โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มังงะและยุริ (แนว)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มังงะและยุริ (แนว)

มังงะ vs. ยุริ (แนว)

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น. ทโมโยะ ไดโดจิ และซากุระ คิโนโมโตะ คู่ยุริจากเรื่อง ''ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์'' ยุริ เป็นคำศัพท์ญี่ปุ่น ใช้เรียกมังงะ อะนิเมะ หรือสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาความสัมพันธ์แบบรักเพศเดียวกันระหว่างผู้หญิงกับผู้หญิง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มังงะและยุริ (แนว)

มังงะและยุริ (แนว) มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาญี่ปุ่นยะโอะอิอะนิเมะโกสต์อินเดอะเชลล์ (มังงะ)เอ็กซ์ พลังล้างโลกเทพมรณะเซเลอร์มูนNANA

ภาษาญี่ปุ่น

ษาญี่ปุ่น (日本語) เป็นภาษาทางการของประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีผู้ใช้ทั่วโลกราว 130 ล้านคน นอกเหนือจากประเทศญี่ปุ่นแล้ว รัฐอังกาอูร์ สาธารณรัฐปาเลา ได้กำหนดให้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการภาษาหนึ่ง นอกจากนี้ภาษาญี่ปุ่นยังถูกใช้ในหมู่ชาวญี่ปุ่นที่ย้ายไปอยู่นอกประเทศ นักวิจัยญี่ปุ่น และนักธุรกิจต่างๆ คำภาษาญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ที่ได้นำมาเผยแพร่มาในประเทศญี่ปุ่นเมื่อกว่า 1,500 ปีที่แล้ว และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ก็ได้มีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาจีนมาใช้อีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน เช่นคำที่มาจากภาษาดัตช์ ビール (bier แปลว่า เบียร์) และ コーヒー (koffie แปลว่า กาแฟ).

ภาษาญี่ปุ่นและมังงะ · ภาษาญี่ปุ่นและยุริ (แนว) · ดูเพิ่มเติม »

ยะโอะอิ

ตัวอย่างงานศิลปะของ shōnen-ai ตีพิมพ์ครั้งแรกที่ Animexx ยะโอะอิ เป็นคำศัพท์ที่มีต้นกำเนิดมาจากญี่ปุ่น ใช้ในวงการนิยายและการ์ตูน เริ่มแรกเดิมทีคำนี้ หมายถึง ประเภทหนึ่งของงานโดจินชิซึ่งเป็นผลงานล้อเลียนมังงะหรืออะนิเมะที่กำลังเป็นที่นิยมในขณะนั้น แต่ปัจจุบันความหมายได้เปลี่ยนไป กลายเป็นลักษณะความสัมพันธ์แบบรักร่วมเพศเชิงอีโรติกหรือโรแมนติกระหว่างชายกับชาย ซึ่งอยู่ในรูปแบบของมังงะ อะนิเมะ เกม นิยาย และ โดจินชิ ต่อมาในญี่ปุ่นได้เกิดคำศัพท์ใหม่แทนที่ยะโอะอิ คือคำว่า บอยส์เลิฟ (Boy's Love) แม้ชื่อจะบอกว่าเป็นความรักของเด็กหนุ่ม แต่ในความเป็นจริงแล้วสามารถใช้ได้กว้างตั้งแต่เรื่องราวระหว่างวัยรุ่นไปจนถึงคนสูงวัย แต่มีศัพท์เฉพาะ คือ ความสัมพันธ์กับชายวัยเยาว์ เรียก โชะตะคอน ถ้าเป็นชายสูงอายุเรียก โอจิคอน.

มังงะและยะโอะอิ · ยะโอะอิและยุริ (แนว) · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

มังงะและอะนิเมะ · ยุริ (แนว)และอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

โกสต์อินเดอะเชลล์ (มังงะ)

thumb โกสต์อินเดอะเชลล์ (Ghost in the Shell) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนววิทยาศาสตร์และปรัชญาที่ได้รับความนิยมอย่างสูง ซึ่งแต่งขึ้นโดยชิโระ มาซามูเนะ (士郎 正宗) ในรูปแบบหนังสือการ์ตูน ถูกปล่อยครั้งแรกในปี 1989 ภายใต้ชื่อ The Ghost in the Shell โดยการ์ตูนจะเป็นประเภท ทังโกบง จัดจำหน่ายโดย สำนักพิมพ์โคดัน.

มังงะและโกสต์อินเดอะเชลล์ (มังงะ) · ยุริ (แนว)และโกสต์อินเดอะเชลล์ (มังงะ) · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซ์ พลังล้างโลก

อ็กซ์ พลังล้างโลก (X หรือ X/1999) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น ผลงานของกลุ่มนักวาดการ์ตูน แคลมป์ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ และอะนิเมะสำหรับออกฉายทางโทรทัศน์ สำหรับฉบับหนังสือการ์ตูน เริ่มตีพิมพ์ลงในนิตยสารการ์ตูน อาสึกะรายเดือน (สำนักพิมพ์คาโดกาว่า) เมื่อปี..

มังงะและเอ็กซ์ พลังล้างโลก · ยุริ (แนว)และเอ็กซ์ พลังล้างโลก · ดูเพิ่มเติม »

เทพมรณะ

ทพมรณะ หรือ บลีช เป็นผลงานการ์ตูนญี่ปุ่นของคุโบะ ไทเทะ ตีพิมพ์ลงนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ในประเทศญี่ปุ่น ระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2544 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ส่วนในประเทศไทยนั้นถูกตีพิมพ์ในนิตยสารบูม โดยมีสำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์เป็นผู้ถือลิขสิทธิ์และจัดจำหน่ายในรูปแบบวีซีดีและดีวีดีโดยบริษัทโรส มีเดีย แอนด์ เอ็นเตอร์เทนเมนท.

มังงะและเทพมรณะ · ยุริ (แนว)และเทพมรณะ · ดูเพิ่มเติม »

เซเลอร์มูน

ซเลอร์มูน (Sailor Moon) เป็นชื่อของการ์ตูนญี่ปุ่นสำหรับผู้หญิง วาดโดยนาโอโกะ ทาเคอุจิ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารนาคาโยชิ ของสำนักพิมพ์โคดันฉะ ประเทศญี่ปุ่น ส่วนฉบับรวมเล่มมีความยาว 18 เล่มจบ อีกทั้งยังมีการ์ตูนที่แตกออกจากเรื่องนี้อีกมากมาย รวมทั้งนำเสนอในสื่อหลายประเภท เป็นต้นว่า ภาพยนตร์อะนิเมะ, ละครเวที, เกม และละครโทรทัศน์ แนวโทคุซัทสึ.

มังงะและเซเลอร์มูน · ยุริ (แนว)และเซเลอร์มูน · ดูเพิ่มเติม »

NANA

NANA เป็นการ์ตูนญี่ปุ่น แนววัยรุ่นผู้หญิง เขียนโดยนักวาดการ์ตูนแนวนี้ชื่อดัง ไอ ยาซาว่า นานะลงตีพิมพ์เป็นตอนๆในนิตยสารการ์ตูนรายสัปดาห์ Cookie ของสำนักพิมพ์ ชูเอฉะ ต่อมาได้ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ เกมสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 2 และอะนิเมะ NANA เป็นหนังสือการ์ตูนผู้หญิงอันดับที่ 13 ที่มียอดขายทะลุ 2.5 ล้านฉบับ แต่ก็มีนักอ่านที่เป็นผู้ชายอยู่มาก อาจเป็นเพราะว่า นานะ มีการดำเนินเรื่องลักษณะของตัวละคร และรายละเอียดที่เหมือนกับชีวิตคนจริงๆ นานะ ได้รับรางวัลการ์ตูนญี่ปุ่นยอดเยี่ยม ครั้งที่ 48 ของสำนักพิมพ์โชงาคุคัง.

NANAและมังงะ · NANAและยุริ (แนว) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มังงะและยุริ (แนว)

มังงะ มี 85 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยุริ (แนว) มี 41 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 6.35% = 8 / (85 + 41)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มังงะและยุริ (แนว) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »