โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) vs. เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

มหาเสวกเอก พลตรี พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) อดีตผู้บัญชาการกรมมหรสพในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. ันเอก เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เป็นบุตรชายของ พลเอก เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา และ หม่อมราชวงศ์หญิงวิมลโพยม (สวัสดิวัตน์) มีชื่อเล่นว่า "แซม" สืบตระกูลโดยเป็นหลานชายของพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านพิษณุโลก น้องชายของเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านนรสิงห์ โดยที่ตระกูลอนิรุทธเทวารับราชการทหารมาตั้งแต่รัชสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 6.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บ้านพิษณุโลกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวศาสนาพุทธเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

บ้านพิษณุโลก

้านบรรทมสินธุ์ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2489 บ้านพิษณุโลก เป็นบ้านพักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยและเคยใช้เป็นที่ทำการของคณะที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นบ้านแบบสถาปัตยกรรมที่สวยงาม ออกแบบและสร้างโดย มาริโอ ตามานโญ สถาปนิกประจำราชสำนักสยามชาวอิตาลี (พ.ศ. 2443-2468) มีเนื้อที่ 25 ไร่ 3 งาน เดิมชื่อ “บ้านบรรทมสินธุ์”.

บ้านพิษณุโลกและพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) · บ้านพิษณุโลกและเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และศาสนาพุทธ · ศาสนาพุทธและเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)

ลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก จางวางเอก นายพลเสือป่า เจ้าพระยารามราฆพ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2510) อดีตองคมนตรี อดีตสมุหราชองครักษ์ อดีตสมุหพระราชมนเทียร อดีตประธานกรรมการพระราชสำนัก อดีตนายกเทศมนตรีเทศบาลนครกรุงเทพฯ และ อดีตนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศสยาม ในพระบรมราชูปถัม.

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) · เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยและเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก · เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 12.24% = 6 / (18 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »