โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเวลคัมทูไทยแลนด์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเวลคัมทูไทยแลนด์

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง) vs. เวลคัมทูไทยแลนด์

ทับหลัง เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 9 ของ คาราบาว ภายใต้สังกัดแว่วหวาน กำหนดเดิมออกจำหน่ายวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 แต่เมื่อทางสถาบันศิลปะนครชิคาโก สหรัฐอเมริกา ยินยอมให้นำทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์กลับคืนสู่ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ ภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน อัลบั้มก็ได้เลื่อนวันจำหน่ายเป็นวันที่ 9 พฤศจิกายน ซึ่งตรงกับวันเกิดของหัวหน้าวงคาราบาว เนื่องจากเนื้อหาของบทเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้มเป็นเพียงการเรียกร้องให้กลับคืนมาซึ่งไม่กำหนดวันที่แน่นอน พอเมื่อสถานการณ์พลิกกลับจึงนำเพลง "แม่สาย" ขึ้นมาเป็นเพลงนำร่องอีกเพลงหนึ่ง สมาชิกวงในชุดนี้ยังคงเป็นชุดคลาสสิก แต่สิ่งที่เปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาจากชุดที่แล้วก็คือ มีความคืบหน้าทางดนตรีที่เด่นชัดยิ่งขึ้น ด้วยรูปแบบการนำเสนอที่หลากหลาย เช่น มีการเริ่มใช้คอรัสหญิงมาสอดใส่เสียงประสาน มีการใช้เสียงพูดกับดนตรีตลอดเพลง ในภาคการโปรโมทนั้นได้มีการผลิตมิวสิกฟิล์มเป็นครั้งแรกในเพลง "ทับหลัง" และมิวสิกแอนิเมชั่นครั้งแรกในเพลง "แม่สาย" จากฝีมือของกลุ่มอัศเจรีย์ และเพลง "รักทรหด" ที่ได้นำดาวตลกชื่อดังอย่าง อรุณ ภาวิไล และ ปู โลกเบี้ยว มาเล่นมิวสิกวิดีโอให้กับคาราบาวเป็นครั้งแรก ซึ่งเพลงรักทรหดได้มีการถ่ายทอดเรื่องราวต่อเป็นภาคสองในอัลบั้มถัดไป เพลงดังในอัลบั้มชุดนี้ ได้แก่ "ทับหลัง", "รักทรหด"(ภาค 1) และเพลงสะท้อนสังคมที่มีความหมายลึกซึ้งกินใจอย่าง "แม่สาย" ซึ่งเพลงดังกล่าวยังคงถูกเผยแพร่และมีศิลปินคนอื่นๆ ในแนวเดียวกันและต่างแนวนำขับร้องใหม่จนถึงปัจจุบัน ส่วนเพลงที่ถูกทาง กบว. ห้ามออกอากาศได้แก่เพลง "พระอภัยมุณี" และถือเป็นอัลบั้มชุดสุดท้ายของสมาชิกยุคคลาสสิกเมื่อเกิดข่าวการแยกวง จนมีการออกอัลบั้มในลักษณะเดี่ยวและส่วนหนึ่งของวงในภายหลัง. วลคัมทูไทยแลนด์ (Welcome to Thailand) เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 8 ของวงคาราบาว ภายใต้สังกัดแว่วหวาน ออกจำหน่ายในเดือน ตุลาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเวลคัมทูไทยแลนด์

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเวลคัมทูไทยแลนด์ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์คาราบาวตลับเทปแผ่นซีดีแผ่นเสียงโลกดนตรีเพลงเพื่อชีวิต

วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์

วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ (Warner Music Thailand) เป็นค่ายเพลงย่อยของ วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป ซึ่งเป็น 1 ใน 4 ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ หรือ บิ๊กโฟร์ (Big Four) โดยต้นกำเนิดมาจากการที่ วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป เข้ามาเทคโอเวอร์กิจการของ ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ของ วาสนา ศิลปิกุล แห่ง แว่วหวาน, เศก ศักดิ์สิทธิ์ และ ชนินทร์ โปสาภิวัฒน์ และ มูเซอร์ เรคคอร์ดส ของ ประภาส ชลศรานนท์ และศิลปินวงเฉลียงอย่างเกี๊ยง - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ และนก - ฉัตรชัย ดุริยประณีต ในต้นปี พ.ศ. 2537 ทำให้มีศิลปินบางส่วนยังคงทำเพลงกับค่ายวอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ต่อไป โดยเฉพาะวงคาราบาว และ ซูซู อีกทั้งยังได้นำอัลบั้มทั้งหมดของ ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ และ มูเซอร์ เรคคอร์ดส มาจำหน่ายใหม่อีกด้ว.

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และวอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ · วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์และเวลคัมทูไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

คาราบาวและทับหลัง (อัลบั้มเพลง) · คาราบาวและเวลคัมทูไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตลับเทป

ตลับเทป หรือมักเรียกโดยย่อว่า เทป มักหมายถึงเทปเสียงหรือเทปเพลง คือรูปแบบการบันทึกเสียงลงสื่อรูปแบบหนึ่งโดยใช้แถบแม่เหล็ก เทปมีขนาดเล็กสามารถพกพาได้อย่างสะดวก ใช้งานตั้งแต่บันทึกเสียงในบ้านจนถึงเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครคอมพิวเตอร์ ในช่วงแรกระหว่างต้นทศวรรษ 1970 และปลายทศวรรษ 1990 ตลับเทปเป็นหนึ่งในสองอย่างที่มักใช้ในการบันทึกเสียงเพลง ควบคู่ไปกับแผ่นเสียง ซึ่งต่อมามักใช้เป็นซีดีแทน คำว่า แคสเซต หรือ คาสเซต (cassette) มีความหมายว่า ตลับหรือกล่องเล็ก.

ตลับเทปและทับหลัง (อัลบั้มเพลง) · ตลับเทปและเวลคัมทูไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นซีดี

แผ่นซีดี แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นจานแสง หรือดิสก์แสงเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตราฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน.

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และแผ่นซีดี · เวลคัมทูไทยแลนด์และแผ่นซีดี · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นเสียง

แผ่นเสียง คือวัสดุที่ก่อให้เกิดเสียง ทำจากวัสดุหลายชนิดและขน.

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และแผ่นเสียง · เวลคัมทูไทยแลนด์และแผ่นเสียง · ดูเพิ่มเติม »

โลกดนตรี

ลกดนตรี (Pop On Stage) คือ รายการโทรทัศน์ถ่ายทอดสดการแสดงของคณะดนตรี ศิลปินนักร้อง โดยมี เสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ เป็นพิธีกร และ บุญชาย ศิริโภคทรัพย์ กับทีมงานคณะ “72 โปรโมชั่น” เป็นผู้ผลิตรายการ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2514 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เดิมชื่อรายการว่า "Studio 7" (คำว่า 7 มาจาก ช่อง 7 ขาว-ดำ ซึ่งตอนนั้นยังไม่เป็นช่อง 5 สี) ต่อมาเปลี่ยนเป็น "Pop On Stage" โดยแสดงสดเดือนละครั้งในบ่ายวันเสาร์ ครั้งละ 1 ชั่วโมง จนเมื่อ พล.ต.ประทีป ชัยปาณี ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายรายการของสถานี ได้มีนโยบายกำหนดให้ทุกรายการของ ทท.5 ใช้ชื่อเป็นภาษาไทย รายการจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "โลกดนตรี" ในที.

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และโลกดนตรี · เวลคัมทูไทยแลนด์และโลกดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเพลงเพื่อชีวิต · เพลงเพื่อชีวิตและเวลคัมทูไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเวลคัมทูไทยแลนด์

ทับหลัง (อัลบั้มเพลง) มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ เวลคัมทูไทยแลนด์ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 13.46% = 7 / (29 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ทับหลัง (อัลบั้มเพลง)และเวลคัมทูไทยแลนด์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »