โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บ้านนี้ต้องมีเหมียวและเซเน็ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง บ้านนี้ต้องมีเหมียวและเซเน็ง

บ้านนี้ต้องมีเหมียว vs. เซเน็ง

ี้ ในแบบอะนิเมะ บ้านนี้ต้องมีเหมียว (Chi's Sweet Home, チーズスイートホーム, โรมะจิ: chīzu suīto hōmu, 奇奇的異想世界, 甜甜私房貓) เป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวเซเน็น ซึ่งมีทั้งมังงะและอะนิเมะ สร้างสรรค์โดย คานาตะ โคนามิ ออกเป็นครั้งแรกเป็นมังงะในวีคลี่ มอร์นิ่ง ในปี พ.ศ. 2550 ในประเทศไทยตีพิมพ์และจัดจำหน่ายโดย สยามอินเตอร์คอมิกส์ เป็นเรื่องราวของ จี้ ซึ่งเป็นตัวละครเอกในเรื่อง เป็นลูกแมวลายสีขาว-เทา ตาโต ที่หลงกับแม่ มาอยู่กับครอบครัว ยามาดะ ที่อพาร์ตเมนต์แห่งหนึ่งที่ไม่อนุญาตให้เลี้ยงสัตว์เลี้ยง ครอบครัวยามาดะ ประกอบไปได้วย พ่อ ที่เป็นนักสร้างสรรค์โฆษณา แม่ ที่เป็นแม่บ้าน และ โยเฮ ลูกชายตัวเล็ก ๆ อายุ 4 ขวบ ของทั้งคู่ ที่เป็นเพื่อนเล่นของจี้ จี้มีนิสัยชอบกินและนอน และเล่นกับโยเฮหรือของใช้ในบ้านต่าง ๆ กลัวฟ้าผ่า, สุนัขหรือแมวตัวใหญ่กว่า บ้านนี้ต้องมีเหมียว ได้รับการสร้างเป็นอะนิเมะในปี พ.ศ. 2552 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์โตเกียวและสถานีโทรทัศน์โอซะกะ ด้วยตอนสั้น ๆ เพียงตอนละ 3 นาทีเท่านั้น จนถึงปัจจุบันนี้ออกอากาศมาแล้ว 2 ปี ในประเทศไทย บ้านนี้ต้องมีเหมียวฉบับอะนิเมะออกวางจำหน่ายในรูปแบบวีซีดี, ดีวีดี โดยเดกซ์ และเคยออกอากาศทางช่องทรู สปาร์ค ต่อมาได้ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 18.45 น. เริ่มตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554. ซเน็ง เป็นแนวการ์ตูนญี่ปุ่นที่เน้นกลุ่มผู้ชายอายุ 18-25 ปีเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก มีเนื้อหาที่หลากหลาย เช่น แนวทดลอง แนวเน้นความน่ารักของตัวละครเป็นจุดขาย และแนวที่เน้นความรุนแรง ด้วยเหตุนี้การ์ตูนแนวเซเน็งหลายเรื่องจึงถูกจัดอยู่ในกลุ่มโชโจะ และโชเน็น ด้วย การที่จะบอกว่าการ์ตูนเรื่องใดเป็นการ์ตูนเซเน็งคือการดูว่าตัวอักษรคันจิเป็นตัวอะไร ถ้ามีกำกับส่วนมากจะเป็นแนวเซเน็ง ถ้าไม่มีแสดงว่าการ์ตูนเรื่องนั้นมีเป้าหมายเป็นกลุ่มอื่น การดูนิตยสารที่ตีพิมพ์ก็เป็นอีกวิธีหนึ่ง โดยนิตยสารการ์ตูนที่ขึ้นต้นชื่อด้วยคำว่า "ยัง" (young) คือ ต่ำกว่า 16 ห้ามอ่าน มักจะเป็นนิตยสารการ์ตูนเซเน็ง เช่น ยังจัมป์ ยังแอนิมอล เป็นต้น นิตยสารการ์ตูนเซเน็ง อื่น ๆ ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ อุลตร้าจัมป์ อาฟเตอร์นูน และบิ๊กคอมิก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง บ้านนี้ต้องมีเหมียวและเซเน็ง

บ้านนี้ต้องมีเหมียวและเซเน็ง มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น

การ์ตูนญี่ปุ่น เป็นคำที่ใช้เรียก หนังสือการ์ตูน หรือภาพยนตร์การ์ตูนที่มาจากประเทศญี่ปุ่น ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ในภาษาญี่ปุ่นและหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า มังงะ และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า อะนิเมะ (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ).

การ์ตูนญี่ปุ่นและบ้านนี้ต้องมีเหมียว · การ์ตูนญี่ปุ่นและเซเน็ง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง บ้านนี้ต้องมีเหมียวและเซเน็ง

บ้านนี้ต้องมีเหมียว มี 34 ความสัมพันธ์ขณะที่ เซเน็ง มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.56% = 1 / (34 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง บ้านนี้ต้องมีเหมียวและเซเน็ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »