โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รพินทรนาถ ฐากุรและอัตชีวประวัติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและอัตชีวประวัติ

รพินทรนาถ ฐากุร vs. อัตชีวประวัติ

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี.. หน้าปกอัตชีวประวัติของเบนจามิน แฟรงคลิน ฉบับแรกปี ค.ศ. 1793 อัตชีวประวัติ (autobiography) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกสามคำ: “autos” แปลว่า “ตนเอง” และคำว่า “βίος” หรือ “bios” แปลว่า “ชีวิต” และคำว่า “γράφειν” หรือ “graphein” แปลว่า “เขียน” เป็นเรื่องราวของบุคคลโดยเขียนขึ้นโดยบุคคลคนนั้นเอง โดยเนื้อหา อาจเล่าถึงชีวิตส่วนตัวที่ไม่มีใครเคยรู้มาก่อน หรือ ไม่เคยถูกเผยแพร่ที่ไหนมาก่อน ชีวประวัติที่เขียนโดยเจ้าของชีวิต หรือในความหมายปัจจุบันหมายถึงประวัติที่ที่เขียนโดยเจ้าของชีวิตร่วมกับนักประพันธ์อาชีพในลักษณะบอกให้เขียน คำว่า “อัตชีวประวัติ” ใช้เป็นครั้งแรกโดย โรเบิร์ต ซัทธีย์ (Robert Southey) ในปี ค.ศ. 1809 ในวารสารแต่ลักษณะการเขียนแบบนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ นักเขียนชีวประวัติมักจะเขียนประวัติจากเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ และจากความคิดเห็นของตนเอง แต่นักเขียนอัตชีวประวัติเขียนจากความทรงจำของตนเอง ซึ่งใกล้เคียงกับบันทึกความทรงจำ (Memoir) ซึ่งบางครั้งแยกออกจากกันยาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและอัตชีวประวัติ

รพินทรนาถ ฐากุรและอัตชีวประวัติ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและอัตชีวประวัติ

รพินทรนาถ ฐากุร มี 46 ความสัมพันธ์ขณะที่ อัตชีวประวัติ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (46 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและอัตชีวประวัติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »