โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ดัชนี ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์

ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์ เป็นนักวิชาการทางบูรพคดีศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล เคยมีผลงานเขียนทั้งบทกวีและบทความตามสื่อมวลชนมาระยะหนึ่งก่อนจะปักหลักทำงานสอนและวิจัยในวิชาชีพที่ถนัดอย่างจริงจังในปัจจุบัน.

58 ความสัมพันธ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลบางกอกโพสต์ชนิกา ตู้จินดาพระเวทพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ภาษาบาลีภาษาศาสตร์เปรียบเทียบภาษาสันสกฤตภาษาอเวสตะภาษาเปอร์เซียโบราณมหายานมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดมหาวิทยาลัยปารีสมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์มูลนิธิปุญญานุภาพมูลนิธิแผ่นดินธรรมมติชนวรรณคดีวัดบวรนิเวศราชวรวิหารวิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอนวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลศาสนาพุทธศาสนาฮินดูศูนย์พุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)สยามรัฐรายวันสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงสุชีพ ปุญญานุภาพสุทัศน์ ฟู่เจริญหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลอวย เกตุสิงห์อัษฏาธยายีอายุรเวทวิทยาลัยอำเภอวารินชำราบองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกจริยธรรมจริยธรรมแพทย์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธรรมจักษุคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล...คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลประคอง นิมมานเหมินท์ปาณินินาคหลวงเทพนม เมืองแมน ขยายดัชนี (8 มากกว่า) »

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

ัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นสถานศึกษาวิชาการความรู้ในระดับที่สูงขึ้นของมหาวิทยาลัยมหิดล ผลิตนักศึกษาปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกโพสต์

งกอกโพสต์ (Bangkok Post) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษ ที่ตีพิมพ์จำหน่ายในประเทศไทย ของบางกอกโพสต์ บางกอกโพสต์ ตีพิมพ์และออกจำหน่ายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย บริษัท โพสต์พับลิชชิ่ง จำกัด ซึ่งบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ และถือว่าเป็นผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ฉบับนี้คือ นาวาตรีอเล็กซานเดอร์ วิลเลี่ยม แมคโดนัล นายทหารชาวอเมริกัน ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ในระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เพื่อปฏิบัติการร่วมกับขบวนการเสรีไทย ทั้งนี้ ก่อนที่จะรับราชการทหารนั้น นาวาตรีแมคโดนัล มีอาชีพเป็นนักหนังสือพิมพ์มาก่อน จากนั้น จึงขายกิจการแก่นักลงทุนชาวเยอรมัน ต่อมา ลอร์ดทอมสัน ซึ่งเป็นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ลอนดอนไทม์ และหัวอื่นๆ อีกกว่า 150 ฉบับทั่วโลก ได้เข้าซื้อหุ้นของบริษัทฯ เกือบทั้งหมด พร้อมเข้าบริหาร จนกระทั่งเดือนธันวาคม พ.ศ. 2527 คณะผู้บริหารมีมติให้นำบริษัทฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และบางกอกโพสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนิกา ตู้จินดา

ตราจารย์เกียรติคุณ แพทย์หญิง ชนิกา ตู้จินดา (25 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และชนิกา ตู้จินดา · ดูเพิ่มเติม »

พระเวท

ระเวท คัมภีร์ในศาสนาฮินดู หน้าหนึ่งจากอาถรรพเวท พระเวท (वेद) โดยทั่วไปถือว่าเป็นคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู หากกล่าวโดยเฉพาะลงไป หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนาพราหมณ์ฮินดู โดยมีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ในชั้นหลัง คำว่า “เวท” นั้น หมายถึง ความรู้ มาจากธาตุ “วิทฺ” (กริยา รู้) คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วยคัมภีร์ 4 เล่ม ได้แก่ ฤคเวทใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวทใช้สำหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้ำโสมแก่พระอินทร์และขับกล่อมเทพเจ้า ยชุรเวทว่าด้วยระเบียบวิธีในการประกอบพิธีบูชายัญและบวงสรวงต่างๆ และ อาถรรพเวท ใช้เป็นที่รวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ นักประวัติศาสตร์จำนวนมาก ถือว่า พระเวท เป็นส่วนที่เก่าที่สุดที่เหลืออยู่ สำหรับส่วนที่ใหม่สุดของพระเวท น่าจะมีอายุราวพุทธกาล และส่วนที่เก่าสุด ราว 1,000 ปีก่อนพุทธกาล แต่นักภารตวิทยาเชื่อว่า เนื้อหาของคัมภีร์เหล่านี้น่าจะได้มีการท่องจำกันมาก่อนการบันทึกเป็นเวลานานมากแล้ว ซึ่งมีหลักฐานจากลักษณะทางภาษา และปริบททางสังคมต่าง.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และพระเวท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาบาลี

ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และภาษาบาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ

ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative linguistics) หรือ นิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ (comparative philology) เป็นสาขาหนึ่งของภาษาศาสตร์เชิงประวัติ มุ่งที่จะศึกษาความเกี่ยวเนื่องของภาษาโบราณ เช่น ภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อันมีภาษาต่าง ๆ ได้แก่ กรีก ละติน สันสกฤต อเวสตะ บาลี ฮิตไทต์ เปอร์เซียโบราณ ฯลฯ เนื้อหาสาระจะศึกษาประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของภาษาตระกูลอินโดยุโรปที่ไปแตกกิ่งแขนงในรูปภาษาต่าง ๆ ดังกล่าว แต่ภาษาเหล่านี้ยังมีระบบเสียง (phonology) ระบบหน่วยคำ (morphology) และระบบวากยสัมพันธ์ (syntax) ที่ละม้ายกันมาก ความละม้ายกันนี้ มีผู้ตั้งทฤษฎีต่าง ๆ ขึ้นมามากมาย ซึ่งแต่ละทฤษฎีล้วนแต่ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่มีต่อกันอย่างแนบแน่น ทำให้ความเชื่อที่ว่าภาษาต่าง ๆ เหล่านี้มาจากต้นตอเดียวกันแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ในประเทศไทย ผู้บุกเบิกงานนิรุกติศาสตร์เปรียบเทียบ และผลิตงานวิชาการทางนี้ออกมาบ้าง ได้แก่ เสฐียรโกเศศ (พระยาอนุมานราชธน) และกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ปัจจุบันมีการศึกษาด้านนี้อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะภาษาในตระกูลไท มอญ-เขมร ส่วย กูย เป็นต้น หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และภาษาสันสกฤต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอเวสตะ

ษาอเวสตะ (Avestan language) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดของชาวอิหร่านโบราณ มีอายุไล่เลี่ยกับ ภาษาพระเวท หรือ ภาษาไวทิกะ ซึ่งเป็นภาษาบันทึกคัมภีร์พระเวทของฝ่ายอินเดีย ภาษาอเวสตะเป็นภาษาที่บันทึกความเชื่อทางศาสนาของคนอิหร่านโบราณที่เก่าแก่ที่สุดของชาตินี้ ใช้ในบทสวดมนต์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ ภาษาอเวสตะจัดอยู่ในตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป สาขาย่อยอินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน)เป็นภาษากลุ่มอิหร่านที่เก่าสุดเท่าที่มีหลักฐาน เช่นเดียวกับภาษาเปอร์เซียโบราณ เขียนด้วยอักษรอเวสตะ ภาษานี้แบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และภาษาอเวสตะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเปอร์เซียโบราณ

ร่างของคอลัมน์แรกของจารึกเบอิสตุน ภาษาเปอร์เซียโบราณ (Old Persian) เป็นภาษาในจารึกซึ่งค้นพบในบริเวณที่ตั้งของประเทศอิหร่านในปัจจุบัน มีอายุราว 600-500 กว่าปีก่อนคริสตกาล ภาษานี้มีอายุไล่เลี่ยกับภาษาบาลีในอินเดีย และมีลักษณะโครงสร้างทางภาษาที่คล้ายกันมาก เปอร์เซียโบราณเป็นภาษาของชาวอิหร่านที่พัฒนาขึ้นในสมัยกลาง วิวัฒนาการมาจากภาษาอเวสตะซึ่งเป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดของชาวอิหร่านโบราณ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และภาษาเปอร์เซียโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

มหายาน

มหายาน เป็นนิกายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย, เนปาล, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, เวียดนาม, มองโกเลีย ไปจนถึงบางส่วนของรัสเซีย จุดเด่นของนิกายนี้อยู่ที่แนวคิดเรื่องการบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์สร้างบารมีเพื่อช่วยเหลือสรรพชีวิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกข์ ด้วยเหตุที่มีผู้นับถืออยู่มากในประเทศแถบเหนือจึงเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า อุตตรนิกาย ปัจจุบันพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู้นับถือนิกายมหายาน.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหายาน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร โดยมี "หอการค้าไทย" เป็นเจ้าของ และได้รับการยอมรับว่าเป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจในประเทศไทย ประกอบด้วย 9 คณะ ได้แก่ คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี คณะเศรษฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะนิเทศศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และคณะการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการ รวมถึง 2 วิทยาลัย ได้แก่ วิทยาลัยผู้ประกอบการ และวิทยาลัยนานาชาติ โดยเปิดสอนระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมทั้งหลักสูตรนานาชาต.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University อ่านว่า ฮารฺเวิรฺด) มหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกาได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน พ.ศ. 2179 (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน พ.ศ. 2549 ฮาร์วาร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก โดยในปี..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยปารีส

มหาวิทยาลัยปารีส (Université de Paris) หรือนามนัยเป็นที่รู้จักกันว่า ซอร์บอนน์ (บ้านประวัติศาสตร์) เป็นมหาวิทยาลัยในปารีส ฝรั่งเศส ก่อตั้งประมาณ..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมหาวิทยาลัยปารีส · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็น"องค์กรการกุศล"จัดตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่เผยแผ่ พุทธธรรมโดยจัดตรวจชำระและแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนา แล้วจำหน่ายเผยแผ่ในราคาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ปัจจุบัน ได้จัดพิมพ์ตำรับตำราทางพระพุทธศาสนาอันจะเป็นประโยชน์ในการเรียนนักธรรมและบาลีทุกระดับชั้นในราคาถูก และยังจัดพิมพ์และจำหน่ายหนังสือเกี่ยวแก่พระพุทธศาสน.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิปุญญานุภาพ

มูลนิธิปุญญานุภาพ ก่อตั้งขึ้นเพื่อรำลึกถึงคุณุปการของท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ในการก่อตั้งมูลนิธินี้ ท่านอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพได้เห็นชอบ โดยท่านได้ยกค่าลิขสิทธิ์หนังสือทางพระพุทธศาสนาที่ท่านแต่งขึ้นและจัดพิมพ์โดย มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งหมดเพื่อตั้งเป็นกองทุนสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนา โดยให้ทุนพระภิกษุสามเณรที่เป็นนักศึกษาและครูอาจารย์ที่ทำวิจัยด้านพระพุทธศาสนาอยู่ ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย แต่ไม่มีทุนสนับสนุน คณะกรรมการมูลนิธิได้ดำเนินการจดทะเบียนกับ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ถูกต้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตามเจตนารมณ์ของท่านอาจารย์ สุชีพ ปุญญานุภาพทุกประการ ปัจจุบัน มูลนิธิฯ ได้มอบทุนการศึกษาและทุนวิจัยแก่นักศึกษาและนักวิจัยแล้วเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมูลนิธิปุญญานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิแผ่นดินธรรม

มูลนิธิแผ่นดินธรรม ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรการกุศลทางพระพุทธศาสนา ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อผลิตรายการธรรมะป้อนโทรทัศน์เพื่อให้ประชาชนชาวพุทธทั่วไปได้เข้าใจหลักพุทธธรรมของพระพุทธเจ้าจากคัมภีร์พระไตรปิฎก ภาษาบาลี ทั้งในเชิงทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยเฉพาะในเชิงภาคปฏิบัตินั้น ทีมงานผู้ผลิตรายการแผ่นดินธรรมได้เลือกปฏิปทาของพระอาจารย์กรรมฐานหรือพระป่า เช่น พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต มานำเสนอเป็นประจำ เพื่อให้ประชาชนได้รู้ว่าหลักธรรมของพระพุทธเจ้านั้นทันสมัยอยู่เสมอ สามารถศึกษาและนำไปปฏิบัติได้จริง แม้สังคมจะเจริญเพียงใดก็ตาม.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมูลนิธิแผ่นดินธรรม · ดูเพิ่มเติม »

มติชน

ริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) (Matichon Public Company Limited) เป็นบริษัทแม่เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่าย สิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ และเป็นผู้ริเริ่มกิจการสื่อสิ่งพิมพ์ ซึ่งนำเสนอเนื้อหาที่แตกต่างไปจากสื่อมวลชนไทยในวงการ เพื่อเติมเต็มข้อมูลให้แก่สังคมข่าวสาร.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และมติชน · ดูเพิ่มเติม »

วรรณคดี

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนที่ยกย่องกันว่าดี มีสาระ และมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คำว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขึ้นในพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสรในสมัยรัชกาลที่ 6 (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว) วรรณคดีเป็นวรรณกรรมที่ถูกยกย่องว่าเขียนดี มีคุณค่า สามารถทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความคิดเป็นแบบแผน ใช้ภาษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การให้ประชาชนได้รับรู้ เพราะสามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควร.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และวรรณคดี · ดูเพิ่มเติม »

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร

วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนบวรนิเวศและถนนพระสุเมรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระอารามนี้เคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชถึง 4 พระองค์ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทั้งยังเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๖ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) และ วัดประจำรัชกาลที่ ๙ (พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช).

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอน

วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มีชื่อย่อที่เรียกกันในปัจจุบันคือ โซแอส (School of Oriental and African Studies, SOAS) เป็นหนึ่งในวิทยาลัยที่สังกัดมหาวิทยาลัยลอนดอน ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสถาบันที่มีชื่อเสียงระดับแนวหน้าของโลกในภาพรวมด้านสาขาประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองของบรรดาประเทศในเอเชีย แอฟริกา และตะวันออกกลาง ซึ่งสาขาวิชาเด่นๆมีดังนี้ โดยสาขา Development Studies เป็นอันดับ 4 ของโลก สาขา Politics & International Studies เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศอังกฤษ สาขา Theology, Divinity & Religious Studies เป็นอันดับที่ 5 ประเทศของอังกฤษ สาขา Modern Languages เป็นอันดับที่ 8 ประเทศของอังกฤษ สาขา Arts and Humanities เป็นอันดับ 9 ของประเทศอังกฤษ สาขา Sociology เป็นอันดับ 10 ของประเทศอังกฤษ ตามประวัติกล่าวว่าวิทยาลัยฯ เคยเป็นสถานที่ฝึกอบรมบรรดานายทหารชาวอังกฤษที่จะไปปกครองประเทศอาณานิคมในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงต้องสรรหานักวิชาการมาทำวิจัยด้านประวัติศาสตร์ การเมือง การเศรษฐกิจและภูมิศาสตร์ของภูมิภาคเหล่านี้ไว้ เพื่อประโยชน์ในการกำหนดยุทธศาสตร์ทางทหารของลัทธิจักรวรรดินิยม แต่ในปัจจุบัน สถาบันดังกล่าวนี้ได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้าด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Southeast Asian Studies) ที่สำคัญเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ในสหรัฐอเมริกา, มหาวิทยาลัยปารีสในฝรั่งเศส, มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย, มหาวิทยาลัยเกียวโตในญี่ปุ่น และมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ เป็นต้น วิทยาลัยฯ มีที่พักสำหรับนักศึกษาเป็นของตัวเอง เพราะเหตุที่เปิดสอนวิชาเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมของเอเชีย จึงมีนักศึกษาต่างชาติโดยเฉพาะจากเอเชียเข้าไปศึกษาเป็นจำนวนมาก ตัววิทยาลัยตั้งอยู่ที่รัสเซลล์สแควร์ ใจกลางกรุงลอนดอน ใกล้กับพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและหอสมุดแห่งชาต.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และวิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาลัยศาสนศึกษา (College of Religious Studies) เป็นหน่วยงานในสังกัด มหาวิทยาลัยมหิดล ที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ปัจจุบันวิทยาลัยมี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธันย์ สุภัทรพันธุ์ ดำรงตำแหน่ง รักษาการคณบดีวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์พุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

ูนย์พุทธศาสน์ศึกษา มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด เป็นศูนย์ที่ก่อตั้ง.ดร.ริชาร์ด กอมบริช ศาสตราจารย์โบเดนทางสันสกฤต แห่งมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ท่าน.ดร.ริชาร์ด กอมบริช และเพื่อนร่วมงานซึ่งพยายามก่อตั้งศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา คือ นายเจฟรี แบมฟอร์ด ได้เดินทางมายังประเทศไทย ในฐานะพระอาคันตุกะของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในเวลาเดียวกัน ก็ได้พยายามหาทุนเพื่อก่อตั้งตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญภาษาบาลีและพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ให้ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษาที่กำลังจะก่อตั้งขึ้นใหม่ด้วย ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้มีพระบรมราชานุญาตให้ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษาได้ใช้พระปรมาภิไธยในการตั้งตำแหน่งผู้ชำนาญทางภาษาบาลีและพระพุทธศาสนาประจำศูนย์พุทธศาสน์ศึกษาด้วย ตำแหน่งที่ว่านั้น ก็คือ "King Rama IX Lecturership in Pali and Buddhist Studies" ขณะนี้ รัฐบาลไทยกำลังศึกษาข้อมูลเพื่อสนับสนุนการเงินแก่ศูนย์ดังกล่าวนี้อยู่ หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และศูนย์พุทธศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม เจริญ คชวัตร ฉายา สุวฑฺฒโน (3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 – 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อ..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) · ดูเพิ่มเติม »

สยามรัฐรายวัน

มรัฐ เป็นหนังสือพิมพ์ภาษาไทยรายวัน เสนอข่าวทั่วไป ออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ราคา 50 สตางค์ โดยมี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และนายสละ ลิขิตกุล เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และมีคำขวัญประจำหนังสือพิมพ์ว่า "นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ" เป็นพุทธศาสนสุภาษิตภาษาบาลีบทหนึ่ง อ่านว่า "นิคคัณนะเห นิคคะหาระหัง ปัคคัณนะเห ปัคคะหาระหัง" แปลว่า "ชมคนที่ควรชม ข่มคนที่ควรข่ม" ถือเป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ยังวางจำหน่ายอยู่จนปัจจุบัน ที่มีอายุยาวนานที...

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และสยามรัฐรายวัน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง

ำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง (Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand.) คู่กับสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงของคณะสงฆ์ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคมซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย มีหน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สุชีพ ปุญญานุภาพ

ีพ ปุญญานุภาพ (13 เมษายน พ.ศ. 2460 — 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2543) เป็นนักวิชาการที่ได้รับการยอมรับทั้งจากพุทธศาสนิกชนและคณะสงฆ์ไทยอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่สมบูรณ์ด้วยวิชาความรู้ทางพระพุทธศาสนาอย่างเยี่ยมยอด หาใครเทียมได้ยาก ในเวลาเดียวกัน ก็มีความประพฤติที่ดีงาม สุภาพอ่อนโยน ระหว่างที่ท่านเคยบวชเป็นพระอยู่ในชื่อว่า สุชีโว ภิกขุ ท่านมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุด เพราะประการแรก ท่านเชี่ยวชาญพระพุทธศาสนาเป็นเลิศ ประการที่สอง ท่านรอบรู้วิชาการสมัยใหม่อย่างเยี่ยม ประการที่สาม ท่านเป็นพระภิกษุไทยรูปแรกที่บรรยายธรรมเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างชาวพุทธในต่างประเทศกับประเทศไทย แม้ว่าท่านจะมีภาระงานมากมาย แต่ท่านก็เป็นนักเขียน ที่ผลิตงานเขียน ทั้งในรูปหนังสือและตำราเผยแพร่ความรู้ด้านพุทธศาสนา รวมทั้งนวนิยายอิงธรรมะเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้น ยังเป็นผู้บุกเบิกทำพจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนาอีกด้วย อาจารย์สุชีพได้ถึงแก่กรรมลง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และสุชีพ ปุญญานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สุทัศน์ ฟู่เจริญ

ตราจารย์ น.สุทัศน์ ฟู่เจริญ ศาสตราจารย์ระดับ 11 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นแห่งชาติ ปี 2545 ปฏิบัติราชการ ณ ศูนย์วิจัยธาลัสซีเมีย สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดลและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และสุทัศน์ ฟู่เจริญ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

อวย เกตุสิงห์

ตราจารย์เกียรติคุณ เรือโท นายแพทย์ อวย เกตุสิงห์ เป็นแพทย์ชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2451 เป็นชาวจังหวัดพระนคร สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จาก คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วได้ทุนไปศึกษาเพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยในประเทศเยอรมนี ก่อนจะกลับมาเป็นอาจารย์ที่ภาควิชาสรีรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล อวยได้รับการยกย่องว่าเป็นนายแพทย์ที่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนาสูง รู้จักประยุกต์ใช้คำสอนของพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการบำบัดผู้ป่วยกับวิชาแพทย์แผนใหม่รุ่นบุกเบิกของไทย ในขณะเดียวกัน ท่านยังเป็นนายแพทย์ผู้บุกเบิกเอาวิชาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และแพทยศาสตร์มาประยุกต์และได้รับสมญานามว่าเป็น บิดาแห่งแพทย์แผนไทยประยุกต.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และอวย เกตุสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

อัษฏาธยายี

อัษฏาธยายี (หมายถึง "คัมภีร์ 8 บท") เป็นหลักไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่เคยทราบ และนับเป็นงานที่เก่าแก่ที่รู้เท่าที่เคยรู้จักกันมา ในด้านภาษาศาสตร์พรรณนา ภาษาศาสตร์ทั่วไป และอาจรวมถึงภาษาศาสตร์โดยรวมด้วย ผลงานชิ้นนี้รจนาขึ้นในราว 400 ปีก่อนคริสตกาล โดยนักไวยากรณ์ชาวคันธาระ ชื่อว่า ปาณินิ โดยได้บรรยายถึงไวยากรณ์ของภาษาสันสกฤตแบบแผนอย่างสมบูรณ์ และยังกล่าวถึงข้อยกเว้นอันเป็นลักษณะในภาษาสันสกฤตก่อนยุคแบบแผน (ภาษาสันสกฤตยุคพระเวท) ไว้หลายลักษณะด้วย ผลงานของปาณินินับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง และประสบความสำเร็จในการบรรยายไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตอย่างดี แม้นักไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตในชั้นหลัง ก็นิยมใช้หลักของปาณินิ งานชิ้นนี้ยังคงมีการนำมาใช้ หรืออ้างอิง ในการสอนภาษาสันสกฤตแม้ในปัจจุบัน ไวยากรณ์ของปาณินิมีด้วยกันหลายภาค โดยมีหลักทางสัณฐานวิทยา ในทางภาษาศาสตร์ ดังนี้.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และอัษฏาธยายี · ดูเพิ่มเติม »

อายุรเวทวิทยาลัย

อายุรเวทวิทยาลัย เป็นชื่อโรงเรียนซึ่งเปิดสอนในหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์แห่งแรกของประเทศไทย มีชื่อเต็มๆ ว่า "อายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัทจจ์) ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ" ได้รับการก่อตั้งโดยศาสตราจารย์นายแพทย์อวย เกตุสิงห์ อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราช ทั้งนี้.น.อวย เล็งเห็นว่าแพทย์แผนไทยมีข้อดีมากมายโดยเฉพาะวิธีการรักษา แต่ยังบกพร่องตรงการวินิจฉัยโรคซึ่งยังไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ทำให้บางครั้งมีการวินิจฉัยผิดพลาดส่งผลถึงการรักษาและไม่ได้รับความเชื่อถือจากคนไข้ จึงได้ก่อตั้งมูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิม ขึ้นเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2523 และได้ก่อตั้งอายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์) ขึ้นที่หน้าวัดบวรนิเวศ ในปี พ.ศ. 2525 เปิดสอนหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 3 ปี รับนักเรียนทั้งที่จบม.6 และผู้ที่จบปริญญาตรีมาแล้วเข้ารับการศึกษาในวิชาหลักทางด้านการแพทย์แผนโบราณของไทย ทั้งทางเวชกรรม เภสัชกรรม และผดุงครรภ์ ผสมผสานกับพื้นฐานการแพทย์แผนปัจจุบัน ได้แก่ กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา จุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา ชีวเคมี ฯลฯ ต่อมา วัดบวรฯ ขอพื้นที่ตั้งโรงเรียนคืน มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมจึงมีมติให้ย้ายโรงเรียนไปยังสถานที่ตั้งใหม่ ณ โรงเรียนสวนบัว ซ.ราชครู เนื่องจากโรงเรียนอายุรเวทฯ มีการบริหารงานในรูปมูลนิธิเอกชนไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ หลัง.น.อวย ถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2533 ปัญหาต่างๆ ก็ตามมา โดยเฉพาะทางด้านการเงิน คณะกรรมการมูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมจึงมีนโยบายร่วมมือกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ ปรับหลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์จากระดับปว.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และอายุรเวทวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวารินชำราบ

วารินชำราบ เป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอำเภอเมืองอุบลราชธานี มีระยะทางห่างจากอำเภอเมืองเพียง 2 กิโลเมตร อยู่คนละฝั่งของแม่น้ำมูล เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟอุบลราชธานีและสถาบันการศึกษาที่สำคัญของจังหวัด คือ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และอำเภอวารินชำราบ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก

งฉัพพัณณรังสี เป็นธงศาสนาพุทธสากล ซึ่งรับรองโดยองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (The World Fellowship of Buddhists) เป็นองค์การทางศาสนาพุทธระหว่างประเทศ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นหนึ่งในกรรมการบริหารของสำนักงานใหญ่องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกเป็นเวลาหลายสิบปีก่อนที่ท่านจะเสียชีวิต เป็นผู้แปลชื่อองค์การนี้เป็นภาษาไทย อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพเข้าไปเกี่ยวข้องกับองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ตั้งแต่ท่านยังเป็นพระภิกษุอยู่วัดกันมาตุยาราม เมื่อท่านบุกเบิกให้มีการรื้อฟื้นมหาวิทยาลัยสงฆ์มหามกุฏราชวิทยาลัย จนมหาวิทยาลัยสงฆ์ถือกำเนิดขึ้นมาแล้ว ท่านได้รับเชิญไปประชุมที่ประเทศศรีลังกา โดยมีพระมหาแสง โฆสธมฺโม (ปัจจุบันคือศาสตราจารย์แสง จันทร์งาม) ร่วมเดินทางไปด้วย การไปประชุมครั้งนั้น เป็นการประชุมของชาวพุทธใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา เพราะเป็นการเชิญทั้งแกนนำชาวพุทธฝ่ายมหายาน เถรวาท และวัชรยานไปพร้อมกัน เพื่อทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาร่วมกัน ผู้นำชาวศรีลังกาที่เชิญชวนให้ชาวพุทธสามัคคีกันเผยแผ่มากกว่าจะต่างคนต่างทำงานกันก็คือ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

จริยธรรม

ริยธรรม หรือ จริยศาสตร์ เป็นหนึ่งในวิชาหลักของวิชาปรัชญา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความดีงามทางสังคมมนุษย์ จำแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด หากจะอธิบายอย่างง่ายๆ แล้ว จริยธรรม หมายถึง การแยกสิ่งถูกจากผิด ดีจากเลว มาจากคำ 2 คำคือ จริย กับธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คำว่า ธรรม แปลว่า คุณความดี คำสั่งสอนในศาสนา หลักปฏิบัติในทางศาสนา ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์ เมื่อเอาคำ จริยะ มาต่อกับคำว่า ธรรม เป็นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็นแนวทางแห่งความประพฤติปฏิบัติ ความหมายตามพจนานุกรมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยุโรป อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรม น. ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และจริยธรรม · ดูเพิ่มเติม »

จริยธรรมแพทย์

ริยธรรมแพทย์ (medical ethics) เป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์ประยุกต์ (applied ethics) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวิชาจริยศาสตร์ (Ethics) ในวิชาปรัชญา (Philosophy) วิชานี้นำเสนอวิธีปฏิบัติบนพื้นฐานหลักจริยธรรมว่าแพทย์และพยาบาลควรปฏิบัติต่อคนใข้อย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม แต่ละประเทศก็จะมีองค์ความรู้ในสาขานี้แตกต่างกันบ้าง เหมือนกันบ้าง องค์ความรู้ที่ตกผลึกในสังคมตะวันตกนั้น ได้แนะนำให้ผู้อยู่ในสาขาแพทย์และพยาบาลปฏิบัติต่อผู้ป่วยดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และจริยธรรมแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และจังหวัดศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุบลราชธานี

อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และจังหวัดอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมจักษุ

นิตยสารธรรมจักษุ เป็นนิตยสารทางพระพุทธศาสนาเล่มแรกของไทย โดยออกตีพิมพ์ครั้งแรกสุดเมื่อเดือนตุลาคม 2437 โดยการบุกเบิกของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระองค์ได้ทรงพยายามแปลพระสูตรต่างๆ ในพระไตรปิฎกที่ยังไม่เคยมีผู้ใดแปลมาก่อนมาเป็นภาษาไทย แล้วทยอยนำลงในนิตยสารธรรมจักษุ ในเวลาเดียวกัน ก็มีการอธิบายธรรมให้สอดคล้องกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปด้วย ทำให้นิตยสารธรรมจักษุกลายเป็นนิตยสารทางพระพุทธศาสนาเล่มแรกที่ไม่เพียงแต่จะนำเสนอเนื้อหาสาระทางพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎก ซึ่งเดิมนั้น มีอยู่ในใบลาน เป็นภาษาบาลีเท่านั้น ยังเป็นนิตยสารทางพระพุทธศาสนาเล่มแรกที่กระตุ้นให้เกิดการประยุกต์หลัก พุทธธรรม มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมร่วมสมัยอย่างกว้างขวางด้ว.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และธรรมจักษุ · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะพยาบาลแห่งแรกของไทย กำเนิดมาจาก โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์และหญิงพยาบาล ในยุคโรงเรียนราชแพทยาลัย นับได้ว่าเป็นคณะพยาบาลที่วางรากฐานด้านการพยาบาลที่ยอดเยี่ยมของไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะที่เน้นงานวิจัยทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ มีสำนักงานคณบดีที่ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา คณะนี้เป็นคณะที่มีความโดดเด่นในด้านการเรียนการสอนและการวิจัยสังคมศาสตร์เชิงบูรณาการชั้นนำของประเทศไท.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในอดีตมหาวิทยาลัยมหิดลเคยมีการเรียนการสอนทางสัตวแพทยศาสตร์ในช่วงที่ยังคงเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์อยู่ โดยได้รับโอนแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์มาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(ปี พ.ศ. 2486) เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ต่อมาทางมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอน คณะสัตวแพทยศาสตร์ ไปสังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(ปี พ.ศ. 2497) จึงเป็นการสิ้นสุดการเรียนการสอนทางสัตวแพทยศาสตร์ในมหาวิทยาลัยมหิดลช่วงหนึ่ง หลังจากนั้นทางมหาวิทยาลัยมหิดลจึงได้ก่อตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่งในเวลาต่อมา(ปี พ.ศ. 2540).

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดยได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากประเทศสหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักรอีกจำนวนหนึ่งด้วย ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับนักศึกษาเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี (เป็นนักศึกษาแพทย์ประมาณ 180 คน นักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนและ นักศึกษาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ 30 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการปริญญาเอก โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างๆพยาบาล และบุคลากรอื่นทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานในชุมชนได้.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ประคอง นิมมานเหมินท์

ตราจารย์ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์ (27 พฤษภาคม 2482 -) นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาไทยและวรรณคดีไทยเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่นด้วยการเขียนวิทยานิพนธ์เรื่อง "ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ" และจากนั้นยังมีผลงานศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมชนชาติไทจำนวนมาก ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นราชบัณฑิต ประจำสำนักศิลปกรรม ราชบัณฑิต.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และประคอง นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาณินิ

ปาณินิ (Pāṇini; पाणिनि) เป็นนักไวยากรณ์ชาวอินเดียสมัยโบราณ ตามตำนานระบุว่ามีชีวิตในช่วง 520 - 460 ปีก่อนคริสตกาล แต่มีการศึกษาพบว่ามีชิวิตอยู่ประมาณช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล อาศัยอยู่ในเมืองคันธาระ และนับว่ามีชื่อเสียงมากที่สุดในฐานะนักไวยากรณ์ภาษาสันสกฤต โดยเฉพาะการวางสูตรถึง 3,959 สูตร หรือหลัก ในด้านสัณฐานวิทยา (Morphology) โดยมีชื่อเรียกว่า อัษฏาธยายี ซึ่งหมายถึงคัมภีร์ 8 บท นั่นเอง แต่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "ไวยากรณ์ของปาณินิ" ไวยากรณ์ของปาณินิชิ้นนี้ นับเป็นจุดสิ้นสุดของภาษาสันสกฤตยุคพระเวท โดยการนำไปสู่ภาษาสันสกฤตแบบแผน (Classical Sanskrit) หมวดหมู่:ชาวอินเดีย หมวดหมู่:ภาษาสันสกฤต.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และปาณินิ · ดูเพิ่มเติม »

นาคหลวง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงประเคนพัดรอง ในการพระราชทานอุปสมบทนาคหลวง เนื่องในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบทนาคหลวง ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง นาคหลวง หมายถึง ผู้ที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบท นาคหลวง มี 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และนาคหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เทพนม เมืองแมน

ตราจารย์ ดอกเตอร์ นายแพทย์ เทพนม เมืองแมน (18 กันยายน พ.ศ. 2479 -) เป็นอดีตแพทย์ชาวไทยผู้เชี่ยวชาญด้านการผ่าตัดเส้นเลือดหัวใจ และอดีตอาจารย์มหาวิทยาลัย เกิดที่ย่านศรีย่าน กรุงเทพมหานคร มีชื่อเล่นว่า "แดง" เป็นบุตรชายของศาสตราจารย์ นายแพทย์ หลวงพิณพากย์พิทยาเภท (พิณ เมืองแมน) อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข กับคุณหญิงจำนงค์ พิณพากย์พิทยาเภท (สกุลเดิม วีระไวทยะ) อดีตคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล, ปริญญาตรี ด้านสาธารณสุขศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยมหิดล, ปริญญาโทและเอก ด้านสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา ชีวิตครอบครัว สมรสกับ นางชยพร เมืองแมน มีบุตรชายหญิง 2 คน คือ น..สุพิชยะ เมืองแมน และ น..พิมพร เมืองแมน ปัจจุบัน เป็นที่รับรู้กันดีว่าเป็นผู้ที่สนใจศึกษาค้นคว้าในสิ่งที่วิทยาศาสตร์ไม่สามารถพิสูจน์ได้ เช่น ผีหรือวิญญาณ, การกลับชาติมาเกิด, มนุษย์ต่างดาว โดยที่เจ้าตัวอ้างว่าสามารถติดต่อสื่อสารกับสิ่งเหล่านี้ได้ โดยอ้างว่าสามารถติดต่อได้ตั้งแต่อายุ 6-7 ขวบ และเชื่อว่าตัวเองในอดีตชาติเคยเกิดบนดาวอังคารมีชื่อว่า "พีระติ" และปัจจุบันเป็นนายกสมาคมค้นคว้าทางจิตแห่งประเทศไทยจากผู้จัดการออนไลน.

ใหม่!!: ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์และเทพนม เมืองแมน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »