โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระสุพรรณกัลยาและเจ้าหญิงเมงอทเว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระสุพรรณกัลยาและเจ้าหญิงเมงอทเว

พระสุพรรณกัลยา vs. เจ้าหญิงเมงอทเว

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง. ้าหญิงเมงอทเว หรือ เจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่ เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าบุเรงนองกับพระสุพรรณกัลยา ซึ่งพระสุพรรณกัลยาเป็นพระพี่นางในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ เนื่องจากพระสุพรรณกัลยาทรงเป็นองค์ประกันในพม่า พระสุพรรณกัลยาจึงมีพระนามภาษาพม่าว่า อเมี๊ยวโหย่ว และเชื่อว่าเป็นมเหสีที่พระเจ้าบุเรงนองทรงโปรดปราน ส่วนพระนามของพระราชธิดา โดยได้รับพระราชทานพระนามว่า เจ้าภุ้นชิ่ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มีสติปัญญาและพระบารมี แต่โดยมากจะรู้จักกันในพระนาม เมงอทเว (เมง-อะ-ทเว) พระองค์นี้อันมีความหมายว่า "พระธิดาองค์สุดท้อง" (และเป็นพระธิดาองค์สุดท้ายของพระเจ้าบุเรงนองด้วย).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระสุพรรณกัลยาและเจ้าหญิงเมงอทเว

พระสุพรรณกัลยาและเจ้าหญิงเมงอทเว มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวมอญพ.ศ. 2135พ.ศ. 2137พระราชวังกัมโพชธานีพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้านันทบุเรงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสัมฤทธิ์จังหวัดพิษณุโลกจังหวัดเชียงใหม่ทองคำประเทศพม่าไทใหญ่เจดีย์ชเวดากองเงินตรา

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ชาวมอญและพระสุพรรณกัลยา · ชาวมอญและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2135

ทธศักราช 2135 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2135และพระสุพรรณกัลยา · พ.ศ. 2135และเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2137

ทธศักราช 2137 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2137และพระสุพรรณกัลยา · พ.ศ. 2137และเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังกัมโพชธานี

้านหน้าของพระราชวังกัมโพชธานี พระราชวังกัมโพชธานี (Kamboza Thadi Palace, Kanbawzathadi Palace; ကမ္ဘောဇသာဒီ နန်းတော်) พระราชวังแห่งเมืองหงสาวดี (พะโค) ของพระเจ้าบุเรงนอง เป็นพระราชวังที่ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระมหาธาตุเจดีย์ชเวมอดอ (พระธาตุมุเตา) สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2109 ซึ่งเป็นปีที่ 15 ของการครองราชย์ของพระองค์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่พระองค์เรืองอำนาจสูงสุด พระองค์ตัดสินพระทัยเผาพระราชวังเก่าไปเนื่องจากมีการกบฏ พระราชวังกัมโพชธานีสร้างขึ้นโดยใช้แรงงานจากประเทศราชต่าง ๆ และพระองค์โปรดให้ใช้ชื่อประตูต่าง ๆ ทั้งหมด 20 ประตู ตามชื่อของแรงงานประเทศราชที่สร้าง เช่น ประตูทางตอนเหนือปรากฏชื่อ ประตูโยเดีย (อยุธยา) ประตูตอนใต้ชื่อ ประตูเชียงใหม่ อีกทั้งยังมีพระตำหนักของพระสุพรรณกัลยา องค์ประกันที่ตกเป็นเชลยและกลายเป็นมเหสีองค์หนึ่งของพระองค์ด้วย พระราชวังกัมโพชธานีถูกเผาจนเหลือแต่เพียงซาก หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง ด้วยกบฏยะไข่ พร้อม ๆ กับอาณาจักรตองอูที่เคยเรืองอำนาจเสื่อมลงhttp://culturemyanmar.org/pages/doa_royal_palace.html จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2533 รัฐบาลพม่าได้ขุดค้นพบซากของพระราชวังที่เหลือเพียงแค่ตอไม้ที่โผล่พ้นดินออกมาเท่านั้น และได้มีการเร่งสร้างพระราชวังจำลององค์ใหม่ขึ้นมา ฉาบด้วยสีทองทั้งหลัง ทั้งที่พื้นดินบริเวณโดยรอบได้ขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเชื่อว่ายังมีอยู่อีกจำนวนมากที่ยังไม่ถูกขุดขึ้นมา แต่ได้ถูกทางการสร้างพระราชวังทับลงไปแล้ว แต่ซากไม้ที่ใช้สร้างพระราชวังแต่ครั้งอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ได้ถูกจัดแสดง ซึ่งไม้แต่ละท่อนมีตัวอักษรจารึกอยู่ว่าเป็นผลงานของเมืองใด ภายในพระราชวัง มีพระราชบัลลังก์ที่มีชื่อว่า "บัลลังก์ภุมรินทร์" หรือ "บัลลังก์ผึ้ง" ซึ่งสร้างขึ้นมาจากคติเรื่องจักรวาลตามความเชื่อของศาสนาฮินดู ปัจจุบัน พระราชวังกัมโพชธานีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของหงสาวดีและประเทศพม.

พระราชวังกัมโพชธานีและพระสุพรรณกัลยา · พระราชวังกัมโพชธานีและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

พระสุพรรณกัลยาและพระเจ้าบุเรงนอง · พระเจ้าบุเรงนองและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

พระสุพรรณกัลยาและพระเจ้านันทบุเรง · พระเจ้านันทบุเรงและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

พระสุพรรณกัลยาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

พระสุพรรณกัลยาและสมเด็จพระเอกาทศรถ · สมเด็จพระเอกาทศรถและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

สัมฤทธิ์

รื่องมือโบราณบางส่วนที่ทำจากสัมฤทธิ์ สัมฤทธิ์ (bronze; โบราณเขียน "สำริด") หมายถึง โลหะประสมทองแดงชนิดหนึ่ง ที่มีคุณลักษณะแปรผันหลากหลาย ปกติมีดีบุกเป็นส่วนประกอบหลัก แต่บางครั้งก็มีธาตุอื่นๆ เช่นฟอสฟอรัส, แมงกานีส, อะลูมิเนียม หรือ ซิลิกอน สัมฤทธิ์เป็นโลหะที่แข็งแรง และเหนียว และมีการใช้งานอย่างกว้างขวางในทางอุตสาหกรรม และมีความสำคัญเป็นพิเศษในสมัยโบราณ จนนักโบราณคดีเรียกยุคหนึ่งว่า ยุคสัมฤท.

พระสุพรรณกัลยาและสัมฤทธิ์ · สัมฤทธิ์และเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

จังหวัดพิษณุโลกและพระสุพรรณกัลยา · จังหวัดพิษณุโลกและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

จังหวัดเชียงใหม่และพระสุพรรณกัลยา · จังหวัดเชียงใหม่และเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

ทองคำ

ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.

ทองคำและพระสุพรรณกัลยา · ทองคำและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ประเทศพม่าและพระสุพรรณกัลยา · ประเทศพม่าและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

พระสุพรรณกัลยาและไทใหญ่ · เจ้าหญิงเมงอทเวและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวดากอง

ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

พระสุพรรณกัลยาและเจดีย์ชเวดากอง · เจดีย์ชเวดากองและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

เงินตรา

งิน หมายถึง วัตถุหรือเอกสารใด ๆ ที่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปในการแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบริการและใช้ชำระหนี้ในประเทศหรือในบริบทสังคมเศรษฐกิจหนึ่งๆตามตัวบทกฎหมาย หน้าที่หลักของเงินจำแนกได้ว่า (1) เป็นสื่อกลางการแลกเปลี่ยน (2) เป็นหน่วยวัดมูลค่า (3) เป็นเครื่องเก็บรักษามูลค่า และ (4) บางครั้งในอดีต เป็นมาตรฐานการชำระหนี้ภายหน้าT.H. Greco.

พระสุพรรณกัลยาและเงินตรา · เงินตราและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระสุพรรณกัลยาและเจ้าหญิงเมงอทเว

พระสุพรรณกัลยา มี 41 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ้าหญิงเมงอทเว มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 24.24% = 16 / (41 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระสุพรรณกัลยาและเจ้าหญิงเมงอทเว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »