โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทีวี 24และพ.ศ. 2553

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทีวี 24และพ.ศ. 2553

ทีวี 24 vs. พ.ศ. 2553

ทีวี 24 (TV 24) เป็นสถานีโทรทัศน์ข่าวภายใต้ดำเนินการบริหารงานของ บริษัท เดโมเครซี นิวส์ เน็ตเวิร์ก จำกัด (Democracy News Network Co.,Ltd.) จดทะเบียนก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ด้วยทุนประเดิมมูลค่า 5 ล้านบาท และมีจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน และอดีตประธานกรรมการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) และวิมล จันทร์จิราวุฒิกุล อดีตคณะทำงานเชิงวิชาการและนโยบาย พรรคพลังประชาชน ร่วมเป็นกรรมการบริษัท เพื่อรองรับการออกอากาศ ช่องโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ร่วมกับพรรคเพื่อไทย เป็นการทดแทน กรณีมีคำสั่งระงับการออกอากาศ สถานีประชาชน โดยช่วงก่อนเหตุสลายการชุมนุมคนเสื้อแดง เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 รัฐบาลอภิสิทธิ์สั่งระงับการออกอากาศสถานีประชาชน หลังจากนั้น บริษัทฯ ก็เตรียมการมาระยะหนึ่ง เมื่อถึงเดือนมิถุนายน จึงสามารถเริ่มทดลองแพร่ภาพ ระหว่างเวลา 19:00-20:00 น. และออกอากาศเต็มรูปแบบ ตลอด 24 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยใช้ชื่อว่า เอเชียอัปเดต (Asia Update) และใช้ห้องส่งกับสำนักงานแห่งเดิม ของสถานีประชาชน ซึ่งตั้งอยู่บนชั้น 5 ของอาคารอิมพีเรียลเวิลด์ลาดพร้าว ที่ยังคงใช้มาถึงยุคทีวี 24 ในปัจจุบัน ทั้งนี้ ผังรายการแบ่งเป็น ช่วงเวลา 16:00-21:30 น. จะนำเสนอรายการเป็นครั้งแรก (first-run) หลังจากนั้นจะเป็นรายการที่ออกอากาศซ้ำ (re-run) ต่อมาตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม เอเชียอัปเดตจึงเริ่มแพร่ภาพรายการสดเป็นครั้งแรกคือ ข่าวค่ำดีเอ็นเอ็น โดยมีพัชยา มหัทธโนธรรม และนพวรรณ ดุจศรีวัชร์ เป็นผู้ประกาศคู่แรก จนกระทั่งมีการประกาศใช้กฎอัยการศึก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยมีคำสั่งตามมา ให้เอเชียอัปเดตระงับการออกอากาศ และอีกสองวันถัดมา (22 พฤษภาคม) มีการก่อรัฐประหารอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคณะรัฐประหารออกคำสั่งฉบับที่ 15 ให้ช่องโทรทัศน์ระงับการออกอากาศ รวมถึงเอเชียอัปเดตด้วย ต่อมาคณะรัฐประหาร จึงประกาศให้ผู้ประกอบการ มาขอใบอนุญาตดำเนินงานต่อไปได้ บจก.เดโมเครซีนิวส์เน็ตเวิร์ก จึงเปลี่ยนชื่อช่องใหม่เป็น โอเพ่นทีวี (Open TV), อมรินทร์ทีวี. ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทีวี 24และพ.ศ. 2553

ทีวี 24และพ.ศ. 2553 มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2558การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553สงกรานต์ประเทศไทยแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ10 เมษายน22 พฤษภาคม23 พฤศจิกายน25 ธันวาคม6 กรกฎาคม

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ทีวี 24และพ.ศ. 2558 · พ.ศ. 2553และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553

กลุ่มผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ วันที่ 14 มีนาคม กลุ่มผู้ชุมนุมที่แยกราชประสงค์ วันที่ 3 เมษายน กลุ่มผู้ชุมนุมที่เซ็นทรัลเวิลด์ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาต..

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553และทีวี 24 · การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ทีวี 24และสงกรานต์ · พ.ศ. 2553และสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ทีวี 24และประเทศไทย · ประเทศไทยและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ทีวี 24และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · พ.ศ. 2553และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

10 เมษายนและทีวี 24 · 10 เมษายนและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤษภาคม

วันที่ 22 พฤษภาคม เป็นวันที่ 142 ของปี (วันที่ 143 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 223 วันในปีนั้น.

22 พฤษภาคมและทีวี 24 · 22 พฤษภาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

23 พฤศจิกายนและทีวี 24 · 23 พฤศจิกายนและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

25 ธันวาคมและทีวี 24 · 25 ธันวาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

6 กรกฎาคมและทีวี 24 · 6 กรกฎาคมและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทีวี 24และพ.ศ. 2553

ทีวี 24 มี 76 ความสัมพันธ์ขณะที่ พ.ศ. 2553 มี 379 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 2.20% = 10 / (76 + 379)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทีวี 24และพ.ศ. 2553 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »