โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาแรดแม่น้ำโขงและสีน้ำตาล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาแรดแม่น้ำโขงและสีน้ำตาล

ปลาแรดแม่น้ำโขง vs. สีน้ำตาล

ปลาแรดแม่น้ำโขง หรือ ปลาแรดเขี้ยว (Elephant ear gourami; ชื่อวิทยาศาสตร์: Osphronemus exodon) เป็นปลาแรดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae) มีรูปร่างคล้ายปลาแรดธรรมดา (O. goramy) ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้ทั่วไป หากแต่ปลาแรดแม่น้ำโขงนั้น จะพบเฉพาะในแม่น้ำโขงที่เดียวเท่านั้น มีความแตกต่างคือ มีลำตัวสีน้ำตาลแดงคล้ำ ครีบก้นแคบและเล็กกว่า และริมผีปากจะไม่สามารถสบกันจนสนิท จนเผยอให้เห็นซี่ฟันในปาก โดยเฉพาะฟันที่ริมฝีปากบน อันเป็นที่มาของชื่อ สันนิษฐานว่าเพื่อใช้สำหรับในการงับลูกไม้หรือผลไม้ต่าง ๆ ที่ตกลงไปในน้ำซึ่งเป็นอาหารหลัก มีขนาดเมื่อโตเต็มที่เล็กกว่าปลาแรดธรรรมดา กล่าวคือ ประมาณ 40 เซนติเมตร เท่านั้น โดยพบใหญ่ที่สุดประมาณ 2 ฟุต โดยปลาขนาดเล็กจะมีแถบสีส้มหรือสีแดงคล้ายคลึงกับปลาแรดแดง (O. laticlavius) มาก และไม่มีแถบแนวตั้งที่ชัดเจน หรือมีก็แค่จาง ๆ มีจุดสีดำขนาดใหญ่ที่โคนหางเหนือครีบก้นชัดเจน มีส่วนหลังสีน้ำตาลเข้มและส่วนท้องสีจางกว่า นอกจากนี้แล้วปลาแรดแม่น้ำโขงยังมีกระดูกปิดเหงือก เมื่อเทียบกับขนาดตัวใหญ่กว่าปลาแรดชนิดอื่น ๆ อีกด้วย ตัวผู้มีหัวโหนกนูน ขากรรไกร และริมฝีปากหนาและใหญ่กว่าตัวเมีย ขณะที่ตัวเมียจะมีจุดสีดำบริเวณโคนครีบอก ซึ่งตัวผู้ไม่มี จากการสำรวจของ ดร. ีน้ำตาล (Brown) เป็นสีชนิดหนึ่งที่คล้ายกับสีของลำต้นของต้นไม้ ออกสีส้มแก่ๆ ผสมกับสีเขียวไปด้วย พบเห็นได้ทั่วไป เช่น กิ่งและลำต้นของต้นไม้ เป็นต้น เป็นสีที่ไม่ค่อยจะสะท้อนแสงเท่าไรนัก จัดอยู่ในกลุ่มจำพวกสีเย็น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาแรดแม่น้ำโขงและสีน้ำตาล

ปลาแรดแม่น้ำโขงและสีน้ำตาล มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาแรดแม่น้ำโขงและสีน้ำตาล

ปลาแรดแม่น้ำโขง มี 23 ความสัมพันธ์ขณะที่ สีน้ำตาล มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (23 + 1)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาแรดแม่น้ำโขงและสีน้ำตาล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »