สารบัญ
399 ความสัมพันธ์: บรรจบ บรรณรุจิชรินรัตน์ พุทธปวนบรีฌิต มาครงบัณฑูร ล่ำซำชากา คานชาญชัย อิสระเสนารักษ์บุญศรี รัตนังฟรานซิส คริกฟองสนาน จามรจันทร์ฟาทีห์ เทริมฟุตบอลทีมชาติปารากวัยฟีเดล กัสโตรฟ้า พูลวรลักษณ์พ.ศ. 2421พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2500พ.ศ. 2505พ.ศ. 2532พ.ศ. 2538พ.ศ. 2540พ.ศ. 2544พ.ศ. 2550พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2559พ.ศ. 2561พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช)พระมหากษัตริย์ไทยพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)พระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ)พระครูวิมุติธรรมาภิรม (บุญส่วน ปริมุตฺโต)พรเทพ เตชะไพบูลย์พลกฤษณ์ หงษ์ทองพอล อัลเลนพอล เอลเลริงพิมพา จันทร์ประสงค์พิธีราชาภิเษกพิเชฐ พัฒนโชติพีรยศ ราฮิมมูลาพงศ์ประยูร ราชอาภัยพงษ์เทพ กระโดนชำนาญพนิตา กำภู ณ อยุธยากริสตีนา เฟร์นันเดซ เด กีร์ชเนร์การปฏิวัติคิวบาภิรมย์ อั๋นประเสริฐภูมิธรรม เวชยชัยมะซะมิ คุรุมะดะ... ขยายดัชนี (349 มากกว่า) »
บรรจบ บรรณรุจิ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.
ชรินรัตน์ พุทธปวน
รองศาสตราจารย์ ดร.ชรินรัตน์ พุทธปวน (21 สิงหาคม พ.ศ. 2496 -) เดิมชื่อ "สาคร พุทธปวน" เป็นบุตรของพ่อหลวงอินสนธิ์ กับแม่แปง พุทธปวน เป็นชาวจังหวัดลำพูนโดยกำเนิด เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคไทยรักไท.
ดู พ.ศ. 2496และชรินรัตน์ พุทธปวน
บรีฌิต มาครง
รีฌิต มารี-โกลด มาครง (Brigitte Marie-Claude Macron; สกุลเมื่อแรกเกิด: ทรอเญอ, สกุลเดิม: โอซีแยร์; 13 เมษายน พ.ศ. 2496) เป็นครูสอนระดับมัธยมศึกษาชาวฝรั่งเศส และเป็นภริยาของแอมานุแอล มาครง ประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส ปัจจุบันเธอสอนวิชาวรรณคดีที่ลีเซแซ็ง-หลุยส์-เดอ-กงซาก (Lycée Saint-Louis-de-Gonzague) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในปารี.
บัณฑูร ล่ำซำ
ัณฑูร ล่ำซำ (15 มกราคม พ.ศ. 2496) โลโก้ใหม.
ชากา คาน
กา คาน (Chaka Khan) เกิดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม..
ชาญชัย อิสระเสนารักษ์
นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ (เกิด 10 สิงหาคม พ.ศ. 2496) อดีตรองประธานอนุกรรมาธิการ ด้านกลไกการปราบปรามการทุจริต คณะกรรมาธิการวิสามัญป้องกันและปราบปรามการทุจริต สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.
ดู พ.ศ. 2496และชาญชัย อิสระเสนารักษ์
บุญศรี รัตนัง
ญศรี รัตนัง ศิลปินแห่งชาต..
ฟรานซิส คริก
ฟรานซิส คริก ฟรานซิส คริก (Francis Harry Compton Crick OM FRS (8 มิถุนายน พ.ศ. 2459 – 28 กรกฎาคม 2547) นักอณูชีววิทยาชาวอังกฤษ นักฟิสิกส์และนักประสาทวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของ “กรดดีออกซีไรโบนิวคลิอิก” หรือ “ดีเอ็นเอ” เมื่อ พ.ศ.
ฟองสนาน จามรจันทร์
ฟองสนาน จามรจันทร์ ฟองสนาน จามรจันทร์ อดีตนักจัดรายการวิทยุของกรมประชาสัมพันธ์ สังกัดสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (เอ็นบีที) จัดเป็นสื่อมวลชนฝีปากกล้าที่ถูกอำนาจรัฐคุกคาม ปัจจุบันเป็นนักจัดการวิทยุและสื่อมวลชนอิสระ รวมถึงเป็นนักโหราศาสตร์สมัครเล่นอีกด้วย ฟองสนาน เกิดเมื่อปี..
ดู พ.ศ. 2496และฟองสนาน จามรจันทร์
ฟาทีห์ เทริม
ฟาทีห์ เทริม (Fatih Terim) เป็นอดีตนักฟุตบอลอาชีพชาวตุรกี ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมชาติตุรกี เทริมเกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน..
ฟุตบอลทีมชาติปารากวัย
ฟุตบอลทีมชาติปารากวัย (Paraguay national football team) เป็นตัวแทนทีมกีฬาฟุตบอลจากประเทศปารากวัย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลปารากวัย (Asociación Paraguaya de Fútbol) ทีมชาติปารากวัยเข้าสู่รอบที่ 2 ของฟุตบอลโลก 3 ครั้ง (ในปี 1986, 1998 และ 2002) ทีมชาติปารากวัยเคยได้ชัยชนะจากการแข่งสำคัญจากการแข่งขันโคปาอเมริกา ที่ได้รับชัยชนะในปี 1953 และ 1979 นอกจากนั้นยังได้เหรียญเงินในการแข่งโอลิมปิกฤดูร้อน ในปี 2004 ที่จัดขึ้นที่กรุงเอเธนส์ พ่ายให้อาร์เจนตินา 1-0 ในรอบตัดสิน ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2010 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ ถือเป็นการร่วมเข้าแข่งรอบคัดเลือกครั้งที่ 4 ติดต่อกัน ของปารากวั.
ดู พ.ศ. 2496และฟุตบอลทีมชาติปารากวัย
ฟีเดล กัสโตร
ฟีเดล อาเลคันโดร กัสโตร รุซ (Fidel Alejandro Castro Ruz (audio); 13 สิงหาคม ค.ศ. 1926 — 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016) เป็นนักปฏิวัติและนักการเมืองคิวบา ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคิวบาตั้งแต..
ฟ้า พูลวรลักษณ์
ฟ้า พูลวรลักษณ์ "เด็กชายฟ้า พูลวรลักษณ์":IMAGE.
ดู พ.ศ. 2496และฟ้า พูลวรลักษณ์
พ.ศ. 2421
ทธศักราช 2421 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1878.
พ.ศ. 2489
ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2491
ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.
พ.ศ. 2500
ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2505
ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2532
ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2540
ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2544
ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2554
ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2556
ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2559
ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.
พ.ศ. 2561
ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
ระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี (ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี; ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี; ประสูติ 14 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..
ดู พ.ศ. 2496และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช)
ระพรหมมังคลาจารย์ นามเดิม ธงชัย ฉายา ธมฺมธโช เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 ฝ่ายสาธารณสงเคราะห์ และรองรองแม่กองธรรมสนามหลวง กำกับดูแลฝ่ายวิเทศสัมพัน.
ดู พ.ศ. 2496และพระพรหมมังคลาจารย์ (ธงชัย ธมฺมธโช)
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และพระมหากษัตริย์ไทย
พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)
ระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล) เป็นผู้ดำรงตำแหน่งประธานพระครูพราหมณ์คนปัจจุบันซึ่ง สำเร็จการศึกษาเศรษฐศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และบวชเป็นพราหมณ์ตั้งแต..
ดู พ.ศ. 2496และพระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิคุณ (ชวิน รังสิพราหมณกุล)
พระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ)
ระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ) เป็นเจ้าอาวาสวัดพระบาทน้ำพุ ผู้ให้การอุปการะช่วยเหลือผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี-เอดส์ หลายราย ปัจจุบันทางวัดยังคงรับผู้ป่วยมาดูแลอยู่เนือง.
ดู พ.ศ. 2496และพระราชวิสุทธิประชานาถ (อลงกต ติกฺขปญฺโญ)
พระครูวิมุติธรรมาภิรม (บุญส่วน ปริมุตฺโต)
ระครูวิมุติธรรมาภิรม (หลวงพ่อบุญส่วน ปริมุตฺโต) เจ้าอาวาสวัดหนองคล้า และเจ้าคณะตำบลบึง เกจิดังของตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี.
ดู พ.ศ. 2496และพระครูวิมุติธรรมาภิรม (บุญส่วน ปริมุตฺโต)
พรเทพ เตชะไพบูลย์
นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย (สมัยแรก) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.
ดู พ.ศ. 2496และพรเทพ เตชะไพบูลย์
พลกฤษณ์ หงษ์ทอง
นายพลกฤษณ์ หงษ์ทอง เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย (ชวน 2) เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดพรรคกิจสังคม 2 สมัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคไทยรักไท.
ดู พ.ศ. 2496และพลกฤษณ์ หงษ์ทอง
พอล อัลเลน
อล การ์ดเนอร์ อัลเลน (Paul Gardner Allen) เกิดวันที่ 21 มกราคม..
พอล เอลเลริง
อล เอลเลริง (Paul Ellering) เป็นผู้จัดการมวยปล้ำอาชีพ, อดีตนักยกน้ำหนัก และนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ปัจจุบันทำงานกับWWEอยู่ค่ายNXT เขาใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเป็นผู้จัดการให้ทีมนักมวยปล้ำเดอะโรดวอร์ริเออส์ ตั้งแต่ปี 1983 ถึง 1990 และอีกครั้งระหว่างปี 1992 ถึง 1997 นอกเหนือจากการเป็นผู้จัดการหน้าจอแล้วเขายังจัดการงานของทีมนอกเวทีเช่นกัน รวมถึงการเจรจาสัญญาและการเตรียมการเดินทาง เขาและโรดวอร์ริเออส์ได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำปี 2011 ห้าปีต่อมาในเดือนมิถุนายนปี 2016 เขาได้กลับมาในNXT TakeOver: The End ในฐานะผู้จัดการของThe Authors of Pain ซึ่งเป็นทีมอธรรมที่เปิดตัวครั้งแรก.
พิมพา จันทร์ประสงค์
มพา จันทร์ประสงค์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และอดีตกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทย ต่อมาได้เป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัต.
ดู พ.ศ. 2496และพิมพา จันทร์ประสงค์
พิธีราชาภิเษก
น ดาร์ก'' (''Jeanne d'Arc'') พ.ศ. 2429-2433 โดยฌูลส์ เออแฌน เลอเนิปเวอ พิธีราชาภิเษก (coronation) เป็นเป็นพิธีการเพื่อสถาปนาพระมหากษัตริย์ และ/หรือ คู่อภิเษกซึ่งมีพระราชอำนาจ อย่างเป็นทางการ เกี่ยวข้องกับการวางมงกุฎบนพระเศียรของพระองค์หรือการนำเสนอเครื่องราชกกุธภัณฑ์รายการอื่น โดยพิธีการนี้อาจหมายรวมถึง การตรัสคำปฏิญาณพิเศษโดยกษัตริย์ การแสดงคารวะจากคนในบังคับ ของผู้ปกครองใหม่ และการแสดงพิธีกรรมอื่น ซึ่งมีความสำคัญพิเศษต่อชาตินั้น.
พิเชฐ พัฒนโชติ
นายพิเชฐ พัฒนโชติ อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตรองหัวหน้าพรรคการเมืองใหม.
พีรยศ ราฮิมมูลา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรยศ ราฮิมมูลา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) นักวิชาการด้านการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้.
ดู พ.ศ. 2496และพีรยศ ราฮิมมูลา
พงศ์ประยูร ราชอาภัย
งศ์ประยูร ราชอาภัย ชื่อเล่น พงศ์ เป็นนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงละครโทรทัศน์สังกัดช่อง 7 และเป็นอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.
ดู พ.ศ. 2496และพงศ์ประยูร ราชอาภัย
พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ
งษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักร้อง, นักดนตรีและกวีในแนวเพื่อชีวิต เจ้าของฉายา กวีศรีชาวไร่ เป็นสมาชิกคนหนึ่งของวงดนตรีเพื่อชีวิตคาราวาน ยุคเริ่มต้น รวมทั้งได้หนีเข้าป่าไปพร้อมกับคาราวาน และนักศึกษาในยุค 6 ตุลา พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ
พนิตา กำภู ณ อยุธยา
นิตา กำภู ณ อยุธยา (สกุลเดิม อุตตะโมต) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝ่ายข้าราชการประจำ และอดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และได้รับพระกรุณาธิคุณแต่งตั้งเป็นผู้แทนพระองค์ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ไปปฏิบัติภารกิจของมูลนิธิมิราเคิล ออฟ ไลฟ์ อยู่เสมอ.
ดู พ.ศ. 2496และพนิตา กำภู ณ อยุธยา
กริสตีนา เฟร์นันเดซ เด กีร์ชเนร์
กริสตีนา เอลิซาเบต เฟร์นันเดซ เด กีร์ชเนร์ (19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496) คืออดีตประธานาธิบดีของประเทศอาร์เจนตินา และภริยาอดีตประธานาธิบดีเนสตอร์ กีร์ชเนร์ เธอจบการศึกษานิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติ ลา ปลาตา และพบกับสามีของเธอที่นั่น เธอเป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง และเป็นประธานาธิบดีหญิงคนที่สองที่ได้รับตำแหน่ง.
ดู พ.ศ. 2496และกริสตีนา เฟร์นันเดซ เด กีร์ชเนร์
การปฏิวัติคิวบา
การปฏิวัติคิวบา (Revolución cubana) เป็นการปฏิวัติด้วยอาวุธโดยขบวนการ 26 กรกฎาคมของฟีเดล กัสโตรต่อรัฐบาลผู้เผด็จการคิวบา ฟุลเคนเซียว บาติสตา ระหว่าง..
ดู พ.ศ. 2496และการปฏิวัติคิวบา
ภิรมย์ อั๋นประเสริฐ
รมย์ อั๋นประเสริฐ (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 —) หรือ เปาอั๋น เป็นอดีตผู้ตัดสินฟุตบอลระดับนานาชาติชาวไทย และเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดในการตัดสินรอบชิงชนะเลิศ คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 1997 และการแข่งขันสองแมตช์ในฟุตบอลโลก 1998 ที่ประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานพัฒนาผู้ตัดสิน รวมทั้งได้รับการทาบทามจากวรวีร์ มะกูดี ให้รับหน้าที่เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนสอนผู้ตัดสิน.
ดู พ.ศ. 2496และภิรมย์ อั๋นประเสริฐ
ภูมิธรรม เวชยชัย
นายภูมิธรรม เวชยชัย เลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฎิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร และอดีตรองเลขาธิการพรรคไทยรักไท.
ดู พ.ศ. 2496และภูมิธรรม เวชยชัย
มะซะมิ คุรุมะดะ
มาซามิ คุรุมาดะ มาซามิ คุรุมาดะ เกิด 6 ธันวาคม พ.ศ. 2496 เป็นนักเขียนการ์ตูนชาวญี่ปุ่น เป็นที่รู้จักในฐานะผู้แต่งเรื่อง เซนต์เซย์ย่า จบการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร.
ดู พ.ศ. 2496และมะซะมิ คุรุมะดะ
มาลีรัตน์ แก้วก่า
นางมาลีรัตน์ แก้วก่า (เกิด 15 ตุลาคม พ.ศ. 2496) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนคร และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสกลนคร.
ดู พ.ศ. 2496และมาลีรัตน์ แก้วก่า
มานูเอล เปเลกรินิ
มานูเอล ลุยส์ เปเลกรินิ ริปามอนติ (Manuel Luis Pellegrini Ripamonti) เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน..
ดู พ.ศ. 2496และมานูเอล เปเลกรินิ
มุน แจ-อิน
มุน แจ-อิน (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2496) เป็นประธานาธิบดีเกาหลีใต้ เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคฝ่ายค้าน พรรคมินจู ตั้งแต่ปี..
ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์
อดเยี่ยม เทพธรานนท์ ยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ (27 เมษายน 2496 -) เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นสถาปนิกที่มีชื่อเสียงผู้หนึ่งในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นกรรมการอำนวยการของบริษัท Inter PAC ผู้ริเริ่มและพิธีกรปกิณกะทางโทรทัศน์ รายการ "หมอบ้าน" และรายการวิทยุ F.M.96.5 MHz รายการ "คุยกับหมอบ้าน" เป็นอาจารย์และนักเขียน เป็นครูอาสาสอนหนังสือหลากหลายสถาบัน และเขียนหนังสือทางวิชาการและปรัชญาไว้หลายเล่ม และเป็นนักกิจกรรมวิชาชีพที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วกัน เป็นน้องชายของ ศ.ดร.
ดู พ.ศ. 2496และยอดเยี่ยม เทพธรานนท์
ยอดเขาเอเวอเรสต์
อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.
ดู พ.ศ. 2496และยอดเขาเอเวอเรสต์
รสนา โตสิตระกูล
รสนา โตสิตระกูล นางสาวรสนา โตสิตระกูล (27 กันยายน พ.ศ. 2496 -) เป็นนักรณรงค์ด้านสุขภาพและสิทธิผู้บริโภค มีบทบาทสำคัญในการเปิดโปงขบวนการทุจริต กรณีการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ในกระทรวงสาธารณสุข เมื่อ พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และรสนา โตสิตระกูล
รอยัลไฮเนส
รอยัลไฮเนส (Royal Highness) หรือ รอยัลไฮนิส (/ˈhʌɪnɪs/) เป็นฐานันดรศักดิ์ของสมาชิกราชวงศ์บางชั้นในทวีปยุโรป มักใช้นำพระนามเจ้าชายหรือเจ้าหญิงที่เป็นพระราชบุตรในสมเด็จพระราชาธิบดีหรือสมเด็จพระราชินีนาถ ฐานันดรศักดิ์รอยัลไฮเนสมีศักดิ์ต่ำกว่า "อิมพีเรียลไฮเนส" แต่สูงกว่า "แกรนด์ดิวคัลไฮเนส", "ไฮเนส" และ "เซอรีนไฮเนส" เป็นต้น.
รัชนู บุญชูดวง
รัชนู บุญชูดวง เป็นนักแสดงหญิงชาวไท.
รัฐมิชิแกน
มืองดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน มิชิแกน (Michigan) เป็นรัฐตั้งอยู่บริเวณส่วนเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยชื่อของรัฐมาจาก ชื่อทะเลสาบมิชิแกน ซึ่งตั้งโดยชาวอินเดียนแดงเผ่าชิปเปวา จากคำว่า มิชิ-กามิ ซึ่งหมายถึง น้ำอันกว้างใหญ่ รัฐมิชิแกนห้อมล้อมด้วยทะเลสาบขนาดใหญ่ 4 ทะเลสาบในด้านเหนือ ด้านตะวันตกและด้านตะวันออก ทำให้รัฐมิชิแกนมีชายฝั่งทะเลน้ำจืดที่ยาวที่สุดอันดับสองในประเทศรองจากรัฐอะแลสกา ทำให้มิชิแกนมีกิจกรรมนันทนาการทางน้ำมากที่สุดอันดับต้นของประเทศ รัฐมิชิแกนเป็นรัฐเดียวในสหรัฐอเมริกาที่มีพื้นที่แยกออกจากกันเป็นสองฝั่ง โดยจุดเชื่อมระหว่างสองที่อยู่บริเวณ แมกคีนอก์ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของมิชิแกน รัฐมิชิแกนมีเมืองที่สำคัญคือ ดีทรอยต์ ฟลินต์ วอลเลน แกรนด์แรพิดส์ แมกคินอก์ แลนซิง และ แอนอาร์เบอร์ มหาวิทยาลัยที่สำคัญได้แก่ มหาวิทยาลัยมิชิแกน และมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต ทีมกีฬาที่สำคัญที่มีชื่อเสียงคือ ดีทรอยต์ ไลออนส์ ในปี 2551 มิชิแกนมีประชากร 10,071,822 คน.
รัฐเนวาดา
รัฐเนวาดา (Nevada) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา ประชากรในรัฐมีประมาณ 2,414,807 (พ.ศ. 2548) โดยเพิ่มขึ้นจาก 1,998,257 (พ.ศ.
รายนามนายกรัฐมนตรีไทย
้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู พ.ศ. 2496และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย
รางวัลโนเบล
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..
รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์
รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..
ดู พ.ศ. 2496และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม
รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..
ดู พ.ศ. 2496และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..
ดู พ.ศ. 2496และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
รางวัลโนเบลสาขาเคมี
หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..
ดู พ.ศ. 2496และรางวัลโนเบลสาขาเคมี
ริชาร์ด สตอลล์แมน
ริชาร์ด สตอลล์แทน ผู้พูดรับเชิญในงานวิกิเมเนีย ริชาร์ด แมธธิว สตอลล์แมน (Richard Matthew Stallman, RMS; เกิดเมื่อ 16 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้ก่อตั้ง โครงการกนู และ มูลนิธิซอฟต์แวร์เสรี ซอฟต์แวร์เสรีที่เขาได้เป็นผู้เริ่มเขียนตั้งแต่สมัยแรก ๆ ได้แก่ GNU Emacs, GNU C Compiler และ GNU Debugger ซึ่งปัจจุบันนี้ก็ยังนิยมใช้กันอยู่แพร่หลาย เขาผู้ริเริ่มแนวคิด Copyleft และเป็นผู้ร่าง "สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู" GNU General Public License (GPL) ขึ้นมา และสัญญานี้ได้กลายเป็นบรรทัดฐานของสัญญาอนุญาตให้งานซอฟต์แวร์เสรีจำนวนมาก ริชาร์ด สตอลล์แมน เข้ารับการศึกษาจากเอ็มไอที แต่ได้ลาออกขณะที่ศึกษาและย้ายมาทำงานที่ เอ็มไอทีแล็บ โดยทำหน้าที่พัฒนาโปรแกรม ในระหว่างที่ทำงาน เขามีความคิดอุดมคติที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการในระบบที่ใกล้เคียงกับระบบยูนิกซ์ ให้ใช้งานได้เสรีสำหรับทุกคน โดยได้ร่วมโครงการกับแฮกเกอร์หลายคน ซึ่งในขณะที่พัฒนาเคอร์เนลและยังไม่สำเร็จนั้น ได้พบว่า ลีนุส ทอร์วัลส์ นักศึกษามหาวิทยาลัยชาวฟินแลนด์ได้พัฒนาเคอร์เนล ลินุกซ์เป็นผลสำเร็จขึ้นในเวลาหกเดือน สตอลล์แมนจึงได้ติดต่อกับลีนุส และรับอาสาทำหน้าที่จัดการระบบสัญญาอนุญาตเสรี GPL ให้กับทางระบบลินุกซ.
ดู พ.ศ. 2496และริชาร์ด สตอลล์แมน
ริกกี สตีมโบต
ริชาร์ด เฮนรี บลัด (Richard Henry Blood) เกิดวันที่ 28 กุมภาพัน..
ลิมา
จัตุรัสกลางเมืองลิมา ลิมา เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศเปรู รวมทั้งของจังหวัดลิมา และยังเป็นศูนย์กลางการขนส่ง การเงิน อุตสาหกรรม และวัฒนธรรมของประเทศอีกด้วย ตั้งอยู่บริเวณที่ห้อมล้อมด้วยหุบเขาชียอง แม่น้ำรีมัก และแม่น้ำลูริง ริมชายฝั่งแห้งแล้งซึ่งอยู่ติดกับอ่าวในมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งมีท่าเรือที่สร้างขึ้นและตั้งชื่อว่า กายาโอ (Callao) ลิมาตั้งขึ้นโดยฟรันซิสโก ปีซาร์โร ผู้พิชิตชาวสเปน เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.
ลือชัย งามสม
ลือชัย งามสม หรือ ดุก คาราบาว เป็นมือคีย์บอร์ด ของวงคาราบาว เกิดเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 ที่จังหวัดชลบุรี ร่วมงานกับวงคาราบาวตั้งแต่อัลบั้ม วิชาแพะ ในปี พ.ศ.
วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด
ตราจารย์ ดร. วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด ศาสตราจารย์ วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด (15 กุมภาพันธ์ 2496 -) เกิดที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และพันธุวิศวกรรม เจ้าของรางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ประชุมสภาประธานอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ (ปอมท.) ประจำปี..
ดู พ.ศ. 2496และวัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด
วังชุก นัมเกล
วังชุก เทนซิง นัมเกล (ภาษาสิกขิม: དབང་ཕྱུག་བསྟན་འཛིན་རྣམ་རྒྱལ་; Wylie: dbang-phyug bstan-'dzin rnam-rgyal) (เกิด 1 เมษายน ค.ศ. 1953) เป็นลูกชายลำดับที่สองของ ปัลเดน โทนดัพ นัมเกล แห่งรัฐสิกขิม จบการศึกษาที่ แฮร์โร นอกจากนี้เขายังเป็นรัชทายาทสมมุคิแห่งราชวงศ์นัทเกล.
วาสิต พยัคฆบุตร
วาสิต พยัคฆบุตร (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 7 สมั..
ดู พ.ศ. 2496และวาสิต พยัคฆบุตร
วาซิลี โซโลมิน
วาสิลี อนาโตลเยวิช โซโลมิน (Vasily Anatolyevich Solomin; ภาษารัสเซีย: Василий Анатольевич Соломи) เกิดเมื่อ 5 มกราคม..
วิกรม กรมดิษฐ์
วิกรม กรมดิษฐ์ เป็นนักธุรกิจและนักเขียนชาวไทย ผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร (CEO) บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน เจ้าของโครงการนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่งในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นนักเขียนและใช้ชีวิตอย่างสงบที่ดงกุฎาคาร เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีม.
วิลาศ อรุณศรี
ลเอก วิลาศ อรุณศรี (บิ๊กอ้อ) เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ผู้อำนวยการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กรรมการ ในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559 อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่โฆษกรัฐบาลในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก อดีตผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายการข่าว พล.อ.วิลาศ เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 รุ่นเดียวกับพลเรือเอก พะจุณณ์ ตามประทีป และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.
วิธิต อุตสาหจิต
วิธิต อุตสาหจิต (Vithit Utsahajit) บรรณาธิการหนังสือการ์ตูนในเครือบรรลือสาส์น ผู้ก่อตั้งนิตยสารขายหัวเราะและมหาสนุก และผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง ผีหัวขาด เขายังเป็นผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์แอนิเมชั่นสามมิติเป็นผู้แรกในประเทศไทย มีผู้ให้สมญานามแก่เขาว่า “ราชาแห่งการ์ตูนไทย” ในยุคปัจจุบัน แฟนการ์ตูนบรรลือสาส์นรู้จักกันดีในนาม “.ก.วิติ๊ด”.
ดู พ.ศ. 2496และวิธิต อุตสาหจิต
วิทยา ผิวผ่อง
นายกองเอก วิทยา ผิวผ่อง สมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) อดีตกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ) อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้ได้รับพระบรมราชวโรกาสเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ ทุ่งมะขามหย่อง ตำบลบ้านใหม่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอ.
วิคเตอร์ เฮอร์มันส์
วิคเตอร์ เฮอร์มันส์ (Victor Hermans; 17 มีนาคม ค.ศ. 1953 —) เป็นอดีตนักฟุตซอลชาวดัตช์ ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้ฝึกสอนให้แก่นักกีฬาฟุตซอลทีมชาติไทย เขาเป็นผู้มีผลงานโดดเด่นจากการช่วยให้ฟุตซอลทีมชาติไทยได้ตำแหน่งรองแชมป์ของเอเชีย รวมถึงช่วยให้ทีมฟุตซอลไทยสามารถเข้าสู่รอบ 2 ในการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลกได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร.
ดู พ.ศ. 2496และวิคเตอร์ เฮอร์มันส์
วินสตัน เชอร์ชิล
ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.
ดู พ.ศ. 2496และวินสตัน เชอร์ชิล
วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี
ลตำรวจเอก วิเชียร์ พจน์โพธิ์ศรี อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม และอดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาต.
ดู พ.ศ. 2496และวิเชียร พจน์โพธิ์ศรี
ศรชัย เมฆวิเชียร
รชัย เมฆวิเชียร (11 มีนาคม พ.ศ. 2496 -) เป็นนักร้องลูกทุ่งชายเสียงดี และมีหน้าตาที่ดีเข้ามาเสริมความโด่งดัง รวมทั้งมีผลงานเพลงเป็นที่นิยมและรู้จักของแฟนเพลงมากมาย เขาเป็นศิษย์เอกอีกคนของครูฉลอง ภู่สว่าง และโด่งดังอย่างมากจากเพลง “ อ้อนจันทร์ และ “พายงัด “.
ดู พ.ศ. 2496และศรชัย เมฆวิเชียร
สมชัย ตรังเจริญงาม
มชัย ตรังเจริญงาม เกิดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน..
ดู พ.ศ. 2496และสมชัย ตรังเจริญงาม
สมชาย ศักดิกุล
มชาย ศักดิกุล (ชื่อเล่น: เล็ก เกิด พ.ศ. 2496) ศิลปิน นักแสดง และนักพากย์ เป็นศิลปินรุ่นก่อตั้งของ "วงเฉลียง" ร่วมกับ นิติพงษ์ ห่อนาค วัชระ ปานเอี่ยม และ ประภาส ชลศรานนท์ สมชาย จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเป็นนักดนตรีอาชีพ เคยเล่นดนตรีร่วมกับ ศรายุทธ สุปัญโญ อัญชลี จงคดีกิจ เคยออกเทปกับวง "เดอะบ๊องค์" วงดนตรีที่นำเอาทำนองเพลงฝรั่งมาใส่เนื้อไทยแบบกวนๆ เมื่อ พ.ศ.
สมมาตร ไพรหิรัญ
มมาตร ไพรหิรัญ (ชื่อเล่น:เปี๊ยก) เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2496 มีผลงานละครหลายเรื่อง และเคยเป็นพระเอกมิวสิควีดีโอเพลงทุกเพลงของ หยาด นภาลัย นักร้องเพลงลูกกรุงค่าย PGM สมรสกับ ปาริฉัตร ไพรหิรัญ มีลูกชายและลูกสาวด้วยกัน 2 คน คือ นายอธิปติ ไพรหิรัญ (ปลั๊ก) และคนที่สอง นางสาวฉัตตญา ไพรหิรัญ (เกิร์ล) ปัจจุบันยังคงรับงานละครและเป็นหนึ่งในผู้จัดละครของบริษัท สองห้าห้าแปด จำกัด ให้กับช่อง 3.
ดู พ.ศ. 2496และสมมาตร ไพรหิรัญ
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
นายแพทย์ สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นอดีตผู้ช่วยปลัดกระทรวงสาธารณสุข อดีตนักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 10.
ดู พ.ศ. 2496และสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์
รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.
ดู พ.ศ. 2496และสมคิด จาตุศรีพิทักษ์
สมเด็จพระราชินีซาบิกา บิน อิบบราฮิม อัลเคาะลีฟะฮ์
มเด็จพระราชินีซาบิกา บิน อิบบราฮิม อัลเคาะลีฟะฮ์แห่งบาห์เรน (Sabika bint Ibrahim Al Khalifa) เป็นพระอัครมเหสี ในสมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์พระมหากษัตริย์บาห์เรน และเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งบาห์เรน พระราชสมภพเมื่อปีพ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และสมเด็จพระราชินีซาบิกา บิน อิบบราฮิม อัลเคาะลีฟะฮ์
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..
ดู พ.ศ. 2496และสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
สหราชอาณาจักร
หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..
สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์
รองศาสตราจารย์ สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) อดีตคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ดู พ.ศ. 2496และสัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์
สันติ ตันสุหัช
นายสันติ ตันสุหัช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย ปัจจุบันเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อธรรม.
สามารถ ราชพลสิทธิ์
มารถ ราชพลสิทธิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ฝ่ายโยธาและจราจร หนึ่งในทีมบริหารกรุงเทพมหานครชุดเริ่มต้นของ นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และสามารถ ราชพลสิทธิ์
สายัณห์ สัญญา
ัณห์ สัญญา เป็นอดีตนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย มีน้ำเสียง ลีลา อันเป็นเอกลักษณ์ สายัณห์ สัญญา มีผลงานเพลงอันเป็นอมตะ ติดหูคนไทยมากมายหลายสิบเพลง มานานกว่า 3 ทศวรรษ.
สาธารณรัฐ
รณรัฐ (Republic) เป็นระบอบการปกครองที่ประเทศถูกพิจารณาว่าเป็น "กิจสาธารณะ" (res publica) มิใช่ธุระหรือทรัพย์สินส่วนตัวของผู้ปกครอง และที่ตำแหน่งหน้าที่ของรัฐได้รับเลือกตั้งโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือได้รับแต่งตั้ง มิใช่ได้รับทอด ในสมัยใหม่ นิยามทั่วไปที่เข้าใจง่ายของสาธารณรัฐ คือ ระบอบการปกครองที่ประมุขแห่งรัฐมิใช่พระมหากษัตริย์ ปัจจุบัน รัฐเอกราช 135 จาก 206 รัฐใช้คำว่า "สาธารณรัฐ" เป็นส่วนหนึ่งชื่ออย่างเป็นทางการ ทั้งสาธารณรัฐสมัยใหม่และสมัยโบราณแตกต่างกันอย่างมากทั้งในอุดมการณ์และองค์ประกอบ ในสมัยคลาสสิกและสมัยกลาง ต้นแบบของทุกสาธารณรัฐ คือ สาธารณรัฐโรมัน ซึ่งหมายถึงกรุงโรมในระหว่างสมัยที่มีพระมหากษัตริย์กับสมัยที่มีจักรพรรดิ ประเพณีการเมืองสมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีปัจจุบันที่เรียกว่า "มนุษยนิยมพลเมือง" (civic humanism) นั้น บางครั้งถูกมองว่าได้รับมาจากนักสาธารณรัฐนิยมโรมันโดยตรง อย่างไรก็ดี นักประพันธ์โรมันที่ได้รับอิทธิพลจากกรีก อย่างพอลิเบียสและคิเคโร บางครั้งใช้คำดังกล่าวเป็นคำแปลของคำภาษากรีกว่า politeia ซึ่งอาจหมายถึงระบอบโดยทั่วไป แต่ยังสามารถใช้กับระบอบบางประเภทโดยเจาะจงซึ่งมิได้สอดคล้องพอดีกับสาธารณรัฐโรมัน สาธารณรัฐมิได้เทียบเท่ากับประชาธิปไตยคลาสสิก เช่น เอเธนส์ แต่มีลักษณะความเป็นประชาธิปไตย ในสาธารณรัฐสมัยใหม่ เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย และอินเดีย ฝ่ายบริหารมีความชอบธรรมจากทั้งโดยรัฐธรรมนูญและการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชน มงแต็สกีเยอรวมประชาธิปไตยทั้งสองแบบ ซึ่งประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการปกครอง และอภิชนาธิปไตยหรือคณาธิปไตย ซึ่งมีคนเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ปกครอง เป็นระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ส่วนใหญ่สาธารณรัฐมักเป็นรัฐเอกราช แต่ยังมีหน่วยต่ำกว่ารัฐที่เรียกว่า สาธารณรัฐ หรือมีการปกครองที่ถูกอธิบายว่า "เป็นสาธารณรัฐ" โดยธรรมชาติเช่นกัน ตัวอย่างเช่น มาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา "ประกันว่าทุกรัฐในสหภาพนี้มีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ" เขตการปกครองของสหภาพโซเวียตถูกอธิบายว่าเป็นสาธารณรัฐ และสองในนั้น คือ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและเบลารุส มีที่นั่งของตนในสหประชาชาติ ขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตอธิบายสหภาพว่าเป็น "รัฐเดี่ยว สหพันธ์และพหุชาติ" ที่จริงแล้วเป็นรัฐเดี่ยวเพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตใช้อำนาจในรูปรวมศูนย์เหนือสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตซึ่งปกครองตนเองแต่ในนาม.
สานันท์ สุพรรณชนะบุรี
นายสานันท์ สุพรรณชนะบุรี (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2496) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง 2 สมั.
ดู พ.ศ. 2496และสานันท์ สุพรรณชนะบุรี
สุกิจ อัถโถปกรณ์
นายแพทย์ สุกิจ อัถโถปกรณ์ (เกิด 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 3 สมั.
ดู พ.ศ. 2496และสุกิจ อัถโถปกรณ์
สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
รชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คนที่ 1 เป็นกรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560 เป็นอดีตรักษาการประธานวุฒิสภา อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา เป็นนักกฎหมายและเนติบัณฑิตไท.
ดู พ.ศ. 2496และสุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
รพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย อดีตประธานกรรมาธิการการคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผู้แทนราษฎร อดีตประธานที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และอดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.
ดู พ.ศ. 2496และสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์
ลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ รองเลขาธิการประจำผู้ดำรงตำแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ อดีตเป็นที่ปรึกษาพิเศษกองทัพเรือ และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ สืบต่อจาก พล.ร.อ.กำธร พุ่มหิรัญ ที่เกษียณอายุราชการ ในเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และสุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์
สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์
นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ เขต 5 และประธานคณะกรรมาธิการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์
สุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ
นายสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตเลขานุการศูนย์บัญชาการติดตามสถานการณ์ ประธานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการและประธานกรรมการคณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 159/2557ประธานคณะกรรมการประสานงาน รวม 3 ฝ่าย (คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ) ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 336/2558ประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติประธานกรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นอดีตผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นกรรมการในศูนย์รักษาความสงบแห่งชาติ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.
ดู พ.ศ. 2496และสุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะ
สุธรรม แสงประทุม
รรม แสงประทุม อดีตประธานกรรมการบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน), อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กับอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร สมัยที่ 1, ผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไทย และอดีตเลขาธิการศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไท.
ดู พ.ศ. 2496และสุธรรม แสงประทุม
สุขุมพงศ์ โง่นคำ
นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ในรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการปฏิรูปกฎหมาย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายสมชาย วงศ์สวั.
ดู พ.ศ. 2496และสุขุมพงศ์ โง่นคำ
สี จิ้นผิง
ี จิ้นผิง (เกิด 15 มิถุนายน 2496) เป็นนักการเมืองจีน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์จีน ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีนและประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง บางทีเรียก "ผู้นำสูงสุด" ของจีน ในปี 2559 พรรคให้ตำแหน่งเขาเป็นผู้นำ "แกนกลาง" ในฐานะเลขาธิการ สีเป็นคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาคณะกรรมการบริหารสูงสุดของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ซึ่งเป็นองค์กรวินิจฉัยสั่งการสูงสุดของจีน ในปี 2496 สี จิ้นผิง ได้เกิดตามสถิติโบราณ(2498) ที่บันทึกไว้ว่าเมืองฉางอาน เคยเป็นที่ประทับของฮ้องเต้ 98 องค์ ในขณะเดียวกันนั้น สี จิ้นผิงได้ขึ้นรับตำแหน่งประธานาธิบดีจีน ซึ่งสี จิ้นผิงได้เกิด ณ เมืองนี้ เพราะฉะนั้นคนจีนจึงถือกันว่าสี จิ้นผิง เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 99 แห่งเมืองฉางอานตามสถิติโบราณ สี จิ้นผิงเป็นเลขาธิการคนแรกที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นบุตรของทหารผ่านศึกคอมมิวนิสต์จีน สี จงชุน สีขยับตำแหน่งทางการเมืองในมณฑลฝั่งทะเลของจีน สีเป็นผู้ว่าการมณฑลฝูเจี้ยนตั้งแต่ปี 2542 ถึง 2545 และผู้ว่าการ ซึ่งขณะนั้นเป็นตำแหน่งเลขาธิการพรรคของมณฑลเจ้อเจียงตั้งแต่ปี 2545 ถึง 2550 หลังการปลดเฉิน เหลียงยฺหวี่ สีถูกโอนไปเซี่ยงไฮ้เป็นเลขาธิการพรรคช่วงสั้น ๆ ในปี 2550 สีเข้าร่วมคณะกรรมาธิการสามัญประจำสภาคณะกรรมการบริหารสูงสุดและสำนักเลขาธิการกลางในเดือนตุลาคม 2550 ใช้เวลาอีกห้าปีเป็นผู้สืบทอดของหู จิ่นเทา สีเป็นรองประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2556 และรองประธานคณะกรรมการกลางทหารส่วนกลางตั้งแต่ปี 2553 ถึง 2555 หลังเถลิงอำนาจ สีริเริ่มมาตรการกว้างขวางเพื่อใช้บังคับวินัยของพรรคและรับประกันเอกภาพภายใน การรณรงค์ปราบการฉ้อราษฎร์บังหลวงอันเป็นสัญลักษณ์ของเขานำสู่การหมดอำนาจของข้าราชการทั้งปัจจุบันและเกษียณแล้วคนสำคัญหลายคน สีเพิ่มการจำกัดสังคมพลเมืองและวจนิพนธ์อุดมการณ์ ส่งเสริมการตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ตในประเทศจีนตามมโนทัศน์ "เอกราชอินเทอร์เน็ต" สีเรียกร้องให้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจแบบตลาดเพิ่ม การปกครองตามกฎหมายและเสริมสร้างสถาบันกฎหมาย โดยเน้นความทะเยอทะยานปัจเจกบุคลและชาติภายใต้คำขวัญ "ฝันจีน" สียังเป็นผู้นำนโยบายต่างประเทศที่กำเริบเสิบสานมากขึ้น โดยเฉพาะกับความสัมพันธ์จีน–ญี่ปุ่น การอ้างสิทธิ์ของจีนในทะเลจีนใต้ และบทบาทในการเป็นผู้นำการค้าเสรีและโลกาภิวัฒน์ เขายังมุ่งขยายอิทธิพลในยูเรเชียของจีนผ่านการริเริ่มหนึ่งเข็มขัดหนึ่งถนน เขาถือเป็นบุคคลศูนย์กลางของผู้นำรุ่นที่ห้าของสาธารณรัฐประชาชน สีรวบอำนาจสถาบันมากขึ้นโดยดำรงตำแหน่งผู้นำหลายตำแหน่ง รวมทั้งประธานคณะกรรมการความมั่นคงแห่งชาติที่ตั้งใหม่ ตลอดจนคณะกรรมการขับเคลื่อนใหม่ว่าด้วยการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม การจัดโครงสร้างกองทัพใหม่ และอินเทอร์เน็ต ความคิดทางการเมืองของสีถูกเขียนอยู่ในธรรมนูญของพรรค และมีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อเลิกข้อจำกัดวาระของประธานาธิบดี สีมีการสร้างลัทธิบูชาบุคคลรอบตัวเขา "โดยมีหนังสือ การ์ตูน เพลงป๊อบ และกระทั่งท่าเต้น".
สงครามเกาหลี
งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.
สตีฟ แบนนอน
สตีเฟน เควิน "สตีฟ" แบนนอน (Stephen Kevin "Steve" Bannon, เกิด 27 พฤศจิกายน 2496) เป็นนักกิจกรรมการเมืองและนักธุรกิจชาวอเมริกัน ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยประธานาธิบดีและหัวหน้านักยุทธศาสตร์ในรัฐบาลดอนัลด์ ทรัมป์ ในความสามารถนี้ ตั้งแต่วันที่ 28 มกราคม 2560 เขาเป็นผู้เข้าร่วมประชุมสม่ำเสมอซึ่งคณะกรรมการหลักของสภาความมั่นคงแห่งชาติ ก่อนดำรงตำแหน่งในทำเนียบขาว แบนนอนเป็นประธานบริหารของการรณรงค์ประธานาธิบดีปี 2559 ของทรัมป์ ก่อนหน้าอาชีพการเมืองของเขา แบนนอนเป็นประธานบริหารของแบรบาร์ตนิวส์ เว็บไซต์ข่าว ความเห็นและบทวิจารณ์ขวาจัด ซึ่งแบนนอนอธิบายในปี 2559 ว่าเป็น "เวทีสำหรับแอลท์ไรต์" แบนนอนลาหยุดจากแบรบาร์ตเพื่อมาทำงานให้การรณรงค์ หลังการเลือกตั้ง เขาประกาศว่าจะลาออกจากแบรบาร์ต หมวดหมู่:ชาวอเมริกัน.
สนามมวยเวทีลุมพินี
นามมวยเวทีลุมพินี สนามมวยเวทีลุมพินี (Lumpinee Boxing Stadium) เป็นสนามมวยมาตรฐานของประเทศไทย เทียบเท่ากับสนามมวยราชดำเนิน เดิมนั้นตั้งอยู่ ณ ถนนพระรามที่ 4 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ติดกับโรงเรียนเตรียมทหาร (เดิม) ปัจจุบันตั้งอยู่ในพื้นที่ของศูนย์พัฒนากีฬากองทัพบก ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน.
ดู พ.ศ. 2496และสนามมวยเวทีลุมพินี
หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล
หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคไทยรักไท.
ดู พ.ศ. 2496และหม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล
หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช
หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าฯกรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย และหม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา (ไกยานนท์) ประสูติแด่ หม่อมแพเมลา สมี จุฑาธุช ณ อยุธยา(Pamela Smee, สมรส 10 มิถุนายน 2493) ชาวอังกฤษ หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม..
ดู พ.ศ. 2496และหม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช
หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล
หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล หรือที่นิยมเรียกกันว่า หม่อมน้อย (แท้จริงแล้วต้องเรียกว่า คุณน้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล
หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์
หม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) หรือนามปากกาที่รู้จักกัน คือ หมึกแดง เป็นผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหาร โดยเฉพาะอาหารไทย ปัจจุบันเป็นเจ้าของภัตตาคาร กรรมการผู้จัดการ ผู้ดำเนินรายการทางโทรทัศน์ ที่ปรึกษาทางด้านอาหาร คอลัมนิสต์ และวิทยากร.
ดู พ.ศ. 2496และหม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์
หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล
หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล (23 ตุลาคม พ.ศ. 2496) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 26 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู พ.ศ. 2496และหม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคล
อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ประธานกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐรองประธานกรรมการในคณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตกรรมการธนาคารไทยพาณิชย์กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยพะเยาประธานกรรมการคณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา4 ตรี พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3)..
ดู พ.ศ. 2496และอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์
อับดุลอะซีซ อัลฮะกีม
อับดุลอะซีซ อัลฮะกีม ซัยยิด อับดุลอะซีซ อัลฮะกีม เกิดในปี..
ดู พ.ศ. 2496และอับดุลอะซีซ อัลฮะกีม
อัลแบร์โต ซักเกโรนี
อัลแบร์โต ซักเกโรนี (Alberto Zaccheroni) เป็นผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวอิตาลีของทีมชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีชื่อเสียงจากการคุมสโมสรชั้นนำในเซเรียอา และคว้าแชมป์ลีกกับเอซี มิลาน ในปี..
ดู พ.ศ. 2496และอัลแบร์โต ซักเกโรนี
อันเดรอา ฟอน ฮับส์บูร์ก
อาร์คดัชเชสแอนเดรียแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: แอนเดรีย มาเรีย ฟอน ฮับส์บูร์ด-โลทรินเธน; Andrea Maria von Habsburg-Lothringen) ทรงเป็นอาร์คดัชเชสแห่งออสเตรียและเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี เป็นพระราชธิดาองค์โตในออตโต มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย และเจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน ประสูติเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และอันเดรอา ฟอน ฮับส์บูร์ก
อาวุธนิวเคลียร์
ญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2488 ปลายสงครามโลกครั้งที่สอง อาวุธนิวเคลียร์ เป็นวัตถุระเบิดซึ่งมีอำนาจทำลายล้างมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ไม่ว่าจะเป็นปฏิกิริยาฟิชชัน(atomic bomb)อย่างเดียว หรือ ฟิชชันและฟิวชัน(hydrogen bomb)รวมกัน ปฏิกิริยาทั้งสองปลดปล่อยพลังงานปริมาณมหาศาลจากสสารปริมาณค่อนข้างน้อย การทดสอบระเบิดฟิชชัน ("อะตอม") ลูกแรกปลดปล่อยพลังงานออกมาเทียบเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 20,000 ตัน การทดสอบระเบิดเทอร์โมนิวเคลียร์ ("ระเบิดไฮโดรเจน") ลูกแรก ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่ากับทีเอ็นทีประมาณ 10,000,000 ตัน อาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์สมัยใหม่ที่หนักกว่า 1,100 กิโลกรัมเล็กน้อย สามารถก่อให้เกิดแรงระเบิดเทียบเท่ากับการจุดจามทีเอ็นทีมากกว่า 1.2 ล้านตัน ดังนั้น กระทั่งวัตถุนิวเคลียร์ลูกเล็กๆ ที่ขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าระเบิดธรรมดา สามารถทำลายล้างนครทั้งนครได้ ด้วยแรงระเบิด ไฟและกัมมันตรังสี อาวุธนิวเคลียร์ถูกพิจารณาว่าเป็นอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง และการใช้และควบคุมอาวุธนิวเคลียร์ได้กลายเป็นจุดสนใจสำคัญของนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศนับแต่ถือกำเนิดขึ้น มีอาวุธนิวเคลียร์เพียงสองชิ้นเท่านั้นที่เคยใช้ตลอดห้วงการสงคราม ทั้งสองครั้งโดยสหรัฐอเมริกายามสงครามโลกครั้งที่สองใกล้ยุติ วันที่ 6 สิงหาคม..
ดู พ.ศ. 2496และอาวุธนิวเคลียร์
อาหมัด ชาห์ มาซูด
วาดอาหมัด ชาห์ มาซูด อาหมัด ชาห์ มาซูด (احمد شاه مسعود; Ahmad Shah Massoud; 2 กันยายน ค.ศ. 1953 - 9 กันยายน ค.ศ. 2001) อดีตนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยคาบูล เป็นผู้บัญชาการรบของมูจาฮีดีน ผู้นำทหารเข้าต่อต้านการบุกรุกรานอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียต ต่อมาได้เป็นผู้นำแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน มีฉายาว่า "ราชสีห์แห่งปัญจศิระ" (Lion of Panjshir) อาหมัด ชาห์ มาซูด เกิดที่เมือง Jangalak รัฐ Panjsher ประเทศอัฟกานิสถาน ในโอกาสครบรอบ 60 ปี ของนิตยสารไทม์ เขาได้ถูกคัดเลือกให้เป็นเป็นหนึ่งในบุคคลที่มีสร้างผลงานและคุณประโยชน์ต่อประเทศและมนุษยชาติในกลุ่มของ "ผู้สร้างชาติ" ที่เด่นที่สุดในเอเซีย อีกด้วย อาหมัด ชาห์ มาซูด เสียชีวิตจากการลอบสังหารเมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และอาหมัด ชาห์ มาซูด
อำนาจ ชนะวงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อำนาจ ชนะวงศ์ เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมั.
อิเลน เชา
อิเลน หลาน เชา (Elaine Lan Chao;; เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันเชื้อสายจีน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมสหรัฐ คนที่ 18 สังกัดพรรคริพับลิกัน.
อุดม อริยอุดมโรจน์
อุดม อริยอุดมโรจน์(อรย) หรือนามแฝงว่า อุดม อุดมโรจน์ (27 มิถุนายน พ.ศ. 2496-11 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย มีผลงานเด่นจากเรื่อง "ปุกปุย".
ดู พ.ศ. 2496และอุดม อริยอุดมโรจน์
อเมริกัน
อเมริกัน อาจหมายถึง.
ฮัลค์ โฮแกน
ทอร์รี จีน โบลเลีย (Terry Gene Bollea) หรือที่รู้จักกันอย่างดีในชื่อว่า ฮัลค์ โฮแกน (Hulk Hogan) เกิดวันที่ 11 สิงหาคม..
ฮันซี โจคมันน์
ันซี โจคมันน์ (เกิด 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953) เป็นนักแสดงหญิงชาวเยอรมัน โดยฮันซีเล่นภาพยนตร์มากถึง 70 เรื่อง ตั้งแต่ปี..
ฮิโตะชิ อิชิงะกิ
ตะชิ อิชิงะกิ (Hitoshi Ishigaki; ภาษาญี่ปุ่น: 石垣 仁) เกิดเมื่อ 25 กันยายน..
ดู พ.ศ. 2496และฮิโตะชิ อิชิงะกิ
ฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีด
อาริสตีดพบปะกับบิล คลินตันที่ทำเนียบขาว ในปี 1994 ฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีด (Jean-Bertrand Aristide) เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..
ดู พ.ศ. 2496และฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีด
จรัส สุวรรณมาลา
ตราจารย์ จรัส สุวรรณมาลา (เกิดเมื่อ 21 กันยายน พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ชาวไทย เป็นอดีตสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และจรัส สุวรรณมาลา
จรัสพงษ์ สุรัสวดี
รัสพงษ์ สุรัสวดี หรือ ซูโม่ตู้ (4 มีนาคม พ.ศ. 2496-) เกิดที่จังหวัดนครราชสีมา จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคนที่มีความสามารถหลากหลายทั้งเป็นนักแสดง เขียนบทโทรทัศน์ กำกับ และการทอร์คโชว์ เป็นหนึ่งในทีมงานรายการ เพชฌฆาตความเครียด และตลกกลุ่มซูโม่สำอางในอดีต ในช่วงหลังมา ซูโม่ตู้ มักมีบทบาทในการวิจารณ์การเมืองไทยทั้งในรายการและบทสัมภาษณ์ตามนิตยสารต่างๆ ด้วยสไตล์ประชดประชัน เสียดสี และแดกดันอยู่บ่อยครั้ง รวมไปถึงเปิดการแสดงทอร์กโชว์เกี่ยวกับการเมืองอย่างเต็มรูปแ.
ดู พ.ศ. 2496และจรัสพงษ์ สุรัสวดี
จอร์จ มาร์แชลล์
อร์จ มาร์แชลล์ ผู้วางแผนฟื้นฟูยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จอร์จ แคตเลตต์ มาร์แชลล์ (George Catlett Marshall – 31 ธันวาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และจอร์จ มาร์แชลล์
จอห์น มัลโควิช
อห์น เกวิน มัลโควิช (John Gavin Malkovich) เกิดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..
จอห์น โมลเดอร์-บราวน์
อห์น โมลเดอร์-บราวน์ (เกิด 3 มิถุนายน ค.ศ. 1953) เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ.
ดู พ.ศ. 2496และจอห์น โมลเดอร์-บราวน์
จอห์น โรเบิร์ตสัน (นักฟุตบอล เกิด พ.ศ. 2496)
อห์น นีลสัน โรเบิร์ตสัน (John Neilson Robertson; เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2496) อดีตนักฟุตบอลชาวสกอตแลนด์ในตำแหน่ง ปีกซ้าย เป็นที่รู้จักจากการเป็นผู้ทำประตูชัยให้กับ นอตทิงแฮมฟอเรสต์ เอาชนะ ฮัมบูร์ก ไปได้ 1 — 0 จนสามารถคว้าแชมป์ ยูโรเปียน คัพ ได้เป็นสมัยที่ 2 เมื่อ..
ดู พ.ศ. 2496และจอห์น โรเบิร์ตสัน (นักฟุตบอล เกิด พ.ศ. 2496)
จังหวัดอาเจะฮ์
อาเจะฮ์ (Aceh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของเกาะสุมาตร.
จารกรรม
รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ.
จีน อับดุลละห์
ตน จีน อับดุลละห์ (สกุลเดิม: ดันเกอร์; เกิด: 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) เป็นภรรยาคนที่สองของอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซีย อับดุลละห์ อะห์มัด บาดาวี ซึ่งได้ทำการสมรสใหม่ หลังจากภรรยาคนแรกของเขาได้เสียชีวิตไปก่อนหน้านี้.
ธีรวัฒน์ ธีรโรจน์วิทย์
ีรวัฒน์ ธีรโรจน์วิทย์ (เกิด 11 มกราคม พ.ศ. 2496) เคยเป็นผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) สืบค้นวันที่ 15 มิถุนายน..
ดู พ.ศ. 2496และธีรวัฒน์ ธีรโรจน์วิทย์
ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร
นะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฝ่ายความมั่นคง กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ประธานกรรมการในคณะกรรมการพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์แห่งชาติ และเป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ซึ่งได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งสืบต่อจาก พล.อ.
ดู พ.ศ. 2496และธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร
ถวิล เปลี่ยนศรี
วิล เปลี่ยนศรี (5 ธันวาคม พ.ศ. 2496 -) อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่ปรึกษาส่วนตัวด้านความมั่นคงของพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณกรรมการในคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาต่างประเทศและความมั่นคงของประเทศในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61 ภายหลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และถวิล เปลี่ยนศรี
ถั่วแระ เชิญยิ้ม
ั่วแระ เชิญยิ้ม ชื่อจริงว่า ศรสุทธา กลั่นมาลี เกิดวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2496 เป็นนักแสดงตลกชาวไทย มีลักษณะเด่นคือไว้หนวดเครา และโพกผ้าคาดศีรษะ มุกตลกประจำตัวคือมุกปากเหม็น มีบทบาทเด่นในการนำเชียร์กีฬาให้กับทีมไทยในการแข่งขันกีฬาระดับชาติหรือระดับโลก ปัจจุบันมีกิจการร้านอาหาร "ครัวถั่วแระ".
ดู พ.ศ. 2496และถั่วแระ เชิญยิ้ม
ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ทวีศักดิ์ กออนันตกูล (24 สิงหาคม พ.ศ. 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของสมาคมผู้ประกอบการระบบรักษาความปลอดภัยไทย กรรมการอิสระและกรรมการบริหารธนาคารไทยพาณิชย์เขาดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..
ดู พ.ศ. 2496และทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ทศพร สิทธิวัจน์
ทศพร สิทธิวัจน์ หรือ มาสเตอร์ทอดดี้ (Master Toddy) เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทย โปรโมเตอร์มวยไทยระดับโลก และยังแสดงและออกแบบท่าศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ในภาพยนตร์ เขายังเป็นผู้สอนนำในรายการเรียลลิตี้ช่องออกซิเจน ที่ชื่อ Fight Girls เขาเป็นศิษย์ช่างกลปทุมวัน รุ่น 42 เขาเดินทางไปเปิดค่ายมวยที่ประเทศอังกฤษเมื่อปี..
ดู พ.ศ. 2496และทศพร สิทธิวัจน์
ทอร์นาโด
ทอร์นาโดที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา ทอร์นาโด หรือ ทอร์เนโด (tornado) หรือ ลมงวง (ช้าง) เป็นพายุที่เกิดจากการหมุนของอากาศ สามารถเกิดขึ้นได้ในหลายลักษณะ โดยลักษณะที่พบได้บ่อยที่สุดคือลักษณะรูปทรงกรวย โดยส่วนปลายโคนชี้ลงที่พื้น ทอร์นาโดสามารถก่อพลังทำลายได้สูง โดยความเร็วลมสามารถสูงมากถึง 500 กม/ชม (300 ไมล์/ชม) ซึ่งก่อให้เกิดการพังทลายของสิ่งก่อสร้างได้ ถึงแม้ว่าทอร์นาโดส่วนใหญ่เกิดในสหรัฐอเมริกา ทอร์นาโดยังสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกทวีปและในหลายประเทศ อาทิเช่น ประเทศญี่ปุ่นมีการเกิดประมาณปีละ 20 ครั้ง.
ทองสุข สัมปหังสิต
ทองสุข สัมปหังสิต (เกิด 3 เมษายน พ.ศ. 2496) อดีตผู้ฝึกสอนทีมการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และยังเคยคุมทีมชาติไทยชุดอายุไม่เกิน 23ปี ในซีเกมส์ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และทองสุข สัมปหังสิต
ทะสึมิ ฟุจินะมิ
ทะสึมิ ฟุจินะมิ เกิดวันที่ 28 ธันวาคม..
ดู พ.ศ. 2496และทะสึมิ ฟุจินะมิ
ทิพย์สุดา ปทุมานนท์
รศ.ดร.ทิพย์สุดา ปทุมานนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิพย์สุดา ปทุมานนท์ (2496 -) อาจารย์สังกัดภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเขียนหนังสือด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์หลายเล่ม ได้รับเลือกเป็น "อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติของ ปอมท.
ดู พ.ศ. 2496และทิพย์สุดา ปทุมานนท์
ทิม อัลเลน
ทิม อัลเลน (Tim Allen) เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน..
ทีโท ซานตานา
มอร์เซด โซลิส (Merced Solis) เกิดวันที่ 10 พฤษภาคม..
ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน เกิดเมื่อปี..
ดู พ.ศ. 2496และทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธิน
ขุนพลน้อย เกียรติสุริยา
นพลน้อย เกียรติสุริยาหรือ นายธวัชชัย ประสาทศิลป์ เกิดเมื่อ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2496 ที่ จังหวัดปัตตานี เป็นนักมวยไทยที่มีชื่อเสียงโด่งดังคนหนึ่งในช่วง..
ดู พ.ศ. 2496และขุนพลน้อย เกียรติสุริยา
ณรงค์ พิพัฒนาศัย
ลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย อดีตรองนายกรัฐมนตรี กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง ประธานคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประธานกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติประธานกรรมการประสานและกำกับการดำเนินงาน ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ประธานกรรมการในคณะกรรมการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์ ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 401/2558 และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาประธานกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติและรองหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและ อดีต ผู้บัญชาการทหารเรือ ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารเรือสืบต่อจาก พล.ร.อ.สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ ที่เกษียณอายุราชการในเดือนตุลาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และณรงค์ พิพัฒนาศัย
ณรงค์เลิศ สุรพล
นายณรงค์เลิศ สุรพล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น พรรคกิจสังคม.
ดู พ.ศ. 2496และณรงค์เลิศ สุรพล
ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
ณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตรองเลขาธิการพรรคชาติไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุพรรณบุรี.
ดู พ.ศ. 2496และณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
ดอมีนิก เดอ วีลแป็ง
ดอมีนิก มารี ฟร็องซัว เรอเน กาลูโซ เดอ วีลแป็ง (Dominique Marie François René Galouzeau de Villepin, 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 —) อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และดอมีนิก เดอ วีลแป็ง
ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ
ลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ (เกิด 8 กันยายน พ.ศ. 2496) เป็นองคมนตรีประธานกรรมการในคณะกรรมการมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม กรรมการสภาราชวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตประธานกรรมการคุรุสภา อดีตรองประธานกรรมการในคณะกรรมการกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ กรรมการในคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตที่ปรึกษาและอดีตเลขานุการคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรองผู้บัญชาการทหารบกอดีตประธานคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย อดีตเลขาธิการสมาคมว่ายน้ำแห่งประเทศไทย และอดีตเสนาธิการทหารบก เป็นหนึ่งในนายทหารที่ ควบคุมการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ
ดิเรก อมาตยกุล
รก อมาตยกุล เป็นนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงช่วงปี..
ดีน ออร์นิช
ีน ออร์น.
ดีเอ็นเอ
กลียวคู่ดีเอ็นเอ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (deoxyribonucleic acid) หรือย่อเป็น ดีเอ็นเอ เป็นกรดนิวคลีอิกที่มีคำสั่งพันธุกรรมซึ่งถูกใช้ในพัฒนาการและการทำหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดเท่าที่ทราบ (ยกเว้นอาร์เอ็นเอไวรัส) ส่วนของดีเอ็นเอซึ่งบรรจุข้อมูลพันธุกรรมนี้เรียกว่า ยีน ทำนองเดียวกัน ลำดับดีเอ็นเออื่น ๆ มีความมุ่งหมายด้านโครงสร้าง หรือเกี่ยวข้องกับการควบคุมการใช้ข้อมูลพันธุกรรมนี้ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอและโปรตีนเป็นหนึ่งในสามมหโมเลกุลหลักที่สำคัญในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ทราบ ดีเอ็นเอประกอบด้วยพอลิเมอร์สองสายยาวประกอบจากหน่วยย่อย เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ โดยมีแกนกลางเป็นน้ำตาลและหมู่ฟอสเฟตเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเอสเทอร์ ทั้งสองสายนี้จัดเรียงในทิศทางตรงกันข้าม จึงเป็น antiparallel น้ำตาลแต่ละตัวมีโมเลกุลหนึ่งในสี่ชนิดเกาะอยู่ คือ นิวคลีโอเบส หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เบส ลำดับของนิวคลีโอเบสทั้งสี่ชนิดนี้ตามแกนกลางที่เข้ารหัสข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลนี้อ่านโดยใช้รหัสพันธุกรรม ซึ่งกำหนดลำดับของกรดอะมิโนในโปรตีน รหัสนี้ถูกอ่านโดยการคัดลอกดีเอ็นเอเป็นกรดนิวคลีอิกอาร์เอ็นเอที่เกี่ยวข้องในขบวนการที่เรียกว่า การถอดรหัส ดีเอ็นเอภายในเซลล์มีการจัดระเบียบเป็นโครงสร้างยาว เรียกว่า โครโมโซม ระหว่างการแบ่งเซลล์ โครโมโซมเหล่านี้ถูกคัดลอกในขบวนการการถ่ายแบบดีเอ็นเอ ทำให้แต่ละเซลล์มีชุดโครโมโซมที่สมบูรณ์ของตัวเอง สิ่งมีชีวิตยูคาริโอต (สัตว์ พืช ฟังไจและโพรทิสต์) เก็บดีเอ็นเอส่วนมากไว้ในนิวเคลียส และดีเอ็นเอบางส่วนอยู่ในออร์แกเนลล์ เช่น ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์ ในทางตรงข้าม โปรคาริโอต (แบคทีเรียและอาร์เคีย) เก็บดีเอ็นเอไว้เฉพาะในไซโทพลาสซึม ในโครโมโซม โปรตีนโครมาติน เช่น ฮิสโตนบีบอัดและจัดรูปแบบของดีเอ็นเอ โครงสร้างบีบอัดเหล่านี้นำอันตรกิริยาระหว่างดีเอ็นเอกับโปรตีนอื่น ช่วยควบคุมส่วนของดีเอ็นเอที่จะถูกถอดรหั.
ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์
วต์ เดวิด ไอก์ ไอเซนฮาวร์ (Dwight David "Ike" Eisenhower; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1890 - 28 มีนาคม ค.ศ. 1969) เป็นทหารและนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา (ค.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์
คิม ซุงจุน
ม ซุงจุน (Sung Jun Kim; ภาษาเกาหลี,ฮันกึล: 김성준, ฮันจา: 金性俊) นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ เกิดเมื่อ 3 มิถุนายน..
คิม เบซิงเงอร์
คิมิลา แอน "คิม" เบซิงเงอร์ (Kimila Ann "Kim" Basinger) (ออกเสียงนามสกุลว่า /ˈbeɪsɪŋɚ/ bay-sing-er, มักออกเสียงผิดว่า /ˈbæsɪndʒɚ/bass-in-jer; เกิด 8 ธันวาคม ค.ศ.
คิทาโร
ทาโร เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1953 มีชื่อจริงว่า มะซะโนริ ทะคะฮะชิ (高橋正則) ในเมืองโทะโยะฮะชิ จังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุ่น ในครอบครัวชาวนาที่เลื่อมใสในลัทธิชินโต คิทาโรเป็นนักดนตรีและนักประพันธ์ดนตรีแบบนิวเอจ ที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ (ซินทีไซเซอร์) ในการสร้างผลงาน สำหรับนามแฝง "คิทาโร" (Kitaro) นั้นเพื่อนๆ ตั้งให้ในภายหลัง ตามตัวละครตัวหนึ่งในภาพยนตร์การ์ตูนคิทาโรทางโทรทัศน์ของญี่ปุ่น คิทาโรเป็นนักดนตรีที่เรียนดนตรีด้วยตัวเอง ถึงแม้ว่าไม่สามารถอ่านโน้ตได้ เขาสามารถเล่นเครื่องดนตรีได้หลายอย่าง เช่น กีตาร์, ซินธีไซเซอร์, กลอง taiko, ฟลุต เป็นต้น.
ซินดี ลอเปอร์
ซินเธีย แอน สเตฟานี "ซินดี" ลอเปอร์ (Cynthia Ann Stephanie "Cyndi" Lauper) เกิดวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2496 ที่บรุกลิน รัฐนิวยอร์ก เป็นนักร้องชาวอเมริกัน ชนะรางวัลแกรมมี่ และนักแสดงรางวัลเอมมี่ เธอได้หัดเล่นกีตาร์และเขียนเพลงตั้งแต่อายุน้อย ในปีพ.ศ.
ปฏิทินเกรโกเรียน
ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และปฏิทินเกรโกเรียน
ประกอบ จิรกิติ
ร.ประกอบ จิรกิติ (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยของ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร เกิดวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ.
ประมวล พงศ์ถาวราเดช
นายประมวล พงศ์ถาวราเดช (เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 2496) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3 สมั.
ดู พ.ศ. 2496และประมวล พงศ์ถาวราเดช
ประธานาธิบดีสหรัฐ
ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..
ดู พ.ศ. 2496และประธานาธิบดีสหรัฐ
ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล
รายชื่อผู้ดำรงตำแหน่งประธานของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล.
ดู พ.ศ. 2496และประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..
ประเทศอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).
ดู พ.ศ. 2496และประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ประเทศจีน
ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..
ประเทศไต้หวัน
ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.
ประเทศเกาหลีใต้
รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.
ดู พ.ศ. 2496และประเทศเกาหลีใต้
ประเทศเกาหลีเหนือ
รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..
ดู พ.ศ. 2496และประเทศเกาหลีเหนือ
ประเทศเปรู
ประเทศเปรู (Perú) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเปรู เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศเอกวาดอร์และประเทศโคลอมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศบราซิลและประเทศโบลิเวีย ทางทิศใต้ติดกับประเทศชิลี และทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศเปรูเป็นที่ตั้งของอารยธรรมการัล ซึ่งเป็นอารยธรรมเก่าแก่อันหนึ่งของโลก และอาณาจักรอินคา จักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาก่อนยุคโคลัมบัส ต่อมาภูมิภาคนี้ตกเป็นอาณานิคมของจักรวรรดิสเปน และได้รับเอกราชในปี พ.ศ.
ปรัศนี
ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้.
ปราจิน รุ่งโรจน์
ปราจิน รุ่งโรจน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม..
ดู พ.ศ. 2496และปราจิน รุ่งโรจน์
ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล
นางปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล หรือชื่อเล่นว่า แมว (25 กรกฎาคม 2496 —) ประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม คนที่ 5 มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการปฏิบัติงาน จนเคยได้รับการตั้งฉายาจากสื่อมวลชนว่า "อธิบดีออนไลน์" โดยนางปริศนาค่อนข้างโดดเด่น จากบทบาทสำคัญในการอนุรักษ์ สร้างสรรค์ และการรักษาศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะมรดกภูมิปัญญาที่จับต้องไม่ได้ (ICH) ซึ่งต้องอาศัยเม็ดเงินเข้ามาผลักดันสนับสนุนจึงจะประสบความสำเร็จไทยรั.
ดู พ.ศ. 2496และปริศนา พงษ์ทัดศิริกุล
ปัญญา ศรีปัญญา
นายปัญญา ศรีปัญญา เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น และอดีตประธานคณะกรรมาธิการคมนาคม ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23.
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 -) ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) กรรมการธนาคารกสิกรไทย อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เป็นนักวิชาการด้านพลังงาน เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองเกี่ยวกับพลังงานมามากมาย ทั้งยังได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท.
ดู พ.ศ. 2496และปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์
ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี
ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี (เช่น พ.ศ. 2558 2552 2541 2530 2524 2513) หมวดหมู่:ปฏิทิน.
ดู พ.ศ. 2496และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี
ปีเตอร์ แบตกิน
ปีเตอร์ แบตกิน (11 เมษายน ค.ศ. 1953 – 12 มกราคม ค.ศ. 2018) เป็นนักขายทอดตลาดชาวอังกฤษ รู้จักกันในฐานะเป็นนักกิจกรรมในประเทศรัสเซี.
นพพล โกมารชุน
นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ.
นาจิบ ราซัก
ตะก์ ซรี ฮาจี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตุน ฮาจี อับดุล ราซัก (Dato' Sri Haji Mohammad Najib bin Tun Haji Abdul Razak) หรือ นาจิบ ราซัก เป็นนักการเมืองมาเลเซียจากพรรคอัมโน เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย โดยดำรงตำแหน่งมาตั้งแต..
นินนาท ชลิตานนท์
นินนาท ชลิตานนท์ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 -) สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตปลัดกรุงเทพมหานคร.
ดู พ.ศ. 2496และนินนาท ชลิตานนท์
นทีพร เชื้อบัณฑิตย์
นทีพร เชื้อบัณฑิตย์ เกิดเมือ พ.ศ. 2496 เป็นนักแสดงประกอบท่านหนึ่ง มักจะรับบท แม่ค้าปากตลาด หรือรับบทเป็นผี และโด่งดังจากบท ผีขนุน หรือ เจ๊ปริก ในภาพยนตร์เรื่อง หลวงพี่ กับ ผีขนุน ด้านผลงานละครโทรทัศน์ มีผลงานมากกว่า 100 เรื่อง โดยแสดงเป็นตัวประกอบ เช่นละครเรื่อง กะลาก้นครัว รับบทเป็น แม่ค้าขายผัก, ผีขี้เหงา รับบท แม่ค้าขายปลาในวัด, ภูตพิศวาท รับบทเป็น ผี และ อุ่นไอรัก รับบทเป็น ภรรยาตำรวจ และแต่ในละบทบาทนั้นก็สร้างสีสันให้กับละครอย่างไม่น้อ.
ดู พ.ศ. 2496และนทีพร เชื้อบัณฑิตย์
แพต เบเนทาร์
แพต เบเนทาร์ (Pat Benatar) เกิดเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1953 เป็นนักร้องชาวอเมริกันที่เคยได้รับรางวัลแกรมมี่มาแล้ว 4 ครั้ง มีเสียงในแบบเมซโซ-โซปราโน เธอยังเป็นหนึ่งในนักร้องหญิงแนวสไตล์ร็อกระดับแถวหน้า มีผลงานเพลงดังอย่าง "Love Is a Battlefield", "Hit Me with Your Best Shot", "We Belong" และ "Heartbreaker" ส่วนเพลงที่ทำให้เธอเป็นที่รู้จักหรือแจ้งเกิดคือเพลง"Wuthering Heights" เบเนทาร์เป็น 1 ในศิลปินที่มีเพลงยอดขายระดับแผ่นเสียงทองคำขาวมากที่สุดของยุคคริสต์ทศวรรษ 1980 จากข้อมูลของ RIAA มีผลงานระดับหลายแผ่นเสียงทองคำขาว 2 ชุด และ 5 ชุดที่ได้รับแผ่นเสียงทองคำขาว และ 3 อัลบั้มแผ่นเสียงทองคำ โดยมีเพลงติดท็อป 40 อยู่ 19 เพลง นอกจากนั้นเบเนทาร์ ยังเป็นศิลปินหญิงคนแรกที่มีมิวสิกวิดีโอออกทางช่องเอ็มทีวี กับเพลง "You Better Run" ถือเป็นเพลงที่ 2 ที่เปิดบนเอ็มทีวี ตามหลังเพลงแรกที่เปิดคือเพลง "Video Killed the Radio Star" ของวงเดอะบักเกิล.
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซี.
ดู พ.ศ. 2496และแกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซีย
แมรี สตีนเบอร์เกน
แมรี เนล สตีนเบอร์เกน (Mary Nell Steenburgen) เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..
ดู พ.ศ. 2496และแมรี สตีนเบอร์เกน
แรคำ ประโดยคำ
แรคำ ประโดยคำ เป็นนามปากกาของ รองศาสตราจารย์ สุพรรณ ทองคล้อย เกิดเมื่อปี 9 มกราคม พ.ศ. 2496 ที่จังหวัดจันทบุรี ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (วรรณคดี) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยรับราชการอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันรับราชการตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และในปลายปี 2538 เดินทางไปสอนภาษาไทยให้กับนักศึกษาเยอรมัน ในภาควิชา ภาษาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัย Passau รัฐบาวาเรี.
แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์
แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์ เป็นนักร้องลูกทุ่งชายที่มีน้ำเสียงไพเราะเพราะพริ้ง แม้หน้าตาอาจจะไม่ค่อยหล่อเหลาสักเท่าใดนัก เส้นทางการขึ้นมาเป็นนักร้องของเขาออกจากแตกต่างจากนักร้องลูกทุ่งรุ่นเดียวกันหรือรุ่นก่อนหน้านั้นอยู่มาก เพราะเขามีผลงานเพลงโด่งดังขึ้นมาโดยที่ไม่เคยเป็นนักร้องอยู่กับวงลูกทุ่งใดๆเลย แสงสุรีย์ รุ่งโรจน์ โด่งดังมาจากผลงานเพลงแรกที่เขาบันทึกเสียงคือ "แห่ขันหมาก" และหลังจากนั้นก็ผลิตผลงานเพลงที่ไพเราะกินใจออกมามากมายหลายเพลง ปัจจุบัน แม้ความนิยมจะตกต่ำไปตามกาลเวลา แต่แสงสุรีย์ ที่อยู่ในวงการมานานหลายสิบปี ก็ยังคงตระเวณร้องเพลงตามที่ได้รับการว่าจ้างด้วยน้ำเสียงที่ยังคงไพเราะเหมือนเช่นสมัยเข้าวงการใหม.
ดู พ.ศ. 2496และแสงสุรีย์ รุ่งโรจน์
แอนนา ชวนชื่น
อนก อินทะจันทร์ หรือรู้จักกันในนาม แอนนา ชวนชื่น เกิด 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 เป็นนักแสดงตลกชาวไทยและอดีตตลกคณะ มกจ๊ก.
แฮร์ทา มึลเลอร์
แฮร์ทา มึลเลอร์ (Herta Müller) (17 สิงหาคม ค.ศ. 1953 - ปัจจุบัน) แฮร์ทา มึลเลอร์เป็นนักเขียน กวี และนักเขียนบทความคนสำคัญชาวเยอรมันที่เกิดในประเทศโรมาเนีย แฮร์ทา มึลเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และแฮร์ทา มึลเลอร์
แดนนี เอลฟ์แมน
แดเนียล โรเบิร์ต "แดนนี" เอลฟ์แมน นักแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์ และนักดนตรีชาวอเมริกัน มีผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์จำนานมาก ตั้งแต..
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และแปลก พิบูลสงคราม
ใจ อึ๊งภากรณ์
ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ รองศาสตราจารย์ ใจลส์ ใจ อึ๊งภากรณ์ (Giles Ji Ungpakorn; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2496 —) เป็นนักเคลื่อนไหวทางวิชาการและการเมืองสัญชาติไทย-อังกฤษ เดิมเคยเป็นอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร เพื่อหลบหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชาน.
โมเช อิฟกี้
มเช อิฟกี้ (משה איבגי, Moshe Ivgy; เกิด 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1953) เป็นนักแสดงและผู้กำกับชาวโมร็อกโกเชื้อสาวยิว.
โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
รงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นโรงเรียนสาธิตในระดับมัธยมศึกษา ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
โจเซฟ สตาลิน
ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ.
โทมัส บัค
ทมัส บัค (Thomas Bach) เป็นประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลคนที่ 9 อดีตนักกีฬาฟันดาบชาวเยอรมันที่ร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากล เมื่อวันที่ 10 กันยายน..
โทรุ ฟุรุยะ
ทรุ ฟุรุยะ (ซ้าย) และนักพากย์ชาวจีน Lam Bou Qun (林保全) ในงาน Ani-Com Hong Kong 2006 โทรุ ฟุรุยะ (31 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น ที่คร่ำหวอดอยู่ในวงการมากว่า 40 ปี โดยผลงานเรื่องแรกที่ฟุรุยะได้พากย์คือเรื่อง เจ้าชายโจรสลัด (海賊王子,ไคโซคุโอจิ) ในปี พ.ศ.
โทรทัศน์
อรมนี สมัยปี พ.ศ. 2501 โทรทัศน์ เป็นระบบโทรคมนาคมสำหรับการกระจายและรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล คำนี้ยังหมายถึงรายการโทรทัศน์และการแพร่ภาพอีกด้วย คำว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคำในภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคำผสมจากคำกรีก tele- ("ระยะไกล" — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" — ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี) เครื่องรับโทรทัศนขาว-ดำเครื่องแรกของโลก สร้างขึ้นในปี ค.ศ.
โทนี ชาลู
แอนโทนี มาร์คัส "โทนี" ชาลู (Anthony Marcus Shalhoub) นักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายเลบานอน มีชื่อเสียงจากบทบาทการแสดงในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Wing ทางเอ็นบีซี (ฤดูกาลที่ 3 ถึง 8 ระหว่างปี 1992 ถึง 1997) และรับบทนำในซีรีส์ Monk ทางยูเอสเอ เนตเวิร์ก ระหว่างปี 2002 ถึง 2009 ชาลูเกิดที่เมืองกรีนเบย์ รัฐวิสคอนซิน บิดาเป็นชาวเลบานอนอพยพ ส่วนมารดาเป็นชาวอเมริกันเชื้อสายเลบานอนรุ่นที่สอง ชาลูเป็นลูกคนสุดท้องในจำนวน 10 คน ชาลูมีความชื่นชอบการแสดงตั้งแต่สมัยเรียนมัธยม เขาศึกษาต่อด้านการละคร จนจบปริญญาโทด้านการแสดงจากมหาวิทยาลัยเยล และเล่นละครเวที ผลงานที่สร้างชื่อเสียงอย่างมากให้เขา เป็นภาพยนตร์ซีรีส์สืบสวน-ตลก มังค์ เขารับบทเป็น เอเดรียน มังค์ นักสืบประจำแผนกคดีอาชญากรรมของกรมตำรวจซาน ฟรานซิสโกที่เป็นโรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive–compulsive disorder - OCD) และเป็นโรคกลัวสารพัด ทั้งกลัวความสูง, กลัวคนแปลกหน้า, กลัวเชื้อโรค, กลัวสารพัด ซีรีส์นี้ได้รับความนิยมสูงสุด และทำให้เขาได้รับรางวัลเอมมี 3 รางวัล รางวัลลูกโลกทองคำ 1 รางวัล และรางวัลสมาคมนักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ 2 รางวัล สาขานักแสดงนำยอดเยี่ยม ซีรีส์ตลก.
โทนี แบลร์
แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ.
โคอิชิ ฮะชิโมะโตะ
อิชิ ฮะชิโมะโตะ หรือชื่อจริง มิฮะชิ โยอิชิ (หรือชื่อจริง) เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และโคอิชิ ฮะชิโมะโตะ
โคปาอเมริกา
ปาอเมริกา (Copa America) เป็นการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติของทวีปอเมริกา จัดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2459 การแข่งขันเกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอจากสาเหตุต่างๆ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต..
โตเกียว
ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.
โฉมฉาย อรุณฉาน
ฉมฉาย อรุณฉาน มีชื่อจริงว่า นิตยา อรุณวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาที่ โรงเรียนสารสาส์นพิทยา จากนั้นได้เข้าศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม โดยสำเร็จการศึกษาเมื่อ พ.ศ.
ไพโรจน์ สังวริบุตร
รจน์ สังวริบุตร ในเรื่อง เลือดสุพรรณ ไพโรจน์ สังวริบุตร (ชื่อเล่น: เอ๋) เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และนักแสดงชาวไทย เป็นน้องชายของ จีราภา ปัญจศิลป์ เจ้าของคณะละครวิทยุอัชชาวดี บุตรชายของคารม สังวริบุตร ดาราแห่งคณะละครวิทยุแก้วฟ้า ซึ่งเป็นพี่ชายของไพรัช สังวริบุตร(ศิลปินแห่งชาติ) จบการศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ และปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก เข้าวงการบันเทิงครั้งแรกโดยการเล่นภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ เมื่อตอนยังหนุ่มอายุได้ 20 ปี เรื่อง “โกมินทร์ กุมาร” โดยเล่นเป็นยอดตัวเอกของเรื่องคือ โกมินทร์ กุมาร แต่ผลงานที่สร้างชื่อเสียง ซึ่งนับว่าเป็นผลงานที่สองในวงการบันเทิง คือภาพยนตร์เรื่อง “วัยอลวน” เมื่ออายุ 21 ปี ในบท “ ตั้ม ” และได้มีผลงานการแสดงตามมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ภาพยนตร์เรื่อง รักอุตลุด(2520), ชื่นชุลมุน(2521), จำเลยรัก(2521), คู่รัก(2521), หงส์ทอง(2520), สุภาพบุรุษทรนง(2528), ช่างร้ายเหลือ (2527), ผู้ใหญ่ลีกับนางมา(2528) ฯลฯ ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างภาพยนตร์ของตัวเองออกมาประมาณ 11-12 เรื่องด้วยกัน ผลงานจอแก้ว อย่างเช่นเรื่อง ยุทธการปราบเมียน้อย ซึ่งเป็นละครเรื่องแรกที่สร้าง กำกับ และแสดงด้วยตนเอง ตามด้วย โนราห์, ลูกไม้ไกลต้น, ตลาดน้ำดำเนินรัก, รักในม่านเมฆ และอีกมากมาย อีกทั้งยังเป็นพิธีกรควบตำแหน่งครูใหญ่ของรายการเรียลลิตี้ เดอะเทรนเนอร์ ปั้นฝันสนั่นเวที ไพโรจน์เคยมีผลงานอัลบั้มเพลงมาแล้วครั้งหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า "ผมทำเพื่อความมันส์ครับพี่" ในช่วงที่เพิ่งมีชื่อเสียงจากงานแสดงภาพยนตร์ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ ชญานิศวร์ พิริยศุภกาญจน์ ไพโรจน์มีบุตร 3 คน น..จิตรลดา สังวริบุตร นายจิรายุษ สังวริบุตร นายรวิกร สังวริบุตร.
ดู พ.ศ. 2496และไพโรจน์ สังวริบุตร
ไมค์ โอลด์ฟิลด์
มค์ โอลด์ฟิลด์ (Michael Gordon Oldfield) (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 -) นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ มีผลงานทั้งประเภทโพรเกรสซีฟร็อก, ร็อก, โฟล์ก, คลาสสิก, เวิร์ลด, นิวเอจ และชำนาญการเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลายชนิด ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุด คืองานชุด Tubular Bells บันทึกเสียงปี..
ดู พ.ศ. 2496และไมค์ โอลด์ฟิลด์
ไมเคิล โบลตัน
มเคิล โบลตัน (Michael Bolton) เกิดเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) รัฐคอนเนตทิคัต สหรัฐอเมริกา เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง มีเพลงดังอย่าง Said I Loved You...
ไฮเม่ รีออส
ม่ รีออส (Jaime Rios) เกิดวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2496 เป็นนักมวยสากลชาวปานามา สถิติการชก 25 ครั้ง ชนะ 20 (น็อค 10) เสมอ 1 แพ้ 4.
เบญจา หลุยเจริญ
นางเบญจา หลุยเจริญ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นอดีตอธิบดีกรมศุลกากร ก่อนจะลาออกจากราชการมารับตำแหน่งรัฐมนตรี ในเดือนมิถุนายน..
ดู พ.ศ. 2496และเบญจา หลุยเจริญ
เชน เทือกสุบรรณ
น เทือกสุบรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี พรรคประชาธิปัตย์ และอดีตประธานคณะกรรมาธิการกิจการองค์กรตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน สภาผู้แทนราษฎร.
ดู พ.ศ. 2496และเชน เทือกสุบรรณ
เบนาซีร์ บุตโต
นาซีร์ บุตโต (بینظیر بھٹو, Benazir Bhutto; IPA) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศปากีสถาน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศอิสลาม โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ในปี พ.ศ.
เฟลิคส์ มากัท
ว็อล์ฟกัง-เฟลิคส์ มากัท (Wolfgang-Felix Magath) เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวเยอรมันเชื้อสายปวยร์โตรีโก เล่นในตำแหน่งกองกลาง หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวเยอรมัน หมวดหมู่:นักฟุตบอลทีมชาติเยอรมนี หมวดหมู่:ผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวเยอรมัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐบาวาเรีย.
เพียร์ซ บรอสแนน
ียร์ซ บรอสแนน ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2005 ภาพเพียร์ซ บรอสแนน ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2002 เพียร์ซ บรอสแนน กับ Stephanie Zimbalist ในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Remington Steele (ฉายระหว่างค.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และเพียร์ซ บรอสแนน
เกล็น แบลลาร์ด
ซิล เกล็น แบลลาร์ด จูเนียร์ (Basil Glen Ballard, Jr. เกิด 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1953) เป็นนักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน รู้จักกันในผลงานร่วมเขียนเพลงและผลิตเพลงให้อัลบั้ม แจกกิดลิตเทิลพิล ของอลานิส มอริสเซตต์ (1995) ได้รางวัลแกรมมีสาขา "อัลบั้มเพลงร็อกยอดเยี่ยม" และ "อัลบั้มเพลงแห่งปี" และนิตยสารโรลลิงสโตนจัดอันดับให้อยู่ในรายชื่อ 500 อัลบั้มเพลงที่ดีที่สุดตลอดกาล และร่วมงานกับนักแต่งเพลง อลัน ซิลเวสตรี เขายังมีส่วนร่วมผลิตเพลงให้ไมเคิล แจ็กสัน ในอัลบั้มทริลเลอร์ และแบด ด้วย ในฐานะนักแต่งเพลง เขาร่วมเขียนเพลงอย่าง "แมนอินเดอะมิรเรอร์" (1987) และ "แฮนด์อินมายพ็อกเก็ต" (1995) เขาเป็นผู้ก่อตั้งค่ายเพลงจาวาเรเคิดส์ เขาชนะรางวัลแกรมมีปี 2006 สาขา เพลงที่แต่งให้กับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากงานเพลง "บีลีฟ" (เดอะโพลาร์เอ็กส์เพรสส์).
เกื้อ วงศ์บุญสิน
ตราจารย์ ดร.เกื้อ วงศ์บุญสิน รองอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, นายกสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนอัสสัมชัญ, อดีตนายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตผู้อำนวยการสถาบันประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.
ดู พ.ศ. 2496และเกื้อ วงศ์บุญสิน
เริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์
ริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์ (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 —) เป็นนักกีฬาฟันดาบสากลชาวไทย ผู้ซึ่งเข้าร่วมแข่งขันในเอเป้ประเภททีม รวมถึงเซเบอร์ทั้งในประเภทบุคคลและทีมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ร่วมกับนักฟันดาบสากลทีมชาติไทย ซึ่งได้แก่ ทวีวัฒน์ หุราพันธ์, สุทธิพงษ์ สันติเทวกุล, สมชัย ตรังเจริญงาม และ เสน่ห์ เชาว์สุรินทร์ เริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์ เป็นศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รุ่นที่ 32 และยังเป็นตัวแทนทีมชาติไทยร่วมกับเรืออากาศเอกสุทธิพงษ์ สันติเทวกุล ในการเข้าแข่งขันฟันดาบสากลในเอเชียนเกมส์ 1974 โดยเริงยศมีตำแหน่งเป็นประธานชมรมฟันดาบพระเกี้ยวในขณะนั้น นอกจากนี้ เขายังมีบทบาทในฐานะเป็นผู้ถ่ายทอดศิลปะการซ่อมดาบเอเป้ รวมถึงเทคนิคการเดินสายไฟฟ้าที่ดาบ และแม้กระทั่งการดัดมุมดาบ การตัดหางใบดาบ ตลอดจนทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการกีฬาฟันดาบสากลในกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 38.
ดู พ.ศ. 2496และเริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์
เอกชัย นพจินดา
อกชัย นพจินดา (ชื่อเล่น: แจ๊คกี้; นามปากกา: ย.โย่ง) อดีตผู้บรรยายการแข่งขันกีฬาที่มีชื่อเสียง, อดีตผู้ประกาศข่าวกีฬาทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, อดีตบรรณาธิการและคอลัมนิสต์หนังสือพิมพ์สยามกีฬารายวัน, สตาร์ซอคเก้อร์รายวัน และนิตยสารสตาร์ซอคเก้อร์รายสัปดาห.
เอนก นาวิกมูล
อนก นาวิกมูล (14 มีนาคม พ.ศ. 2496 - ปัจจุบัน) เป็นนักวิชาการ นักเขียนสารคดี นักสะสมของเก่า และ ยังเป็นผู้ก่อตั้ง บ้านพิพิธภัณฑ์ เอนก เกิดวันเสาร์ที่ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ครอบครัวทำกิจการร้านขายหนังสือแบบเรียน บิดาเป็นนักประดิษฐ์ นักสะสมหนังสือ ปฏิทิน ส.ค.ส.
เจมส์ ดี. วัตสัน
มส์ ดี. วัตสัน เจมส์ ดิวอี วัตสัน (James Dewey Watson; 6 เมษายน พ.ศ. 2471) นักอณูชีววิทยาชาวอเมริกัน ได้รับการยอบรับว่าเป็นผู้ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอร่วมกับฟรานซิส คริกและมอริส วิลคินส์ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ มีผลงานการตีพิมพ์คือบทความ โครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก.
ดู พ.ศ. 2496และเจมส์ ดี. วัตสัน
เจิ้ง เสี่ยวหลง
้ง เสี่ยวหลง (郑晓龙) (เกิด ค.ศ. 1953) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทชาวจีน.
ดู พ.ศ. 2496และเจิ้ง เสี่ยวหลง
เจ้าชายบ๋าว เอิน
้าชายบ๋าว เอิน แห่งเวียดนาม (H.H. Prince Bảo Ân) ประสูติเมื่อ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496 ที่เมืองด่าหลัต ประเทศเวียดนาม เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย กับเจ้าหญิงบู่ย หม่ง เดี่ยป (Bùi Mộng Điệp) พระองค์มีพระกนิษฐาร่วมพระมารดาคือ เจ้าหญิงเฟือง มิญ พระองค์ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ต่อจากพระเชษฐาคือ เจ้าชายบ๋าว ทั้ง ซึ่งสิ้นพระชนม์ไปก่อนหน้านั้น.
ดู พ.ศ. 2496และเจ้าชายบ๋าว เอิน
เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ
้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2497 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545) เป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สามใน เจ้าชายทาคาฮิโตะ มิกะซะ เจ้าหญิงยูริโกะ มิกะซะ โดยขณะมีพระชนม์ชีพทรงอยู่ในลำดับที่ 7 ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ญี่ปุ่น.
ดู พ.ศ. 2496และเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ
เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์
้าหญิงรัญฮิลด์ อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1930 ณ พระราชวังหลวง กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ - สิ้นพระชนม์ 16 กันยายน ค.ศ.
ดู พ.ศ. 2496และเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์
เจ้าหญิงอีรีนาแห่งโรมาเนีย
้าหญิงอีรีนาแห่งโรมาเนีย (ภาษาโรมาเนีย: Principesa Elena a României fostă Principesă de Hohenzollern-Sigmaringen) ประสูติเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 ที่เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นพระราชธิดาองค์ที่สาม ในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย กับสมเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนี.
ดู พ.ศ. 2496และเจ้าหญิงอีรีนาแห่งโรมาเนีย
เจ้าหญิงฮิซาโกะ พระชายาในเจ้าชายโนริฮิโตะ
้าหญิงฮิซะโกะ พระชายาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ (10 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) หรือพระนามเดิม ฮิซะโกะ ทตโตะริ เป็นพระชายาในเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าชายทะกะมะโดะ และเป็นพระสุณิสาในเจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าชายมิกะซ.
ดู พ.ศ. 2496และเจ้าหญิงฮิซาโกะ พระชายาในเจ้าชายโนริฮิโตะ
เจ้าหญิงเอเลนอราแห่งลีญ
ระองค์เสกสมรสกับ มีแชล เจ้าชายที่ 14 แห่งลีญ ขณะเป็นรัชทายาทแห่งลีญ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2524 ณ รีโอเดจาเนโร บราซิล แม้การสมรสจะต่างฐานันดร กล่าวคือพระสวามีอยู่ในระดับ ไฮเนส แต่พระองค์อยู่ในระดับ รอยัลไฮเนส แต่ก็ถูกยกเว้นเป็นกรณีพิเศษ โดยทั้ง 2 มีพระบุตร 2 พระองค์คือ.
ดู พ.ศ. 2496และเจ้าหญิงเอเลนอราแห่งลีญ
เทนซิง นอร์เก
อนุสาวรีย์ของเทียนซิง นอร์เก เทนซิง นอร์เก (ทิเบต: བསྟན་འཛིན་ནོར་རྒྱས།, เนปาล: तेन्जिङ नोर्गे शेर्पा, อังกฤษ: Tenzing Norgay) เกิดในปี พ.ศ.
เขตบางเขน
ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.
เดวิด ฮิวสัน
วิด ฮิวสัน เกิดเมื่อ 9 มกราคม พ.ศ. 2496 เป็นนักเขียนนวนิยายสืบสวนสอบสวนชาวอังกฤษ.
เดสมอนด์ ไชลด์
มอนด์ ไชลด์ (Desmond Child ชื่อเกิด จอห์น ชาลส์ แบร์เร็ตต์ (John Charles Barrett เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1953)) เป็นนักดนตรี นักแต่งเพลงมืออาชีพ และโปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน เป็นหนึ่งในหอเกียรติยศนักแต่งเพลง (Songwriters Hall of Fame) เพลงดังที่เขาแต่งขึ้น เช่น "ไอเฮตมายเซลฟ์ฟอร์เลิฟวิงยู" "ลิฟวิงออนอะเพรเยอร์" "ยูกิฟเลิฟอะแบดเนม" "แบดเมดิซิน" "ไอวอสเมดฟอร์เลิฟวิงยู" "ดูด (ลุกส์ไลก์อะแดดดี)" "แองเจิล" "วอตอิตเทกส์" "เครซี" "เดอะคัปออกไลฟ์" และ "ลิฟวินลาวีดาโลกา" เขาเริ่มต้นอาชีพเมื่อเขาก่อตั้งวงดนตรีแนวซอฟต์ร็อกชื่อ เดสมอนด์ ไชลด์ แอนด์ รูจ ใน..
เดอะ ฮองกี ทอค แมน
รอย เวย์น ฟาร์ริส (Roy Wayne Farris) เกิดวันที่ 25 มกราคม..
ดู พ.ศ. 2496และเดอะ ฮองกี ทอค แมน
เดนนิส มิลเลอร์
นนิส มิลเลอร์ (Dennis Miller) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน..
ดู พ.ศ. 2496และเดนนิส มิลเลอร์
เคนนี่ บี
นนี่ บี (Kenny Bee, จีนตัวเต็ม: 鍾鎮濤, จีนตัวย่อ: 锺镇涛, พินอิน: Zhōng Zhèntāo) เป็นนักร้อง, นักดนตรี และนักแสดงที่มีชื่อเสียงของฮ่องกง เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ.
เติ้ง ลี่จวิน
ติ้ง ลี่จวิน หรือ เทเรซา เติ้ง (テレサ・テン, 29 มกราคม พ.ศ. 2496 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) นักร้องเพลงจีนสากลชาวไต้หวันชื่อดังและมีอิทธิพลอย่างสูง เธอเกิดที่ เมืองเป่าจง มณฑลหยุนหลิน สาธารณรัฐจีน โดยบรรพบุรุษของเธอมาจากมณฑลเหอเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน เสียงและเพลงของเธอเป็นที่จดจำทั่วทั้งเอเชียตะวันออกและในหมู่ชาวจีนทั้งในประเทศจีน ไต้หวัน และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก จนมีคำกล่าวว่า "มีชาวจีนอยู่ที่ไหน ก็จะได้ยินเพลงของเติ้ง ลี่จวินที่นั่น" นอกจากนี้ เพลงของเธอยังเป็นที่รู้จักในหมู่ชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวเวียดนาม ชาวมาเลเซีย และชาวอินโดนีเซียจำนวนมากเช่นกัน เติ้ง ลี่จวิน มีชื่อเสียงจากบทเพลงรัก และเพลงพื้นเมืองภาษาหมิ่นหนาน (ภาษาฮกเกี้ยน) เพลงที่โด่งดังจนรู้จักกันทั่วไปทั่วเอเชีย ได้แก่เพลง เถียนมี่มี่ (甜蜜蜜, tián mì mì แปลว่า หวานปานน้ำผึ้ง) และเพลง เยว่เหลียงไต้เปี่ยวหวอเตอซิน (月亮代表我的心, yuè liàng dài biǎo wǒ de xīn แปลว่า พระจันทร์แทนใจฉัน) เป็นต้น ไม่เพียงเพลงภาษาจีนกลางเท่านั้น เธอยังเคยมีผลงานเพลงภาษาไต้หวัน ภาษากวางตุ้ง ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษด้วย เติ้ง ลี่จวิน เสียชีวิตอย่างกะทันหันเนื่องจากโรคหอบหืด ขณะเดินทางมาพักผ่อนที่จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.
เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ
ฉลิมชัย มัจฉากล่ำ เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ หรือ พันตรี เฉลิมชัย มัจฉากล่ำ หรือ "ผู้พันตึ๋ง" เป็นนักโทษประหารชีวิต จากคดีฆาตกรรมผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร เมื่อปี..
ดู พ.ศ. 2496และเฉลิมชัย มัจฉากล่ำ
เฉิง จื้อเหว่ย์
ฉิงจื้อเหว่ย์ (Eric Tsang) เป็นนักแสดง, ผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ชาวฮ่องกง มีภาพลักษณ์ที่เป็นที่จดจำในฐานะชายร่างเตี้ย อารมณ์ดี จากการเป็นพิธีกรรายการวาไรตีโชว์ Super Trio Series ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีบีอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี..
ดู พ.ศ. 2496และเฉิง จื้อเหว่ย์
เซกอแลน รัวยาล
มารี-เซกอแลน รัวยาล หรือรู้จักในนาม เซกอแลน รัวยาล (Marie-Ségolène Royal) เกิดเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2496 ที่กรุงดาการ์ ประเทศเซเนกัล รัวยาลเป็นนักการเมืองหญิงจากพรรคสังคมนิยม ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายซ้ายของประเทศฝรั่งเศส โดยปัจจุบันเธอดำรงตำแหน่งผู้ว่าการแคว้นปัวตู-ชาร็องต์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเดอ-แซฟวร์ รัวยาลได้รับการส่งชื่ออย่างเป็นทางการจากพรรคสังคมนิยมให้เป็นตัวแทนชิงตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ในวันที่ 22 เมษายนนี้ เธอสามารถเอาชนะใจชาวฝรั่งเศส จนสามารถเข้าถึงการเลือกตั้งรอบ 2 ได้ แต่ก็ต้องพ่ายให้กับนายนีกอลา ซาร์กอซีไป นับว่าเป็นหญิงแกร่งอีกคนหนึ่งของฝรั่งเศส หมวดหมู่:นักการเมืองฝรั่งเศส.
เปรมชัย กรรณสูต
ปรมชัย กรรณสูต (เกิด 9 มีนาคม พ.ศ. 2497) ประธานบริหารบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) เขาถูกเจ้าหน้าที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแจ้งข้อหาหลังพบว่ามาตั้งค่ายพักในบริเวณจุดห้ามตั้ง.
ดู พ.ศ. 2496และเปรมชัย กรรณสูต
เนเจอร์ (วารสาร)
วารสาร''เนเจอร์''ฉบับแรก วันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1869 เนเจอร์ เป็นวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน..
ดู พ.ศ. 2496และเนเจอร์ (วารสาร)
1 พฤศจิกายน
วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.
1 พฤษภาคม
วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.
1 กรกฎาคม
วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.
1 มกราคม
วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).
1 เมษายน
วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.
10 พฤษภาคม
วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.
10 กรกฎาคม
วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันที่ 191 ของปี (วันที่ 192 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 174 วันในปีนั้น.
10 มกราคม
วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).
10 สิงหาคม
วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.
10 ธันวาคม
วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.
11 กรกฎาคม
วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.
11 กันยายน
วันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่ 254 ของปี (วันที่ 255 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 111 วันในปีนั้น.
11 มกราคม
วันที่ 11 มกราคม เป็นวันที่ 11 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 354 วันในปีนั้น (355 วันในปีอธิกสุรทิน).
11 มีนาคม
วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.
11 สิงหาคม
วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.
11 เมษายน
วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.
12 กันยายน
วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.
12 มกราคม
วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).
12 สิงหาคม
วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.
13 กุมภาพันธ์
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).
13 มกราคม
วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).
13 มิถุนายน
วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.
13 สิงหาคม
วันที่ 13 สิงหาคม เป็นวันที่ 225 ของปี (วันที่ 226 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 140 วันในปีนั้น.
13 เมษายน
วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.
14 พฤศจิกายน
วันที่ 14 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 318 ของปี (วันที่ 319 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 47 วันในปีนั้น.
14 พฤษภาคม
วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.
14 มกราคม
วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).
14 มีนาคม
วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.
14 สิงหาคม
วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.
14 ธันวาคม
วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.
14 เมษายน
วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.
15 พฤษภาคม
วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.
15 กรกฎาคม
วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.
15 กุมภาพันธ์
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).
15 มกราคม
วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).
15 มิถุนายน
วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.
15 ตุลาคม
วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.
16 พฤศจิกายน
วันที่ 16 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 320 ของปี (วันที่ 321 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 45 วันในปีนั้น.
16 พฤษภาคม
วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.
16 กรกฎาคม
วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.
16 กันยายน
วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.
16 มีนาคม
วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.
16 สิงหาคม
วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.
16 เมษายน
วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.
17 พฤษภาคม
วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.
17 มีนาคม
วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.
17 สิงหาคม
วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.
18 พฤษภาคม
วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.
18 กันยายน
วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.
18 มิถุนายน
วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.
18 ธันวาคม
วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.
19 กรกฎาคม
วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.
19 กันยายน
วันที่ 19 กันยายน เป็นวันที่ 262 ของปี (วันที่ 263 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 103 วันในปีนั้น.
19 กุมภาพันธ์
วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).
19 มกราคม
วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).
19 มิถุนายน
วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.
2 พฤษภาคม
วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.
2 กันยายน
วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.
2 มิถุนายน
วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.
2 สิงหาคม
วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.
20 พฤษภาคม
วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.
20 กันยายน
วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.
20 มกราคม
วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).
20 สิงหาคม
วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.
21 พฤศจิกายน
วันที่ 21 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 325 ของปี (วันที่ 326 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 40 วันในปีนั้น.
21 กรกฎาคม
วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.
21 กันยายน
วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.
21 กุมภาพันธ์
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).
21 มกราคม
วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).
21 มิถุนายน
วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.
21 สิงหาคม
วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.
21 ตุลาคม
วันที่ 21 ตุลาคม เป็นวันที่ 294 ของปี (วันที่ 295 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 71 วันในปีนั้น.
21 เมษายน
วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.
22 กรกฎาคม
วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.
22 กันยายน
วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.
22 มิถุนายน
วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.
22 สิงหาคม
วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.
23 กรกฎาคม
วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.
23 กุมภาพันธ์
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.
23 มีนาคม
วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.
23 ธันวาคม
วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.
23 ตุลาคม
วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.
24 มกราคม
วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).
24 มีนาคม
วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.
24 สิงหาคม
วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.
25 พฤษภาคม
วันที่ 25 พฤษภาคม เป็นวันที่ 145 ของปี (วันที่ 146 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 220 วันในปีนั้น.
25 กรกฎาคม
วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.
25 กันยายน
วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.
25 มกราคม
วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).
25 ตุลาคม
วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.
25 เมษายน
วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.
26 พฤศจิกายน
วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.
26 กรกฎาคม
วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.
26 กุมภาพันธ์
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.
26 มีนาคม
วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.
26 ตุลาคม
วันที่ 26 ตุลาคม เป็นวันที่ 299 ของปี (วันที่ 300 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 66 วันในปีนั้น.
27 พฤศจิกายน
วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.
27 กรกฎาคม
วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.
27 กันยายน
วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.
27 มิถุนายน
วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.
27 ธันวาคม
วันที่ 27 ธันวาคม เป็นวันที่ 361 ของปี (วันที่ 362 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 4 วันในปีนั้น.
27 เมษายน
วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.
28 กรกฎาคม
วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.
28 กุมภาพันธ์
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.
28 มีนาคม
วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.
28 สิงหาคม
วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.
28 ธันวาคม
วันที่ 28 ธันวาคม เป็นวันที่ 362 ของปี (วันที่ 363 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 3 วันในปีนั้น.
28 ตุลาคม
วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.
29 พฤศจิกายน
วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.
29 พฤษภาคม
วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.
29 กรกฎาคม
วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.
29 มกราคม
วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).
29 ธันวาคม
วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.
3 พฤศจิกายน
วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.
3 กุมภาพันธ์
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).
3 มิถุนายน
วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.
3 สิงหาคม
วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.
3 เมษายน
วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.
30 พฤษภาคม
วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.
30 กันยายน
วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.
30 มกราคม
วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).
30 มิถุนายน
วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.
30 เมษายน
วันที่ 30 เมษายน เป็นวันที่ 120 ของปี (วันที่ 121 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 245 วันในปีนั้น.
31 กรกฎาคม
วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.
31 มกราคม
วันที่ 31 มกราคม เป็นวันที่ 31 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 334 วันในปีนั้น (335 วันในปีอธิกสุรทิน).
4 พฤษภาคม
วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.
4 กันยายน
วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.
4 กุมภาพันธ์
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).
4 มีนาคม
วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.
5 มกราคม
วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).
5 มีนาคม
วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.
5 ธันวาคม
วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.
5 เมษายน
วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.
6 พฤษภาคม
วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.
6 มีนาคม
วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.
6 ธันวาคม
วันที่ 6 ธันวาคม เป็นวันที่ 340 ของปี (วันที่ 341 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 25 วันในปีนั้น.
6 เมษายน
วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.
7 พฤศจิกายน
วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.
7 ตุลาคม
วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.
8 พฤษภาคม
วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.
8 กันยายน
วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.
8 กุมภาพันธ์
วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).
8 มิถุนายน
วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.
8 ธันวาคม
วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.
9 พฤศจิกายน
วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.
9 กันยายน
วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.
9 กุมภาพันธ์
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).
9 มกราคม
วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).
9 มีนาคม
วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.
9 ธันวาคม
วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.
9 ตุลาคม
วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.
9 เมษายน
วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ค.ศ. 1953
มาลีรัตน์ แก้วก่ามานูเอล เปเลกรินิมุน แจ-อินยอดเยี่ยม เทพธรานนท์ยอดเขาเอเวอเรสต์รสนา โตสิตระกูลรอยัลไฮเนสรัชนู บุญชูดวงรัฐมิชิแกนรัฐเนวาดารายนามนายกรัฐมนตรีไทยรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีริชาร์ด สตอลล์แมนริกกี สตีมโบตลิมาลือชัย งามสมวัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ดวังชุก นัมเกลวาสิต พยัคฆบุตรวาซิลี โซโลมินวิกรม กรมดิษฐ์วิลาศ อรุณศรีวิธิต อุตสาหจิตวิทยา ผิวผ่องวิคเตอร์ เฮอร์มันส์วินสตัน เชอร์ชิลวิเชียร พจน์โพธิ์ศรีศรชัย เมฆวิเชียรสมชัย ตรังเจริญงามสมชาย ศักดิกุลสมมาตร ไพรหิรัญสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์สมคิด จาตุศรีพิทักษ์สมเด็จพระราชินีซาบิกา บิน อิบบราฮิม อัลเคาะลีฟะฮ์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหภาพโซเวียตสหรัฐสหราชอาณาจักรสัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์สันติ ตันสุหัชสามารถ ราชพลสิทธิ์สายัณห์ สัญญาสาธารณรัฐสานันท์ สุพรรณชนะบุรีสุกิจ อัถโถปกรณ์สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัยสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุลสุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์สุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์สุวพันธุ์ ตันยุวรรธนะสุธรรม แสงประทุมสุขุมพงศ์ โง่นคำสี จิ้นผิงสงครามเกาหลีสตีฟ แบนนอนสนามมวยเวทีลุมพินีหม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุลหม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุชหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุลหม่อมหลวงศิริเฉลิม สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้านภดลเฉลิมศรี ยุคลอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์อับดุลอะซีซ อัลฮะกีมอัลแบร์โต ซักเกโรนีอันเดรอา ฟอน ฮับส์บูร์กอาวุธนิวเคลียร์อาหมัด ชาห์ มาซูดอำนาจ ชนะวงศ์อิเลน เชาอุดม อริยอุดมโรจน์อเมริกันฮัลค์ โฮแกนฮันซี โจคมันน์ฮิโตะชิ อิชิงะกิฌ็อง-แบร์ทร็อง อาริสตีดจรัส สุวรรณมาลาจรัสพงษ์ สุรัสวดีจอร์จ มาร์แชลล์จอห์น มัลโควิชจอห์น โมลเดอร์-บราวน์จอห์น โรเบิร์ตสัน (นักฟุตบอล เกิด พ.ศ. 2496)จังหวัดอาเจะฮ์จารกรรมจีน อับดุลละห์ธีรวัฒน์ ธีรโรจน์วิทย์ธนะศักดิ์ ปฏิมาประกรถวิล เปลี่ยนศรีถั่วแระ เชิญยิ้มทวีศักดิ์ กออนันตกูลทศพร สิทธิวัจน์ทอร์นาโดทองสุข สัมปหังสิตทะสึมิ ฟุจินะมิทิพย์สุดา ปทุมานนท์ทิม อัลเลนทีโท ซานตานาทนงศักดิ์ อภิรักษ์โยธินขุนพลน้อย เกียรติสุริยาณรงค์ พิพัฒนาศัยณรงค์เลิศ สุรพลณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณดอมีนิก เดอ วีลแป็งดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณดิเรก อมาตยกุลดีน ออร์นิชดีเอ็นเอดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์คิม ซุงจุนคิม เบซิงเงอร์คิทาโรซินดี ลอเปอร์ปฏิทินเกรโกเรียนประกอบ จิรกิติประมวล พงศ์ถาวราเดชประธานาธิบดีสหรัฐประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลประเทศญี่ปุ่นประเทศอินโดนีเซียประเทศอียิปต์ประเทศจีนประเทศไต้หวันประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือประเทศเปรูปรัศนีปราจิน รุ่งโรจน์ปริศนา พงษ์ทัดศิริกุลปัญญา ศรีปัญญาปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีปีเตอร์ แบตกินนพพล โกมารชุนนาจิบ ราซักนินนาท ชลิตานนท์นทีพร เชื้อบัณฑิตย์แพต เบเนทาร์แกรนด์ดัชเชสมาเรีย วลาดีมีรอฟนาแห่งรัสเซียแมรี สตีนเบอร์เกนแรคำ ประโดยคำแสงสุรีย์ รุ่งโรจน์แอนนา ชวนชื่นแฮร์ทา มึลเลอร์แดนนี เอลฟ์แมนแปลก พิบูลสงครามใจ อึ๊งภากรณ์โมเช อิฟกี้โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครโจเซฟ สตาลินโทมัส บัคโทรุ ฟุรุยะโทรทัศน์โทนี ชาลูโทนี แบลร์โคอิชิ ฮะชิโมะโตะโคปาอเมริกาโตเกียวโฉมฉาย อรุณฉานไพโรจน์ สังวริบุตรไมค์ โอลด์ฟิลด์ไมเคิล โบลตันไฮเม่ รีออสเบญจา หลุยเจริญเชน เทือกสุบรรณเบนาซีร์ บุตโตเฟลิคส์ มากัทเพียร์ซ บรอสแนนเกล็น แบลลาร์ดเกื้อ วงศ์บุญสินเริงยศ ศรีวรพงษ์พันธ์เอกชัย นพจินดาเอนก นาวิกมูลเจมส์ ดี. วัตสันเจิ้ง เสี่ยวหลงเจ้าชายบ๋าว เอินเจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอีรีนาแห่งโรมาเนียเจ้าหญิงฮิซาโกะ พระชายาในเจ้าชายโนริฮิโตะเจ้าหญิงเอเลนอราแห่งลีญเทนซิง นอร์เกเขตบางเขนเดวิด ฮิวสันเดสมอนด์ ไชลด์เดอะ ฮองกี ทอค แมนเดนนิส มิลเลอร์เคนนี่ บีเติ้ง ลี่จวินเฉลิมชัย มัจฉากล่ำเฉิง จื้อเหว่ย์เซกอแลน รัวยาลเปรมชัย กรรณสูตเนเจอร์ (วารสาร)1 พฤศจิกายน1 พฤษภาคม1 กรกฎาคม1 มกราคม1 เมษายน10 พฤษภาคม10 กรกฎาคม10 มกราคม10 สิงหาคม10 ธันวาคม11 กรกฎาคม11 กันยายน11 มกราคม11 มีนาคม11 สิงหาคม11 เมษายน12 กันยายน12 มกราคม12 สิงหาคม13 กุมภาพันธ์13 มกราคม13 มิถุนายน13 สิงหาคม13 เมษายน14 พฤศจิกายน14 พฤษภาคม14 มกราคม14 มีนาคม14 สิงหาคม14 ธันวาคม14 เมษายน15 พฤษภาคม15 กรกฎาคม15 กุมภาพันธ์15 มกราคม15 มิถุนายน15 ตุลาคม16 พฤศจิกายน16 พฤษภาคม16 กรกฎาคม16 กันยายน16 มีนาคม16 สิงหาคม16 เมษายน17 พฤษภาคม17 มีนาคม17 สิงหาคม18 พฤษภาคม18 กันยายน18 มิถุนายน18 ธันวาคม19 กรกฎาคม19 กันยายน19 กุมภาพันธ์19 มกราคม19 มิถุนายน2 พฤษภาคม2 กันยายน2 มิถุนายน2 สิงหาคม20 พฤษภาคม20 กันยายน20 มกราคม20 สิงหาคม21 พฤศจิกายน21 กรกฎาคม21 กันยายน21 กุมภาพันธ์21 มกราคม21 มิถุนายน21 สิงหาคม21 ตุลาคม21 เมษายน22 กรกฎาคม22 กันยายน22 มิถุนายน22 สิงหาคม23 กรกฎาคม23 กุมภาพันธ์23 มีนาคม23 ธันวาคม23 ตุลาคม24 มกราคม24 มีนาคม24 สิงหาคม25 พฤษภาคม25 กรกฎาคม25 กันยายน25 มกราคม25 ตุลาคม25 เมษายน26 พฤศจิกายน26 กรกฎาคม26 กุมภาพันธ์26 มีนาคม26 ตุลาคม27 พฤศจิกายน27 กรกฎาคม27 กันยายน27 มิถุนายน27 ธันวาคม27 เมษายน28 กรกฎาคม28 กุมภาพันธ์28 มีนาคม28 สิงหาคม28 ธันวาคม28 ตุลาคม29 พฤศจิกายน29 พฤษภาคม29 กรกฎาคม29 มกราคม29 ธันวาคม3 พฤศจิกายน3 กุมภาพันธ์3 มิถุนายน3 สิงหาคม3 เมษายน30 พฤษภาคม30 กันยายน30 มกราคม30 มิถุนายน30 เมษายน31 กรกฎาคม31 มกราคม4 พฤษภาคม4 กันยายน4 กุมภาพันธ์4 มีนาคม5 มกราคม5 มีนาคม5 ธันวาคม5 เมษายน6 พฤษภาคม6 มีนาคม6 ธันวาคม6 เมษายน7 พฤศจิกายน7 ตุลาคม8 พฤษภาคม8 กันยายน8 กุมภาพันธ์8 มิถุนายน8 ธันวาคม9 พฤศจิกายน9 กันยายน9 กุมภาพันธ์9 มกราคม9 มีนาคม9 ธันวาคม9 ตุลาคม9 เมษายน