โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาบู่ทอง

ดัชนี ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านทางภาคกลางของไทย ที่เล่าโดยผ่านวิธีมุขปาฐะ, ร้อยแก้ว, ร้อยกรอง มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กสาวชาวบ้านผู้มีใจเมตตาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้ง โดยเชื่อว่ามีที่มาจากชนชาติจ้วง-ลาว-ไท ในภาคใต้ของจีน เล่าถ่ายทอดกันมาแต่ดึกดำบรรพ์ และในชนพื้นเมืองในหลายชาติของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ลาว, เขมร, พม่า ก็มีเรื่องราวทำนองคล้ายกันนี้ แต่เรียกชื่อต่างออกไป และคล้ายคลึงกับนิทานพื้นบ้านของยุโรป คือ ซินเดอเรลลา ในปี..

49 ความสัมพันธ์: บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่นพ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พิศมัย วิไลศักดิ์พีชญา วัฒนามนตรีกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดภาวนา ชนะจิตมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมรัตนาภรณ์ อินทรกำแหงรายชื่อละครจักร ๆ วงศ์ ๆฤๅษีลลนา สุลาวัลย์ละครโทรทัศน์ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)วิไลวรรณ วัฒนพานิชศรินทิพย์ ศิริวรรณสกุลมะเขือสมภพ เบญจาธิกุลสมควร กระจ่างศาสตร์สรพงศ์ ชาตรีสุภาพ ไชยวิสุทธิกุลสุริยา ชินพันธุ์สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7อรสา พรหมประทานอรุโณทัย จิตตรีขันธ์อัมรินทร์ สิมะโรจน์อัจฉรา ทองเทพอำนวย กลัสนิมิจ้วงทราย เจริญปุระดาราวิดีโอต้นพระศรีมหาโพธิ์ซินเดอเรลล่าปรียา รุ่งเรืองปัทมา ปานทองนกแขกเต้านิทานพื้นบ้านน้ำทิพย์ เสียมทองน้ำเงิน บุญหนักไชยา สุริยันไพรัช สังวริบุตรไพโรจน์ สังวริบุตรเพ็ญศรี พุ่มชูศรีเมตตาเยาวเรศ นิสากร28 กุมภาพันธ์6 มิถุนายน

บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น

ริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ โดยปัจจุบันผลิตรายการประเภทละครโทรทัศน์เป็นหลัก ก่อตั้งโดยคุณ อรุโณชา ภาณุพันธุ์ อดีตผู้กำกับรายการของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและบรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พิศมัย วิไลศักดิ์

มัย วิไลศักดิ์ ชื่อเล่น มี้ (7 ธันวาคม พ.ศ. 2482-) เป็นศิลปินนักแสดงอาวุโสและเป็นครูสอนศิลปะการแสดง เจ้าของฉายา ดาราเงินล้าน มีผลงานแสดงภาพยนตร์ประมาณ 300 เรื่อง พิศมัย วิไลศักดิ์ ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์) ประจำปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและพิศมัย วิไลศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พีชญา วัฒนามนตรี

ีชญา วัฒนามนตรี (เกิด 28 เมษายน พ.ศ. 2532) ชื่อเล่น มิน เป็นดารานักแสดงและนางแบบชาวไทยที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและพีชญา วัฒนามนตรี · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงวัฒนธรรม (Ministry of Culture) เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรม ภาษา ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีอื่น.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและกระทรวงวัฒนธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

ภาวนา ชนะจิต

วนา ชนะจิต (Parwarna Liu Lan Ying; 劉蘭英; ชื่อเล่น: หยิน) มีชื่อจริงว่า อรัญญาภรณ์ เหล่าแสงทอง (ชื่อเดิม: อรัญญา; 20 ธันวาคม พ.ศ. 2485 — 10 กันยายน พ.ศ. 2555) นักแสดงภาพยนตร์ชาวไทย ที่ได้รับฉายา ไข่มุกแห่งเอเชี.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและภาวนา ชนะจิต · ดูเพิ่มเติม »

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

ัญลักษณ์ของอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม หรือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (intangible cultural heritage, ย่อ: ICH) ได้รับการสนับสนุนจากยูเนสโก โดยมุ่งเน้นไปยังวัฒนธรรมส่วนที่จับต้องไม่ได้เป็นหลัก คู่กับมรดกโลก ใน..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง

รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง (25 กันยายน พ.ศ. 2475 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) ชื่อเล่น แดง ชื่อจริง รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ณ ราชสีมา นักแสดงอาวุโส อดีตนางเอกยอดนิยมในช่วงปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและรัตนาภรณ์ อินทรกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อละครจักร ๆ วงศ์ ๆ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและรายชื่อละครจักร ๆ วงศ์ ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ฤๅษี

วนฤๅษีผู้เลื่องชื่อในเทพปกรณัมฮินดู ฤๅษี หรือ ฤษี (สันสกฤต: ṛṣi; เทวนาครี: ऋषि) ภาษาสันสกฤตอ่านว่า ฤษิ หมายความว่า ผู้แต่งพระเวท หรือผู้เห็น ฤๅษีเป็นนักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ ตามสถานที่สงัดต่างๆ ในป่าเขาหรือถ้ำ และเดิมมักเป็นหญิง ซึ่งเรียก "ฤษิก" (rishika) ตามความในคัมภีร์สารวานุกรมนี (Sarvanukramani) ในบรรดาผู้แต่งฤคเวทนั้น เป็นฤษีหญิงถึงยี่สิบคน ฤษี อาจหมายถึงมุนี (muni) ฤษี อีกความหมายหนึ่งคือ ฤษีเพศชาย ส่วน "ฤษิณี" หมายถึง ฤษีเพศหญิง ฤษีที่มีชื่อเสียงชื่อ ฤษี วยาส ผู้สร้างโศลกเรื่องมหากาพย์ภารตะ ซึ่งเป็นมหากาพย์ที่มีจำนวนโศลกมากจำนวนประมาณถึง 1 แสนโศลก ตำนานเล่าว่า ฤๅษีเวทวฺยาส หรือ กฤษฺณ ไทฺวปายน เป็นปู่ของสองพี่น้องตระกูลเการพและปาณฑพ และเป็นเหลนใหญ่ของท้าวภรต คัมภีร์โบราณของฮินดูระบุไว้ว่า ท้าวภรต (ภะ-ระ-ตะ) ผู้นี้เป็นโอรสท้าวทุษยันต์ อันเกิดจากนางศกุนตล.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

ลลนา สุลาวัลย์

ลลนา สุลาวัลย์ ชื่อจริง ลลนา บำเรอจิต ชื่อเล่น จิ๋ม(เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2503 ที่อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี) ดารานักแสดงหญิง ที่ได้รับฉายาว่า "นางเอกหลายสิบล้าน" "นางเอกเขี้ยวเสน่ห์" มีผลงานการแสดงได้รับความนิยมสูงสุด ช่วง..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและลลนา สุลาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและละครโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

วิไลวรรณ วัฒนพานิช

วิไลวรรณ วัฒนพานิช (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2475 -) นักแสดงหญิงชาวไทย เจ้าของฉายา "ดาราเจ้าน้ำตา" และเธอเป็นนักแสดงนำหญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลตุ๊กตาทอง เมื่อปี พ.ศ. 2500.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและวิไลวรรณ วัฒนพานิช · ดูเพิ่มเติม »

ศรินทิพย์ ศิริวรรณ

รินทิพย์ ศิริวรรณ นักแสดงอาวุโส ผู้เคยรับบทนำในภาพยนตร์ โรงแรมนรก ของ รัตน์ เปสตันยี คู่กับชนะ ศรีอุบล และสุรสิทธิ์ สัตยวงศ์ เคยได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง 3 ครั้ง เป็นรางวัลนักแสดงประกอบหญิง 2 ครั้ง จากเรื่อง ขบวนเสรีจีน (2502) และ ลูกอีสาน (2525) และรางวัลตลกหญิงยอดเยี่ยม จากเรื่อง ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท (2529) ระยะหลังหันมาแสดงละครโทรทัศน์ เนื่องจากเป็นดาราหน้าตาย ไม่ค่อยยิ้ม จึงมักได้รับบทแม่ บทที่เป็นที่จดจำคือ บทหม่อมแม่ ของคุณชายกลาง ในเรื่องบ้านทรายทอง ฉบับจารุณี สุขสวัสดิ์-พอเจตน์ แก่นเพชร ศรินทิพย์ มีชื่อจริงว่า ไพลิน คอลลิน เกิดที่อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เมื่อ พ.ศ. 2469 บิดาเป็นชาวเนเธอร์แลนด์ จบการศึกษาจากโรงเรียนผดุงดรุณี แล้วไปสมัครเป็นนักร้องของวงดนตรีกรมสรรพสามิต และได้พบรักกับชาลี อินทรวิจิตร นักแต่งเพลง และแต่งงานกัน ชาลี อินทรวิจิตร ได้นำเธอไปฝากฝังกับ อรรถ อรรถไกวัลวที ผู้จัดการคณะละครเทพศิลป์ ซึ่งชักนำเข้าสู่วงการ และตั้งชื่อให้ว่า "ศรินทิพย์ ศิริวรรณ" ได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง โรงแรมนรก เป็นเรื่องแรกในปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและศรินทิพย์ ศิริวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สกุลมะเขือ

กุลมะเขือ (Solanum) ประกอบด้วยพืชปีเดียวและพืชสองปีมากมายหลายชนิด ปัจจุบัน มีอยู่ประมาณ 1,500-2,000 สปีชีส์ กลุ่มใบและผลมีเนื้อหลายเมล็ดของมันมีพิษ โดยสารหลักที่ออกฤทธิ์ คือ โซลานิน ซึ่งอาจทำให้ชักและเสียชีวิตได้หากรับประทานในปริมาณมาก.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสกุลมะเขือ · ดูเพิ่มเติม »

สมภพ เบญจาธิกุล

มภพ เบญจาทิกุล นักแสดงชายอาวุโส เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2488 จบการศึกษาระดับปว.จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง จบระดับปว.สาขาช่างไฟฟ้าจากสถาบันเทคโนโลยีช่างกลปทุมวัน มีชื่อเสียงมาจากการรับบทเกย์ในภาพยนตร์เรื่อง นางแบบมหาภัย จากการกำกับของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในปี พ.ศ. 2518 ซึ่งนับว่าเป็นบทชายรักชายครั้งแรกในวงการภาพยนตร์ไทยเลยก็ได้ว่า และทำให้คนไทยได้รู้จักกับคำว่า "เกย์" เป็นครั้งแรก จากนั้นก็ได้แสดงในหลายต่อหลายเรื่องตามมา โดยมากจะเป็นบทร้าย แต่บางครั้งก็รับบทเป็นพระเอก เช่น ชายกลาง ใน บ้านทรายทอง ละครโทรทัศน์ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2520 คู่กับ ศันสนีย์ สมานวรวงศ์ ปัจจุบัน สมภพ เบญจาทิกุล มีบทบาทการแสดงเป็นตัวประกอบบ้างและบทของพ่อบ้าง ผลงานในระยะหลังได้รับการการกล่าวขานว่าแสดงได้สมบทบาท จนมีชื่อเข้าชิงรางวัลนักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยมหลายครั้ง จากหลายเรื่อง เช่น คืนบาปพรหมพิราม ในปี พ.ศ. 2546, โหมโรง ในปี พ.ศ. 2547 และบทของ พระเจ้าบุเรงนอง จาก ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปี พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสมภพ เบญจาธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมควร กระจ่างศาสตร์

มควร กระจ่างศาสตร์ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 13 มกราคม พ.ศ. 2551) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักแสดงอาวุโส ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ละครเวที-นักแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสมควร กระจ่างศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล

วิสุทธิกุล (ชื่อเล่น ติ่ง) เกิด 27 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นนักพากย์ชายชาวไทย ที่มีน้ำเสียงและลีลาการพากย์หาตัวจับยากคนหนึ่งของวงการ สามารถพากย์ได้ดีทั้งบทพระเอก บทขรึม ตัวโกง หรือแม้แต่ ตัวตลก ปัจจุบันพากย์เสียงอยู่กับ ทีมพากย์พันธมิตร รวมทั้งพากย์เสียงให้กับทาง ช่อง 9 อสมท.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสุภาพ ไชยวิสุทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริยา ชินพันธุ์

ริยา ชินพันธุ์ มีชื่อจริงคือ ธนยศ ชินพันธุ์ (ชื่อเดิม: ประมูล ชินพันธุ์) มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" หรือ "เอ" เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 ที่อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เป็นลูกชายคนที่ 3 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 6 คนซึ่งเป็นชาย 4 หญิง 2 ในบรรดาลูก ๆ ของนายวิบูลย์และนางจิตรา ชินพัน.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสุริยา ชินพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · ดูเพิ่มเติม »

อรสา พรหมประทาน

อรสา พรหมประทาน มีชื่อเล่นว่า "ติ๋ว" มีชื่อจริงชื่อ อรสา ทองพรหม เข้าสู่วงการบันเทิงจากการประกวด และได้รางวัล มิสเอซี ประจำปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและอรสา พรหมประทาน · ดูเพิ่มเติม »

อรุโณทัย จิตตรีขันธ์

อรุโณทัย จิตรีขันธ์ (น้อง) เป็นนักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและอรุโณทัย จิตตรีขันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัมรินทร์ สิมะโรจน์

อัมรินทร์ สิมะโรจน์ นักแสดง, นักธุรกิจและนักการเมืองในระดับท้องถิ่นชาวไทย มีชื่อเล่นว่า "หลุยส์" เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและอัมรินทร์ สิมะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉรา ทองเทพ

อัจฉรา ทองเทพ (เกิด 23 ธันวาคม 2515) มีชื่อเล่นว่า เอ๋ นักแสดงหญิงชาวไทยและเคยได้รับตำแหน่งรองอันดับ 1 มิสทีนไทยแลนด์ ปี 2535.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและอัจฉรา ทองเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อำนวย กลัสนิมิ

ใจเพชร (2506) ชโลมเลือด (2506) พันธุ์ลูกหม้อ (2507) สิงห์ล่าสิงห์ (2507) ผู้ชนะสิบทิศ ตอน ยอดขุนพล (2509) อำนวย กลัสนิมิ หรือ ครูเนรมิต (พ.ศ. 2458 − 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้สร้างภาพยนตร์ ผู้บุกเบิกการสร้างภาพยนตร์ไทยด้วยฟิล์ม 16 ม.ม. ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์-ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและอำนวย กลัสนิมิ · ดูเพิ่มเติม »

จ้วง

้วง หรือ ปู้จ้วง (จ้วง: Bouчcueŋь/Bouxcuengh) เป็นกลุ่มชนในกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได มีประชากรมากที่สุด ราว 18 ล้านคน แต่พวกเขาเพิ่งยอมรับคำว่า จ้วง เป็นชื่อชนชาติ เมื่อทางการจีนใช้คำเขียนใหม่ที่มีความหมายในทางที่ดีขึ้น เพราะในสมัยราชวงศ์ซ้อง คำว่า จ้วง (僮) ใช้เรียกทหารที่เป็นจ้วง สมัยราชวงศ์หยวน ใช้ตัวอักษรจีน ที่แปลว่า ปะทะ สมัยราชวงศ์หมิง ราชวงศ์ชิง จนถึงสมัยก๊กมินตั๋ง เปลี่ยนอักษรตัวแรกเป็นความหมายว่า "สัตว์" (獞) จนถึง พ.ศ. 2508 จึงเปลี่ยนเป็นตัวที่มีความหมายว่า เติบโต และแข็งแรง (壯/壮).

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและจ้วง · ดูเพิ่มเติม »

ทราย เจริญปุระ

ทราย เจริญปุระ (23 ธันวาคม พ.ศ. 2523 -) มีชื่อจริงว่า อินทิรา เจริญปุระ มีชื่อเล่นว่า "ทราย" เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย เป็นบุตรสาวของอดีตนักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง รุจน์ รณภพ มีศักดิ์เป็นน้องสาวต่างมารดากับใหม่ เจริญปุร.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและทราย เจริญปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราวิดีโอ

ริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ปัจจุบันบริหารงานโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร ผลงานเด่น เช่น คู่กรรม, วันนี้ที่รอคอย, มนต์รักลูกทุ่ง, ดาวพระศุกร์, สายโลหิต, ด้วยแรงอธิษฐาน, ทัดดาวบุษยา, จำเลยรัก, นิรมิต, สวรรค์เบี่ยง, ญาติกา, มงกุฎดอกส้ม, เบญจรงค์ห้าสี, ปอบผีฟ้า, เงิน เงิน เงิน, ซุ้มสะบันงา, คือหัตถาครองพิภพ, คมพยาบาท.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและดาราวิดีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและต้นพระศรีมหาโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซินเดอเรลล่า

ียนของกุสตาฟ โดเร เรื่อง ''Cendrillon'' ซินเดอเรลล่า (Cinderella; Cendrillon) เป็นเทพนิยายปรัมปราที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงทั่วทั้งโลก มีการดัดแปลงเป็นรูปแบบต่าง ๆ มากมายกว่าพันครั้ง เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเด็กสาวกำพร้าผู้หนึ่งที่อยู่ในอุปถัมภ์ของแม่เลี้ยงกับพี่สาวบุญธรรมสองคน แต่ถูกทารุณและใช้งานเยี่ยงทาส ต่อภายหลังจึงได้พบรักกับเจ้าเมืองหรือเจ้าชายผู้สูงศักดิ์ ตำนานซินเดอเรลล่ามีปรากฏในเทพนิยายหรือนิทานพื้นบ้านประเทศต่าง ๆ ทั่วทั้งโลกโดยมีชื่อของตัวเอกแตกต่างกันออกไป ทว่าฉบับที่มีชื่อเสียงที่สุดเป็นของนักเขียนชาวฝรั่งเศสชื่อ ชาร์ล แปโร ในปี ค.ศ. 1697 ซึ่งอิงมาจากวรรณกรรมของ จิอัมบัตติสตา เบซิล เรื่อง La Gatta Cenerentola ในปี ค.ศ. 1634 ในเรื่องนี้ตัวเอกมีชื่อว่า เอลลา (Ella) แต่แม่เลี้ยงกับพี่สาวใจร้ายของเธอพากันเรียกเธอว่า ซินเดอเรลล่า (Cinderella) อันหมายถึง "เอลลาผู้มอมแมม" ซึ่งกลายเป็นชื่อเรียกเทพนิยายในโครงเรื่องนี้โดยทั่วไป ซินเดอเรลล่า ได้รับการโหวตจากเด็ก ๆ กว่า 1,200 คนจากการสำรวจโดย cinema chain UCI เป็นเทพนิยายยอดนิยมอันดับหนึ่งในดวงใจ เมื่อปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและซินเดอเรลล่า · ดูเพิ่มเติม »

ปรียา รุ่งเรือง

ปรียา รุ่งเรือง (พ.ศ. 2483 - 2527) นักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากบทนางเอกภาพยนตร์เรื่อง แม่นาคพระโขนง ของ เสน่ห์ โกมารชุน เจ้าของฉายา "นางเอกอกเขาพระวิหาร" เข้าสู่วงการแสดงจากการประกวดเทพี ในพิธีมอบรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501 ได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ แสดงภาพยนตร์เรื่องแรก แผ่นดินใคร (2502) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับกรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร ระหว่างไทยกับกัมพูชา และได้รับบทนำครั้งแรกเป็นหัวหน้าโจรในชุดลายเสือ เรื่อง นางเสือดาว (2508) คู่กับ แมน ธีระพล ปรียา มักได้แสดงบทที่มีฉากวาบหวาม นับเป็นนางเอกคนแรกๆ ที่แสดงบททำนองนี้ รวมทั้งเป็นนางแบบชุดว่ายน้ำตีพิมพ์ลงในปฏิทินของสุราแม่โขง ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับเสน่ห์ โกมารชุน มีบุตรสาวคือ ยอดสร้อย โกมารชุน ออกจากวงการในช่วง..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและปรียา รุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ปัทมา ปานทอง

ปัทมา ปานทอง เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2510 เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อคือภาพยนตร์เรื่อง เด็ดหนวดพ่อตา ละครเรื่อง หมูแดง, ขมิ้นกับปูน และมีผลงานเพลง อัลบั้มชุดที่ 2 ไม่เป็นไร และอัลบั้มคู่ ชื่อชุด คู่เท่ห.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและปัทมา ปานทอง · ดูเพิ่มเติม »

นกแขกเต้า

นกแขกเต้า เป็นนกแก้วชนิดหนึ่ง ถือว่าเป็นนกประจำถิ่นที่พบได้ทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้เท่านั้นที่ไม.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและนกแขกเต้า · ดูเพิ่มเติม »

นิทานพื้นบ้าน

นิทานพื้นบ้าน (folktale) เป็นนิทานประเภทหนึ่ง เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาซึ่งอาจไม่มีบันทึกเป็นหลักฐาน เนื่องจากสมัยโบราณไม่มีความบันเทิงในรูปแบบอื่นในสังคมหลายวัฒนธรรมใช้การเล่าเรื่องสู่กันฟังซึ่งมักเป็นเรื่องราวจากจินตนาการแสดงความเชื่อของชาวบ้าน นิทานพื้นบ้านมักได้รับการบันทึกหรือตีพิมพ์ภายหลังและมักหาต้นกำเนิดไม่ได้ และมีการแต่งแต้มเรื่องราวเพิ่มเติมตามจินตนาการของผู้เล่า นิทานพื้นบ้านที่โด่งดัง อย่างเช่น ซินเดอเรลลา เจ้าชายกบ แจ๊คผู้ฆ่ายักษ์ เจ้าหญิงนิทร.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและนิทานพื้นบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำทิพย์ เสียมทอง

น้ำทิพย์ เสียมทอง หรือ ทิพย์ เกิดเมื่อ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 จังหวัดราชบุรี เป็นดารา นักแสดงสังกัด ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น และ ดาราวีดีโอ (ช่อง 7) โด่งดังจากการเล่นละครแนว จักร ๆ วงศ์ ๆ เข้าสู่วงการด้วยการชนะเลิศการประกวด มิสทีนไทยแลนด์ ปี 2537.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและน้ำทิพย์ เสียมทอง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเงิน บุญหนัก

น้ำเงิน บุญหนัก หรือชื่อจริงว่า สวง จารุวิจิตร และชื่อเล่นว่า เปี๊ยก (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2483) เป็นนักแสดงและนักพากย์ชาวไทย จบการศึกษาจากโรงเรียนขัตติยาณีผดุงศึกษา เข้าสู่วงการการแสดงครั้งแรกเมื่อปี 2499 จากการชักนำของ ม.ล.ทรงสอางค์ ทิฆัมพร ผลงานแรกคือภาพยนตร์เรื่อง สาปสวรรค์ เมื่อปี..

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและน้ำเงิน บุญหนัก · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา สุริยัน

ริยัน หรือชื่อจริง หม่อมหลวงอภิรัฐ จรูญโรจน์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533) นักแสดงเจ้าบทบาท เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทอง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม 3 ปี ซ้อน ระหว่างปี พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและไชยา สุริยัน · ดูเพิ่มเติม »

ไพรัช สังวริบุตร

รัช สังวริบุตร (เกิด 27 กันยายน พ.ศ. 2474) ชื่อเล่น หรั่ง เป็นผู้กำกับและผู้จัดละครโทรทัศน์ชาวไทย ได้รับเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและไพรัช สังวริบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ สังวริบุตร

รจน์ สังวริบุตร ในเรื่อง เลือดสุพรรณ ไพโรจน์ สังวริบุตร (ชื่อเล่น: เอ๋) เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และนักแสดงชาวไทย เป็นน้องชายของ จีราภา ปัญจศิลป์ เจ้าของคณะละครวิทยุอัชชาวดี บุตรชายของคารม สังวริบุตร ดาราแห่งคณะละครวิทยุแก้วฟ้า ซึ่งเป็นพี่ชายของไพรัช สังวริบุตร(ศิลปินแห่งชาติ) จบการศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ และปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก เข้าวงการบันเทิงครั้งแรกโดยการเล่นภาพยนตร์ทางโทรทัศน์ เมื่อตอนยังหนุ่มอายุได้ 20 ปี เรื่อง “โกมินทร์ กุมาร” โดยเล่นเป็นยอดตัวเอกของเรื่องคือ โกมินทร์ กุมาร แต่ผลงานที่สร้างชื่อเสียง ซึ่งนับว่าเป็นผลงานที่สองในวงการบันเทิง คือภาพยนตร์เรื่อง “วัยอลวน” เมื่ออายุ 21 ปี ในบท “ ตั้ม ” และได้มีผลงานการแสดงตามมาอย่างต่อเนื่อง เช่น ภาพยนตร์เรื่อง รักอุตลุด(2520), ชื่นชุลมุน(2521), จำเลยรัก(2521), คู่รัก(2521), หงส์ทอง(2520), สุภาพบุรุษทรนง(2528), ช่างร้ายเหลือ (2527), ผู้ใหญ่ลีกับนางมา(2528) ฯลฯ ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างภาพยนตร์ของตัวเองออกมาประมาณ 11-12 เรื่องด้วยกัน ผลงานจอแก้ว อย่างเช่นเรื่อง ยุทธการปราบเมียน้อย ซึ่งเป็นละครเรื่องแรกที่สร้าง กำกับ และแสดงด้วยตนเอง ตามด้วย โนราห์, ลูกไม้ไกลต้น, ตลาดน้ำดำเนินรัก, รักในม่านเมฆ และอีกมากมาย อีกทั้งยังเป็นพิธีกรควบตำแหน่งครูใหญ่ของรายการเรียลลิตี้ เดอะเทรนเนอร์ ปั้นฝันสนั่นเวที ไพโรจน์เคยมีผลงานอัลบั้มเพลงมาแล้วครั้งหนึ่ง โดยใช้ชื่อว่า "ผมทำเพื่อความมันส์ครับพี่" ในช่วงที่เพิ่งมีชื่อเสียงจากงานแสดงภาพยนตร์ ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ ชญานิศวร์ พิริยศุภกาญจน์ ไพโรจน์มีบุตร 3 คน น..จิตรลดา สังวริบุตร นายจิรายุษ สังวริบุตร นายรวิกร สังวริบุตร.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและไพโรจน์ สังวริบุตร · ดูเพิ่มเติม »

เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

็ญศรี พุ่มชูศรี (17 มิถุนายน พ.ศ. 2472—14 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) หรือชื่อเดิม ผ่องศรี พุ่มชูศรี รู้จักกันในชื่อเล่น ป้าโจ๊ว เป็นนักร้อง และครูสอนขับร้องเพลงไทยสากล เป็นนักร้องประจำวงดนตรีกรมโฆษณาการ หรือสุนทราภรณ์ ได้รับการคัดเลือกให้ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตั้งแต่ครั้งแรกที่มีการบันทึกแผ่นเสียง ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและเพ็ญศรี พุ่มชูศรี · ดูเพิ่มเติม »

เมตตา

ในศาสนาพุทธ เมตตา เป็นหลักธรรมหนึ่งในพรหมวิหาร 4 ซึ่งประกอบไปด้วย เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา โดยเป็นปัจจัยให้เกิดพรหมวิหารอื่นได้.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและเมตตา · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ นิสากร

วเรศ นิศากร (มักเขียนเป็น นิสากร) เป็นนักแสดงชาวไทย เจ้าของฉายา "เพชรา 2 " ในอดีต (เนื่องจากมีส่วนคล้ายนางเอก เพชรา เชาวราษฎร์) เจ้าของรางวัลเมขลา (มัสยา,แหวนทองเหลือง และ อีสา) และ เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ (ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529).

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและเยาวเรศ นิสากร · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ปลาบู่ทองและ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ปลาบู่ทอง (ละครรีเมกซ์ ของช่อง 7 สี)ปลาบู่ทอง (ละครโทรทัศน์ปี พ.ศ. 2552)ปลาบู่ทอง (นิยาย)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »