โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก vs. สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (Herpetology) เป็นสัตววิทยาแขนงหนึ่ง ที่ศึกษาโดยเฉพาะกับสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก อาทิ เต่า, ตะพาบ, จระเข้, กิ้งก่า, จิ้งจก, ตุ๊กแก, งู, กบ, คางคก, ซาลาแมนเดอร์, ทัวทารา โดยคำว่า "Herpetology" มาจากภาษากรีก คำว่า ἑρπήτόν (herpeton) หมายถึง "สัตว์ที่น่าขยะแขยง" และ λογία (logia) หมายถึง "ความรู้ หรือ การศึกษา" ซึ่งผู้ที่มีความสนใจหรือศึกษาศาสตร์ด้านนี้โดยเฉพาะเรียกว่า นักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สำหรับ ผู้ที่จะเป็นนักวิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกได้นั้นต้องมีภูมิหลังการศึกษาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างดีเยี่ยม มีสถาบันการศึกษาเพียงไม่กี่แห่งเท่านั้นที่เปิดสอนศาสตร์แขนงนี้ สำหรับในประเทศไทยแล้ว การเปิดสอนศาสตร์แขนงนี้ในสถาบันการศึกษาโดยตรงยังไม่มี แต่จะอยู่ในภาควิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้นและมีผู้นิยมชมชอบและเชี่ยวชาญอยู่จำนวนไม่น้อย เช่น ผู้ที่นิยมการเลี้ยงสัตว์แปลก ๆ หรือ ผู้ที่ทำงานด้านนี้ในทางวิชาการ อาทิ น.อ.(พิเศษ) วิโรจน์ นุตพันธุ์, จารุจินต์ นภีตะภัฏ, ธัญญา จั่นอาจ, วีรยุทธ์ เลาหะจินดา เป็นต้น. วน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ หรือ สเวน โอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สัตววิทยา

สัตววิทยา

ัตววิทยา (Zoology, มาจากภาษากรีกโบราณ ζῷον (zoon) หมายถึง "สัตว์" และ λόγος หมายถึง "วิทยาการ หรือ ความรู้") จัดเป็นศาสตร์ด้านชีววิทยาสาขาหนึ่ง เกี่ยวข้องกับสมาชิกในอาณาจักรสัตว์ และชีวิตสัตว์โดยทั่วไป โดยเป็นการศึกษาเรื่องสัตว์ ตั้งแต่พวกสัตว์ชั้นต่ำพวก ฟองน้ำ แมงกะพรุน พยาธิตัวแบน พยาธิตัวกลม กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสัตว์พวกหอย ปลาดาว จนถึง สัตว์มีกระดูกสันหลัง และ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตววิทยาศึกษาโดยรวมเกี่ยวกับร่างกายของสัตว์ ไม่ได้เน้นส่วนใดส่วนหนึ่ง และกระบวนการสำคัญในการดำรงชีพ แต่ศึกษาความสัมพันธ์ของสัตว์หรือกลุ่มสัตว์กับสภาพแวดล้อม เนื่องจากเป็นขอบเขตการศึกษาที่กว้าง จึงมักจะแบ่งย่อยเป็นสาขาอื่นๆ อีก เช่น วิทยาเซลล์, วิทยาตัวอ่อน, สัณฐานวิทยา, โบราณชีววิทยา, พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ, อนุกรมวิธาน, พฤติกรรมวิทยา, นิเวศวิทยา และสัตวภูมิศาสตร์ เป็นต้น สัตววิทยานั้นมีการศึกษามาตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ และจักรวรรดิโรมัน จากงานของฮิปโปเครเตส, อะริสโตเติล, และพลินี นักธรรมชาตินิยมสมัยต่อมาเจริญรอยตามอริสโตเติล จนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เมื่อมีการพิมพ์แพร่หลาย ความรู้เหล่านี้ก็กว้างขวางขึ้น มีการศึกษาและเผยแพร่มากขึ้น เช่น วิลเลียม ฮาร์วีย์ (การไหลเวียนของเลือด), คาโรลุส ลินเลียส (ระบบการตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์), ฌอร์ฌ-หลุยส์ เลอแกลร์ก กงต์เดอบูว์ฟง (ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ) และฌอร์ฌ กูว์วีเย (กายวิภาคเปรียบเทียบ) ซึ่งเป็นการศึกษาในขั้นลึกของสัตววิทยา จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ของการศึกษาสัตววิทยา ก็เมื่อชาลส์ ดาร์วิน ได้ตีพิมพ์หนังสือ กำเนิดพงศ์พันธุ์ (On the Origin of Species by Means of Natural Selection) ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นับแต่นั้นการศึกษาด้านพันธุศาสตร์เริ่มมีความจำเป็นในการศึกษาทางชีววิทยา และการศึกษาในแนวลึกเฉพาะด้านเริ่มมีมากขึ้น และยังมีการศึกษาคาบเกี่ยวกันในแต่ละสาขาวิชาด้วย สำหรับสถาบันที่เปิดสอนศาสตร์ด้านสัตววิทยานั้น ในประเทศไทย ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ต้องผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ที่มีหลักสูตร สาขาวิชาสัตววิทยา และสาขาวิชาชีววิทยา เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตร คณะประมง เช่น คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้วุฒิปริญญาตรี เป็นต้น และเมื่อศึกษาจบแล้ว สามารถเข้าทำงานในหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนได้ต่าง ๆ หลากหล.

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสัตววิทยา · สัตววิทยาและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์

วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ สเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.86% = 1 / (20 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกและสเวน ออสการ์ คูลเลนเดอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »