เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ยูโกสลาเวีย

ดัชนี ยูโกสลาเวีย

ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".

เปิดใน Google Maps

สารบัญ

  1. 26 ความสัมพันธ์: บอลข่านพ.ศ. 2461พ.ศ. 2488พ.ศ. 2535พ.ศ. 2546ฝ่ายอักษะรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บราชอาณาจักรมอนเตเนโกรราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรเซอร์เบียราชาธิปไตยรายนามประมุขแห่งรัฐยูโกสลาเวียลัทธิคอมมิวนิสต์สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบียสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาสงครามยูโกสลาเวียทวีปยุโรปคริสต์ศตวรรษที่ 20ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรเบลเกรดเพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวียเฮ สลาฟ1 ธันวาคม29 พฤศจิกายน4 กุมภาพันธ์

  2. ประเทศยูโกสลาเวีย
  3. รัฐสิ้นสภาพ
  4. รัฐสิ้นสภาพในคาบสมุทรบอลข่าน
  5. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2461
  6. ราชาธิปไตยในอดีต

บอลข่าน

แผนที่ทางอากาศของคาบสมุทรบอลข่าน คาบสมุทรบอลข่าน (Balkans) เป็นชื่อทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ หมายถึงดินแดนทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 550,000 ตร.กม.

ดู ยูโกสลาเวียและบอลข่าน

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ยูโกสลาเวียและพ.ศ. 2461

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ยูโกสลาเวียและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ยูโกสลาเวียและพ.ศ. 2535

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู ยูโกสลาเวียและพ.ศ. 2546

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ดู ยูโกสลาเวียและฝ่ายอักษะ

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ (State of Slovenes, Croats and Serbs) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเพียงในระยะเวลาอันสั้น โดยตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บก่อตั้งขึ้นหลังจากการยุบตัวของจักรวรรดิหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยประชาชนชาวสโลวีน ชาวโครเอเชีย และชาวเซอร์เบีย รวมไปถึงชาวบอสนีแอก.

ดู ยูโกสลาเวียและรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร (Краљевина Црнa Горa; Kingdom of Montenegro).

ดู ยูโกสลาเวียและราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ.

ดู ยูโกสลาเวียและราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (Краљевина Србија; Kingdom of Serbia) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ.

ดู ยูโกสลาเวียและราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชาธิปไตย

ราชาธิปไตย คือ การที่มีประมุขของรัฐเป็นกษัตริย์ แบ่งออกตามขอบเขต พระราชอำนาจเป็น.

ดู ยูโกสลาเวียและราชาธิปไตย

รายนามประมุขแห่งรัฐยูโกสลาเวีย

รายนามประมุขแห่งรัฐของยูโกสลาเวีย แต่ตั้ง ค.ศ. 1945 จนถึง ค.ศ. 1991.

ดู ยูโกสลาเวียและรายนามประมุขแห่งรัฐยูโกสลาเวีย

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ดู ยูโกสลาเวียและลัทธิคอมมิวนิสต์

สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย

มเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย (Петар I Карађорђевић, Petar I Karađorđević) (พระบรมราชสมภพ 29 มิถุนายน 1844 - เสด็จสวรรคต 16 สิงหาคม 1921) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของประเทศเซอร์เบีย 1903-1918 และต่อมาผู้ปกครองของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ในปี 1929) จึงให้รวมอาณาจักรเข้าด้วยกัน ภายใต้พระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน พระองค์จึงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย พระองค์ทรงเป็นผู้นำกองทัพเซอร์เบียรบชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ดู ยูโกสลาเวียและสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 แห่งเซอร์เบีย

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (Socialist Federal Republic of Yugoslavia, SFR Yugoslavia, SFRY) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมในคาบสมุทรบอลข่านและล่มสลายหลังจากสงครามยูโกสลาเวีย ในปี..

ดู ยูโกสลาเวียและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

รณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Republic of Bosnia and Herzegovina; บอสเนีย: Republika Bosna i Hercegovina) เป็นอดีตรัฐชาติซึ่งถ่ายทอดสิทธิ์ทางอำนาจและพันธะให้แก่ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในปัจจุบัน สาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาดำรงอยู่อย่างถูกต้องตามกฎหมายจนกระทั่งมีการร่วมลงนามในเอกสารแนบ 4 ของความตกลงเดย์ตัน (ซึ่งบรรจุรัฐธรรมนูญแห่งบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาไว้) เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ดู ยูโกสลาเวียและสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

สงครามยูโกสลาเวีย

งครามยูโกสลาเวีย (Yugoslav Wars) หรืออาจเรียกว่า สงครามกลางเมืองยูโกสลาเวีย เป็นสงครามซึ่งสู้รบกันในดินแดนอดีตยูโกสลาเวียระหว่าง..

ดู ยูโกสลาเวียและสงครามยูโกสลาเวีย

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp.

ดู ยูโกสลาเวียและทวีปยุโรป

คริสต์ศตวรรษที่ 20

ริสต์ศตวรรษที่ 20 อยู่ระหว่างปี 1 มกราคม ค.ศ. 1901 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 2000.

ดู ยูโกสลาเวียและคริสต์ศตวรรษที่ 20

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ยูโกสลาเวียและประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

เบลเกรด

ลเกรด (Belgrade) หรือ เบออกรัด (Београд) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเซอร์เบีย มีการตั้งถิ่นฐานครั้งแรกในบริเวณนี้ตั้งแต่สมัยก่อนยุคประวัติศาสตร์ เมื่อ 5,700-4,800 ปีก่อนคริสต์ศักราช จุดเริ่มต้นของเมืองถูกก่อตั้งโดยชาวเคลต์กลุ่ม Scordisci ในศตวรรษที่สามก่อนศริสตศักราช ก่อนจะกลายมาเป็นที่ตั้งของเมืองโรมันในนาม Singidunum นับแต่อดีตมาเบลเกรดเป็นป้อมปราการที่สำคัญให้แก่ชนกลุ่มต่างๆตลอดระยะเวลากว่าสองพันปี ถูกทำลายแล้วสร้างกลับขึ้นมาใหม่หลายสิบครั้ง ด้วยประชาการกว่า 1,600,000 คน ปัจจุบันนี้ เบลกราดก็ถือเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศที่อดีตเคยรวมตัวกันเป็นยูโกสลาเวีย เป็นที่ตั้งของสนามบินที่เพียงแห่งเดียวในการเดินทางเข้าสู่เซอร์เบีย นับได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา การคมนาคมและการท่องเที่ยวของประเท.

ดู ยูโกสลาเวียและเบลเกรด

เพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย („Химна Краљевине Југославије”) กำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1918 ภายหลังจากการรรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น และ ราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ โดยราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ได้ใช้เนื้อร้องที่ผสมกันระหว่าง เนื้อเพลงที่ตัดตอนจากเพลง โบเช ปราฟเด (ภาษาเซอร์เบีย), ลิเยปา นาชา โดโมวีโน (ภาษาโครเอเชีย) และ Naprej zastava slave (ภาษาสโลวีเนีย) โดยใช้จนถึง ค.ศ.

ดู ยูโกสลาเวียและเพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

เฮ สลาฟ

ลาฟ แปลได้ว่า "เรา ชาวสลาฟ" เป็นเพลงปลุกใจของชาวสลาฟ ประพันธ์คำร้องครั้งแรก พ.ศ. 2377 เพลงนี้มีชื่อเรียกอย่างอื่นดังนี้ เฮ สโลวัก (Hej, Slováci) โดย ซามูเอล โทมาสิค และตั้งแต่นั้นมาใช้เพลงนี้เป็นเพลงของกลุ่มอุดมการณ์ร่วมสลาฟ โดยเพลงนี้ใช้เป็นเพลงชาติของสหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวีย และเซอร์เบียและมอนเตเนโกร รวมทั้งเป็นเพลงชาติของชาวสโลวักอย่างไม่เป็นทางการ เพลงนี้ได้รับอิทธิพลมาจากเพลงชาติโปแลนด์ "มาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ" ตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู ยูโกสลาเวียและเฮ สลาฟ

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ดู ยูโกสลาเวียและ1 ธันวาคม

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ดู ยูโกสลาเวียและ29 พฤศจิกายน

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ยูโกสลาเวียและ4 กุมภาพันธ์

ดูเพิ่มเติม

ประเทศยูโกสลาเวีย

รัฐสิ้นสภาพ

รัฐสิ้นสภาพในคาบสมุทรบอลข่าน

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2461

ราชาธิปไตยในอดีต

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Yugoslaviaสหพันธ์สาธารณรัฐประชาชนยูโกสลาเวียสาธารณรัฐประชาธิปไตยยูโกสลาเวียประเทศยูโกสลาเวีย