพศาล ซึ่งเป็นผู้ร่วมก่อตั้งไอยราฟิล์มออก จึงทำให้เกิดปัญหาของการควบคุมงาน และปัญหาความล่าช้าในการถ่ายทำ และใช้งบประมาณบานปลาย จนต้องหยุดการถ่ายทำ และเกิดความขัดแย้งระหว่าง ทัชชกร ยีรัมย์ กับ ปรัชญา ปิ่นแก้ว และบริษัท สหมงคลฟิล์ม จนต้องมีการเจรจาไกล่เกลี่ยกันหลายครั้ง ได้เปิดตัวในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และมีกำหนดการฉายอย่างเป็นทางการ ในประเทศไทย วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทำรายได้รวมในประเทศไทย 102.29 ล้านบาท วีซีดีและดีวีดีวางจำหน่าย วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552.

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและองค์บาก 2 · สันติสุข พรหมศิริและองค์บาก 2 · ดูเพิ่มเติม »

ขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติ

อชื่อ สุธี สามสี่ชาติ เป็นชื่อหนังสือที่แต่งโดย "ประภาส ชลศรานนท์" ตีพิมพ์ครั้งแรกโดยสำนักศิษย์สะดือ ในปี พ.ศ. 2530 เป็นหนังสือประเภทอ่านเล่น สนุก ขบขัน ต่อมามีการนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดย เจดีย์ ศุภกาญจน์ เกรียงไกร อมาตยกุล เกียรติ กิจเจริญ และ วัชระ ปานเอี่ยม ออกฉายในปี พ.ศ. 2532.

ขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ขอชื่อ สุธี สามสี่ชาติและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ซุ้มมือปืน

ซุ้มมือปืน เป็นภาพยนตร์ไทยแอคชั่น ดราม่า กำกับการแสดงโดยสนานจิตต์ บางสะพาน ออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548.

ซุ้มมือปืนและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ซุ้มมือปืนและสันติสุข พรหมศิริ · ดูเพิ่มเติม »

เรือนแพ

รือนแพ คือ เรือนที่เคยตั้งอยู่บนแพในน้ำแล้วยกขึ้นมาปลูกบนบก อาจหมายถึง.

ศรัณยู วงษ์กระจ่างและเรือนแพ · สันติสุข พรหมศิริและเรือนแพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสันติสุข พรหมศิริ

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 270 ความสัมพันธ์ขณะที่ สันติสุข พรหมศิริ มี 186 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 2.19% = 10 / (270 + 186)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ศรัณยู วงษ์กระจ่างและสันติสุข พรหมศิริ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »