โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รพินทรนาถ ฐากุรและศุภะ สุขะ ไจนะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและศุภะ สุขะ ไจนะ

รพินทรนาถ ฐากุร vs. ศุภะ สุขะ ไจนะ

รพินทรนาถ ฐากุร (রবীন্দ্রনাথ ঠাকুর, Robindronath Ţhakur) (7 พฤษภาคม 2404 - 7 สิงหาคม 2484) มีสมัญญานามว่า "คุรุเทพ" เป็นนักปรัชญาพรหโมสมัช นักธรรมชาตินิยม และกวีภาษาเบงกาลี เขาเริ่มเขียนบทกวีครั้งแรกตั้งแต่อายุเพียง 8 ปี ครั้นอายุได้ 16 ปี ก็ได้ตีพิมพ์เผยแพร่งานกวีนิพนธ์ภายใต้นามปากกา ภาณุสิงโห และเริ่มเขียนเรื่องสั้นกับบทละครในปี.. "ศุภะ สุขะ ไจนะ" เป็นชื่อเพลงชาติ (قومی ترانہ) ของรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งอินเดียอิสระ (Arzi Hukumat-e-Azad Hind เรียกโดยย่อ Azad Hind) เพลงนี้มีพื้นฐานมาจากบทกวี ชนะ คณะ มนะ ซึ่งเป็นบทกวีภาษาเบงกาลีดัดแปลงเป็นภาษาสันสกฤต ผลงานของรพินทรนาถ ฐากูร หลังจากย้ายการเคลื่อนไหวจากเยอรมนีมาสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี ค.ศ. 1943 สุภาษ จันทระ โพส โดยความช่วยเหลือของมุมตัซ ฮุสเซ็น (Mumtaz Hussain) นักเขียนประจำสถานีวิทยุอินเดียอิสระ และพันเอกอะบิด ฮะซัน ซัฟฟรานี (Abid Hassan Saffrani) แห่งกองทัพแห่งชาติอินเดีย เขาได้เขียนเพลงชนะ คณะ มนะ ของฐากูรขึ้นใหม่เป็นภาษาฮินดูสตานี ในชื่อ "ศุภะ สุขะ ไจนะ" เพื่อใช้เป็นเพลงชาติ เนตาชี (ฉายาของสุภาษ จันทระ โพส) ให้ความสำคัญกับบทเพลงไว้ในฐานะที่มาของพลังในในการเตรียมใจสู้จนถึงที่สุด เขาได้ลงมายังสถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพแห่งชาติอินเดีย ณ อาคารคาเธย์บิลดิ้ง ในประเทศสิงคโปร์ และให้ร้อยเอกราม สิงห์ ฐากูร (Ram Singh Thakur) ประพันธ์ทำนองสำหรับใช้กับเพลงที่ได้แปลมาจากผลงานต้นฉบับภาษาเบงกาลีของรพินทรนาถ ฐากูร โดยขอให้เขาแต่งเป็นทำนองมาร์ชซึ่งไม่ทำให้คนฟังแล้วหลับ แต่ปลุกคนที่หลับอยู่ให้ตื่นขึ้นมาแทน ต่อมาอินเดียได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1947 ในวันถัดมา ชวาหระลาล เนห์รู ได้ชักธงติรังคะขึ้นเหนื้อเชิงเทินป้อมแดงเมืองเดลลี และกล่าวคำปราศรัยต่อประชาชาติ ในโอกาสนี้ ร้อยเอกราม สิงห์ ฐากูร ได้รับเชิญให้เล่นทำนอง "เพลงชาติ" (Qaumi Tarana) ของกองทัพแห่งชาติอินเดียพร้อมกับวงออร์เคสตร้าของเขาเป็นกรณีพิเศษ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและศุภะ สุขะ ไจนะ

รพินทรนาถ ฐากุรและศุภะ สุขะ ไจนะ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชนะ คณะ มนะพ.ศ. 2484ภาษาเบงกาลีศาสนาฮินดูอามาร์ โชนาร์ บังกลาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ชนะ คณะ มนะ

"ชนะ คณะ มนะ" (জন গণ মন, Jôno Gôno Mono; แปลว่า "จิตใจแห่งปวงชน") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอินเดีย บทเพลงนี้เขียนขึ้นด้วยภาษาเบงกาลีสันสกฤตและประพันธ์ทำนองโดยรพินทรนาถ ฐากูร นักเขียนรางวัลโนเบลชาวเบงกาลี โดยบทที่นำมาใช้เป็นเพลงชาตินี้นำมาจากบทแรกของเพลงเดิมซึ่งเป็นเพลงสรรเสริญแบบพฺราหฺมะ (ব্রাহ্ম, Brahmo) ของแคว้นเบงกอล มีเนื้อหาทั้งหมด 5 บท เพลงดังกล่าวได้มีการขับร้องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในที่ประชุมคองเกรสแห่งชาติของอินเดีย (Indian National Congress) ที่เมืองกัลกัตตา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1911 ภายหลังเพลง "ชนะ คณะ มนะ" ได้รับการยอมรับให้ใช้เป็นเพลงชาติอินเดียอย่างเป็นทางการโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1950 Ganpuley's Memoirs.1983.

ชนะ คณะ มนะและรพินทรนาถ ฐากุร · ชนะ คณะ มนะและศุภะ สุขะ ไจนะ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2484และรพินทรนาถ ฐากุร · พ.ศ. 2484และศุภะ สุขะ ไจนะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ภาษาเบงกาลีและรพินทรนาถ ฐากุร · ภาษาเบงกาลีและศุภะ สุขะ ไจนะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

รพินทรนาถ ฐากุรและศาสนาฮินดู · ศาสนาฮินดูและศุภะ สุขะ ไจนะ · ดูเพิ่มเติม »

อามาร์ โชนาร์ บังกลา

อามาร์ โชนาร์ บังกลา (เบงกาลี: আমার সোনার বাংলা) หรือ "บังกลาแดนทองของข้า" เป็นบทเพลงภาษาเบงกาลีซึ่งรพินทรนาถ ฐากูร กวีรางวัลโนเบลชาวเบงกอล ได้ประพันธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2449 เนื้อร้องในสิบบทแรกของเพลงนี้ได้มีการนำมาใช้เป็นเพลงชาติของประเทศบังคลาเทศเมื่อปี พ.ศ. 2515 หลังจากประเทศบังกลาเทศได้รับเอกราชจากประเทศปากีสถานอย่างเป็นทางการในปี..

รพินทรนาถ ฐากุรและอามาร์ โชนาร์ บังกลา · ศุภะ สุขะ ไจนะและอามาร์ โชนาร์ บังกลา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

รพินทรนาถ ฐากุรและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ศุภะ สุขะ ไจนะและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและศุภะ สุขะ ไจนะ

รพินทรนาถ ฐากุร มี 46 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศุภะ สุขะ ไจนะ มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 8.00% = 6 / (46 + 29)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รพินทรนาถ ฐากุรและศุภะ สุขะ ไจนะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »