โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ธรรมชาติและเต่ามาตามาต้า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ธรรมชาติและเต่ามาตามาต้า

ธรรมชาติ vs. เต่ามาตามาต้า

ฟ้าผ่าระหว่างภูเขาไฟกาลองกังปะทุ ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2525 ธรรมชาติ ในความหมายอย่างกว้างสุด เทียบเท่ากับโลกธรรมชาติ โลกกายภาพ หรือโลกวัตถุ "ธรรมชาติ" หมายถึง ปรากฏการณ์ของโลกกายภาพ และยังหมายถึงชีวิตโดยรวม มีขนาดตั้งแต่เล็กกว่าอะตอมไปจนถึงจักรวาล คำว่า nature มาจากคำภาษาละติน natura หรือ "คุณสมบัติสำคัญ, พื้นนิสัยสืบทอด" และในสมัยโบราณ ตามตัวอักษรหมายถึง "กำเนิด" natura เป็นคำแปลภาษาละตินของคำภาษากรีก physis (φύσις) ซึ่งเดิมเกี่ยวข้องกับลักษณะภายในซึ่งพืช สัตว์และลักษณะเฉพาะ (feature) อื่นของโลกพัฒนาแนว (accord) ของตน มโนทัศน์ธรรมชาติโดยรวม จักรวาลทางกายภาพ เป็นหนึ่งในหลายการต่อขยายของความคิดดั้งเดิม เริ่มต้นด้วยการประยุกต์ใช้แก่นบางอย่างของคำว่า φύσις โดยนักปรัชญายุคก่อนโสเครติส และได้รับความแพร่หลายอย่างต่อเนืองนับแต่นั้น การใช้นี้ได้รับการยืนยันระหว่างการมาถึงของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ในหลายศตวรรษหลัง ปัจจุบัน "ธรรมชาติ" มักหมายถึง ธรณีวิทยาและสัตว์ป่า ธรรมชาติอาจหมายถึงอาณาจักรของพืชและสัตว์หลายชนิดทั่วไป และในบางกรณีหมายถึง ขบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับวัตถุไร้ชีวิต คือ วิถีซึ่งสิ่งบางประเภทโดยเฉพาะดำรงและเปลี่ยนแปลงแนวของตน เช่น ลมฟ้าอากาศและธรณีวิทยาของโลก และสสารและพลังงานอันประกอบขึ้นเป็นทุกสิ่งเหล่านี้ นอกจากนี้ยังใช้หมายถึง "สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ" สัตว์ป่า หิน ป่า ชายหาด และโดยทั่วไปสิ่งเหล่านี้ที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญโดยอันตรกิริยาของมนุษย์โดยทั่วไปไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ยกเว้นถูกจัดเป็น อย่างเช่น "ธรรมชาติมนุษย์" มโนทัศน์เก่ากว่าของสิ่งธรรมชาติซึ่งยังพบในปัจจุบันอยู่ชี้ข้อแตกต่างระหว่างธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น (artificial) โดยสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเข้าใจว่าเป็นสิ่งที่ถูกทำให้เกิดขึ้นจากความรู้สึกตัวหรือจิตของมนุษย์ ขึ้นอยู่กับบริบทเฉพาะ คำว่า "ธรรมชาติ" ยังอาจแตกต่างจากไม่เป็นธรรมชาติ เหนือธรรมชาติหรือสังเคราะห. ต่ามาตามาต้า (Mata mata turtle, Matamata turtle) เป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกเต่าชนิดหนึ่ง ในวงศ์เต่าคองู (Chelidae) จัดเป็นเต่าเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Chelus โดยคำว่า "Mata mata" ที่เป็นชื่อสามัญนั้น มาจากภาษาสเปนแปลว่า "ฆ่ามัน ฆ่ามัน" จัดว่าเป็นเต่าชนิดหนึ่งที่หากินและอาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา มีรูปร่างแปลกตา นับว่าเป็นนักพรางตัวเข้ากับได้ดีเยี่ยมชนิดหนึ่ง เพราะมีรูปร่างและสีสันกลมกลืนกับธรรมชาติมาก เต่ามาตามาต้ามีส่วนหัวที่แบนแผ่เป็นรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ และผิวหนังขรุขระและมีติ่งเนื้อล้อมรอบทำหน้าที่รับความรู้สึกและตรวจสอบการกระเพื่อมของน้ำ กระดองกว้างและแบนราบมีสันขนาดใหญ่ 3 สัน เรียงตามความยาวของกระดอง ที่เมื่ออยู่ในน้ำแล้วมองดูเหมือนก้อนหิน หรือเปลือกไม้ หรือใบไม้มากกว่า และมีจมูกที่มีความยาวคล้ายหลอด คอยาวเหมือนงู ซึ่งทั้งหมดใช้สำหรับการพรางตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใต้พื้นน้ำ เพื่อรอดักซุ่มเหยื่อ ซึ่งได้แก่ ปลา โดยเต่ามาตามาต้าจะอยู่นิ่ง ๆ อ้าปากรอปลาที่ผ่านเข้ามาในระยะของปาก จะกินปลาด้วยการดูดเข้าไป รวมถึงกินสัตว์อย่างอื่นได้ด้วย เช่น ครัสเตเชียน, สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ ตลอดจนสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก เต่ามาตามาต้า โตเต็มที่ได้ถึง 50 เซนติเมตร น้ำหนักกว่า 20 กิโลกรัม นับเป็นเต่าน้ำที่มีขนาดใหญ่อีกชนิดหนึ่ง กระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำจืดของทวีปอเมริกาใต้ เช่น แม่น้ำโอรีโนโก และอเมซอน มักอาศัยอยู่ในน้ำที่มีสภาพเป็นกรดสูงซึ่งเกิดจากการทับถมของเศษซากพืชต่าง ๆ จนน้ำมีสีคล้ายสีน้ำตาลหรือสีชา มีสารแทนนินสูง มีพฤติกรรมเชื่องช้าเป็น อาศัยอยู่โดดเดียว โดยหากินและอาศัยอยู่ในน้ำตลอดเวลา ยกเว้นเมื่อตัวเมียขึ้นมาวางไข่บนบกเท่านั้น โดยวางไข่บนดินเลนประมาณ 12-28 ฟอง อายุที่พร้อมขยายพันธุ์อยู่ที่ 5 ปี ฤดูการวางไข่อยู่ที่ปลายปีราวเดือนตุลาคม-ธันวาคม ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 208 วัน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ธรรมชาติและเต่ามาตามาต้า

ธรรมชาติและเต่ามาตามาต้า มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ธรรมชาติและเต่ามาตามาต้า

ธรรมชาติ มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ เต่ามาตามาต้า มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (27 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ธรรมชาติและเต่ามาตามาต้า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »