โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415

ถนนเพชรเกษม vs. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123. ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 สายนาเหนือ - พนม เริ่มต้นโดยแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สี่แยกนาเหนือ จังหวัดกระบี่ และสิ้นสุดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยเชื่อมเข้ากับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 ระยะทาง 46 กิโลเมตร โดยทางสายเลี่ยงเมืองพังงา ได้มีการเปลี่ยนเลขทางหลวง เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อำเภออ่าวลึกจังหวัดกระบี่จังหวัดสุราษฎร์ธานีทางหลวงชนบท กบ.1002ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311

อำเภออ่าวลึก

อำเภออ่าวลึก ตั้งอยู่ในจังหวัดกระบี.

ถนนเพชรเกษมและอำเภออ่าวลึก · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415และอำเภออ่าวลึก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกระบี่

กระบี่ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของภาคใต้ มีแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ง เช่น หาดทรายขาว น้ำทะเลใส ปะการัง ถ้ำ และหมู่เกาะน้อยใหญ่กว่า 100 เกาะ และเป็นที่ตั้งของเรือนรับรองที่ประทับแหลมหางน.

จังหวัดกระบี่และถนนเพชรเกษม · จังหวัดกระบี่และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ังหวัดสุราษฎร์ธานี มักจะเรียกกันด้วยชื่อสั้น ๆ ว่า สุราษฎร์ฯ ใช้อักษรย่อ สฎ เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนบน มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และมีประชากรหนาแน่นอันดับ 59 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีหลักฐานทั้งประวัติศาสตร์และโบราณคดีเก่าแก่ และยังมีแหล่งท่องเที่ยวและอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ เกาะในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากถึง 108 เกาะ นับว่ามากที่สุดเป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองมาจากจังหวัดพังงาที่มี 155 เกาะ และจังหวัดภูเก็ตที่มี 154 เกาะ เกาะขนาดใหญ่เป็นที่รู้จักเช่น เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะเต่า และหมู่เกาะอ่างทอง เนื่องจากทำเลที่ตั้งจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งเกิดบริเวณทะเลอันดามันบ้างเป็นครั้งคราวเนื่องจากจะมีแนวเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขานครศรีธรรมราช แถบบริเวณจังหวัดระนอง จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นแนวช่วยลดอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ในทางกลับกันพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลจีนใต้และอ่าวไทย ทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมกราคม ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรเป็นหลัก โดยใช้พิ้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 45 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม รวมทั้งมีการทำเหมืองแร่ด้วย ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถใช้ได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ เครื่องบิน รถโดยสารประจำทาง เรือ และรถยนต์ส่วนบุคคล สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุศรีสุราษฎร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรศรีวิชัย แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติทั้งอุทยานแห่งชาติทางบก และอุทยานแห่งชาติทางทะเล น้ำตก เกาะ แม่น้ำ เขื่อน วัด และพระอารามหลวง เป็นต้นและยังเป็นแหล่งสืบสานประเพณีที่สำคัญของชาวใต้ คือประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่าและแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีผลิตผลและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก เช่น ไข่เค็มไชยา หอยนางรม และเงาะโรงเรียน ดังที่ปรากฏในคำขวัญของจังหวั.

จังหวัดสุราษฎร์ธานีและถนนเพชรเกษม · จังหวัดสุราษฎร์ธานีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงชนบท กบ.1002

ทางหลวงชนบท ก. 1002 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (กม.ที่ 934+700) - บ้านบางทราย เป็นทางลัดที่เชื่อมสู่ จังหวัดพังงา และ จังหวัดกระบี่ มีความยาวประมาณ 23 กิโลเมตร อยู่ในจังหวัดพังงาประมาณ 5 กิโลเมตร และอยู่ในจังหวัดกระบี่ประมาณ 18 กิโลเมตร.

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงชนบท กบ.1002 · ทางหลวงชนบท กบ.1002และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 สายแยกโคกเคียน–นครศรีธรรมราช เป็นทางหลวงที่อยู่ในเขตควบคุมของสำนักงานทางหลวงสุราษฎร์ธานี (สำนักงานบำรุงทางพังงา) สำนักทางหลวงที่ 14 นครศรีธรรมราช มีระยะทางเริ่มต้นจากชายฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยแยกจากถนนเพชรเกษมบริเวณกิโลเมตรที่ 762+481 ที่สามแยกโคกเคียน ใกล้ตัวเมืองอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา จากนั้นตัดไปทางทิศตะวันออกผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานีไปยังชายฝั่งตะวันออก และลงใต้ไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยสิ้นสุดที่ถนนพัฒนาการคูขวาง.

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 401และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 สายพังงา - ทับปุด หรือ ถนนเลี่ยงเมืองพังงา เริ่มต้นโดยแยกจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สามแยกวังหม้อแกง ไปบรรจบกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ที่สามแยกทับป.

ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 · ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4311 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415

ถนนเพชรเกษม มี 168 ความสัมพันธ์ขณะที่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 3.33% = 6 / (168 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ถนนเพชรเกษมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 415 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »