โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี vs. ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม.. ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา เป็นภาพยนตร์ภาคที่หกซึ่งเป็นภาคสุดท้ายในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา มี 36 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชลิต เฟื่องอารมย์พระมณีรัตนาพระสุพรรณกัลยาพระเจ้านันทบุเรงพร้อมมิตร โปรดักชั่นฐากูร การทิพย์ภาพยนตร์ไทยภาษาพม่าภาษามอญภาษาไทยมังกะยอชวามนตรี เจนอักษรวันชนะ สวัสดีวินธัย สุวารีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระเอกาทศรถสรพงศ์ ชาตรีสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลสุเนตร ชุตินธรานนท์หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยาหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคลหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคลหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลจักรกฤษณ์ อำมรัตน์จงเจต วัชรานันท์ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญครรชิต ขวัญประชาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประเทศไทยปราปต์ปฎล สุวรรณบาง...นพชัย ชัยนามนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์นรธาเมงสอนะฉิ่นเหน่าง์เกรซ มหาดำรงค์กุลเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) ขยายดัชนี (6 มากกว่า) »

ชลิต เฟื่องอารมย์

ลิต เฟื่องอารมย์ (ชื่อเล่น: ตุ่ม) เป็นนักแสดงชาวไทย มีผลงานการแสดงสร้างชื่ออย่าง ฉันผู้ชายนะยะ ซึ่งเป็นละครเวทีที่โด่งดังมาก ตระเวนเดินสายแสดงไปทั่วประเทศในยุคนั้น มีผลงานภาพยนตร์ ที่รับเป็นพระเอกอย่างเรื่อง อารมณ์ และ รักริษยา ส่วนผลงานละครในยุคปัจจุบัน เช่น นิมิตรมาร และ ความลับของซูเปอร์สตาร์ ทางด้านชีวิตส่วนตัว เป็นพี่ชายของนักร้อง ชรัส เฟื่องอารมย์ เคยมีผลงานเพลงดูโอร่วมกันในชุด ชรัส-ชลิต และ คนแปลกหน้า ในปี..

ชลิต เฟื่องอารมย์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ชลิต เฟื่องอารมย์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

พระมณีรัตนา

ระมณีรัตนา เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งอาณาจักรอยุธยา เริ่มรับราชการฝ่ายในตั้งแต่พระราชสวามีปราบดาภิเษก และให้ประสูติกาลพระราชบุตรอย่างน้อยหนึ่งพระอง.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและพระมณีรัตนา · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและพระมณีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและพระสุพรรณกัลยา · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและพระสุพรรณกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและพระเจ้านันทบุเรง · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

พร้อมมิตร โปรดักชั่น

ริษัท พร้อมมิตร โปรดักชั่น จำกัด (อังกฤษ: Prommitr Production Co., Ltd.) เดิมชื่อ พร้อมมิตรภาพยนตร์ เป็นบริษัทจำกัด สร้างภาพยนตร์ไทยและผลิตสื่อบันเทิงประเภทต่าง ๆ ก่อตั้งโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือ ท่านมุ้ย ชื่อบริษัทมาจากชื่อซอยที่ตั้งของ วังละโว้และโรงถ่าย ของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ปัจจุบัน มีสำนักงาน ณ เลขที่ 52/25 หมู่ 13 ถนนกรุงเทพกรีฑา แขวงและเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร และมีโรงถ่ายทำภาพยนตร์ขนาดใหญ่ (พร้อมมิตร สตูดิโอ) ที่ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ผลิตและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยและละครโทรทัศน์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 จนถึงปัจจุบัน ผลงานเรื่องเด่น ๆ ได้แก่ สุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 และภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ระหว่างปี พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2557 นอกจากนี้ยังเป็นตัวแทนจำหน่ายการ์ดเกมที่มีเนื้อหาจากภาพยนตร์และภาพยนตร์การ์ตูนต่าง ๆ อีกด้วย เช่น ยูกิโอ เป็นต้น.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและพร้อมมิตร โปรดักชั่น · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและพร้อมมิตร โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ฐากูร การทิพย์

กูร การทิพย์ หรือ ป๊อป เป็น นักแสดง นักร้อง และ นายแบบ ชาวไทย เป็นนักแสดงกลุ่มเพาวเวอร์ทรี สังกัด สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 แจ้งเกิดจากเวทีประกวดร้องเพลง "เดอะซิงเกอร์" (The Singer) ครั้งที่ 1 ด้วยการผ่านเข้ารอบ 10 คนสุดท้าย และผลงานที่ทำให้เป็นที่รู้จักคือ "ชลนที" ในละคร รักนี้หัวใจมีครี.

ฐากูร การทิพย์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ฐากูร การทิพย์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและภาพยนตร์ไทย · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและภาษาพม่า · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและภาษาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอญ

ษามอญ (เพียซาโหม่น) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 14 ราว..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและภาษามอญ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและภาษามอญ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและภาษาไทย · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและมังกะยอชวา · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี เจนอักษร

มนตรี เจนอักษร (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) นักแสดง นักพากย์ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 จากบทอาโยะ ชาวเขาในภาพยนตร์เรื่อง คนภูเขา กำกับโดย วิจิตร คุณาวุฒิ ซึ่งได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น ในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และ ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น รางวัล ราชบัณฑิตยสถานสรรเสริญ..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและมนตรี เจนอักษร · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและมนตรี เจนอักษร · ดูเพิ่มเติม »

วันชนะ สวัสดี

ันเอก วันชนะ สวัสดี (26 สิงหาคม 2515) ผู้ช่วยโฆษกกระทรวงกลาโหม รองผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและตุลาการศาทหารกรุงเทพฯ เป็นทหารบกชาวไทย และเป็นนักแสดง มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและวันชนะ สวัสดี · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและวันชนะ สวัสดี · ดูเพิ่มเติม »

วินธัย สุวารี

ันเอก(พิเศษ) วินธัย สุวารี (ชื่อเล่น: ต๊อด; เกิด: 7 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นโฆษกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ และโฆษกกองทัพบกและนักแสดงชาวไทย ที่มีผลงานแสดงเด่นในการรับบทเป็น สมเด็จพระเอกาทศรถ จากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและวินธัย สุวารี · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและวินธัย สุวารี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สรพงศ์ ชาตรี

รพงษ์ ชาตรี หรือชื่อจริง กรีพงษ์ เทียมเศวต หรือ พิทยา เทียมเศวต นักแสดงชายชั้นแนวหน้าของไทย ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและสรพงศ์ ชาตรี · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและสรพงศ์ ชาตรี · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

สุเนตร ชุตินธรานนท์

ตราจารย์ สุเนตร ชุตินธรานนท์ นักประวัติศาสตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวไท.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและสุเนตร ชุตินธรานนท์ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและสุเนตร ชุตินธรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา

หม่อมกมลา ยุคล ณ อ..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 -) นักตัดต่อ / นักลำดับภาพ หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล เป็นพระธิดาคนโตของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล กับหม่อมวิยะดา (บุษปวานิช).

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล

หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล หรือที่นิยมเรียกกันว่า คุณชายอดัม เป็นโอรสในหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และหม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2528 จบการศึกษาด้านการสร้างภาพยนตร์จากประเทศออสเตรเลีย ม.ร.ว.เฉลิมชาตรีรับหน้าที่เป็นผู้กำกับกองสามของภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายหลังปิดกล้อง ได้ดูแลงานด้านสื่ออินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ภาพยนตร์ ลิขสิทธิ์สินค้า การ์ดเกมส์ หนังสือปูมเบื้องหลัง ตลอดจนสื่อสนับสนุนภาพยนตร์ (Promotional Merchandise) ทุกชนิด ปัจจุบันได้รับเป็นวิทยากรพิเศษให้แก่มหาวิทยาลัยชั้นนำ อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอแบค) เป็นต้น โดยรับหน้าที่บรรยายเทคนิคการสร้างภาพยนตร์ รวมถึงรายละเอียดที่ปรากฏในพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 อีกด้วย นอกจากนี้ ม.ร.ว.เฉลิมชาตรี ยังได้เปิดให้บริการเว็บไซต์ FuKDuK (ฟุ๊คดุ๊ค) หรือ บริการทีวีที่มีช่องรายการของตัวเองผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2550 และจัดรายการวิทยุเป็นประจำอยู่ที่คลื่นความคิด F.M. 96.5 Mhz ในเครือข่ายขององค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อสมท.).

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

จักรกฤษณ์ อำมรัตน์

วสวิศร์ ศตพิพัฒน์ เป็นที่รู้จักในชื่อเดิมว่า จักรกฤษณ์ อำมรัตน์ ชื่อเล่น ต้น (25 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักแสดงชายชาวไทย มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นตำรวจในละครหลายเรื่อง อาทิ ล่า (2537) เลือดเข้าตา (2538) และ โปลิศจับขโมย (2539).

จักรกฤษณ์ อำมรัตน์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · จักรกฤษณ์ อำมรัตน์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

จงเจต วัชรานันท์

นาวาอากาศเอก จงเจต วัชรานันท์ (ชื่อเล่น: โน้ต) เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นที่รู้จักในการรับบทเป็น นัดจินหน่อง หรือ พระสังขทัต ในภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

จงเจต วัชรานันท์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · จงเจต วัชรานันท์และตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ

ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ เป็นศิลปินนักแสดงชาวไทย ประจำสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ครรชิต ขวัญประชา

รรชิต ขวัญประชา นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์อาวุโสชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 เข้าสู่วงการบันเทิงในปี พ.ศ. 2511 และมีชื่อเสียงขึ้นมาจากการรับบท ภูวนาท หรือ อินทรีแดง (ตัวปลอม) จากภาพยนตร์เรื่อง อินทรีทอง ในปี พ.ศ. 2513 ซึ่งเป็นตัวร้ายในเรื่อง ที่ทำให้ โรม ฤทธิไกร ซึ่งเป็นอินทรีแดงตัวจริง ที่แสดงโดย มิตร ชัยบัญชา ต้องเปลี่ยนไปใส่ชุดสีทองเป็นอินทรีทองเพื่อที่จะจัดการกับอินทรีแดงตัวปลอมนี้ ซึ่งถือเป็นภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายในชีวิตการแสดงของมิตร ชัยบัญชา อีกด้วย รับบท เสือใบ ใน สุภาพบุรุษเสือใบ ปี พ.ศ. 2514 นอกจากนี้ได้ร่วมแสดงใน ครูสมศรี และผลงานกำกับภาพยนตร์ด้วยตนเอง ร่วมกับ จรินทร์ พรหมรังสี ปี พ.ศ. 2528 เรื่อง ที่รัก เธออยู่ไหน นำแสดงโดย สรพงษ์ ชาตรี, นันทิดา แก้วบัวสาย, พอเจตน์ แก่นเพชร และพุ่มพวง ดวงจันทร์ ภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ที่ร่วมแสดงในระยะหลังได้แก่ สุริโยไท และฟ้าทะลายโจร ปี พ.ศ. 2544, คลอเรสเตอรอลที่รัก ปี พ.ศ. 2547, โหน่ง เท่ง นักเลงภูเขาทอง ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้น.

ครรชิต ขวัญประชาและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ครรชิต ขวัญประชาและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและประเทศไทย · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง

ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและปราปต์ปฎล สุวรรณบาง · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและปราปต์ปฎล สุวรรณบาง · ดูเพิ่มเติม »

นพชัย ชัยนาม

นพชัย ชัยนาม (ชื่อเล่น: ปีเตอร์) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน มีบทบาทการแสดงเป็นที่จดจำจากเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รับบทเป็น "บุญทิ้ง" หรือ "ออกพระราชมนู" นพชัยสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นพชัยเริ่มเข้าสู่วงการ โดยการถ่ายภาพยนตร์โฆษณา สเปรย์รอยัล จากนั้นมีผลงานแสดงละคร เช่น เจ้าสาวของอานนท์ สะพานดาว เลือกแล้วคือเธอ ฯ จากนั้นได้แสดงภาพยนตร์เรื่องแรกในปี..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและนพชัย ชัยนาม · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและนพชัย ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

นภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์

นภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ หรือ นภัสกร มิตรเอม(ชื่อเล่น: ตั๊ก) เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2515 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาบริหารอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนานาชาติ มีชื่อเสียงมาจากการรับบทนำในภาพยนตร์เรื่อง ฅนปีมะ (พ.ศ. 2546) จากการกำกับของ โน้ต เชิญยิ้ม จากนั้นก็ได้มีผลงานตามมาอีก), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) โดยมากจะรับบทก่อนที่จะรับบท "มังกะยอชวา" อุปราชวังหน้าของราชวงศ์ตองอู ซึ่งเป็นคู่ปรับสำคัญของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2554) จากการกำกับของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ผลงานทางด้านละครโทรทัศน์ ได้แก่ ตม, เรือนรักเรือนทาส, หัวใจรักข้ามภพ เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับอาหาร คือ ถึงพริกถึงขิง ออกอากาศทาง2515alive.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและนรธาเมงสอ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

นะฉิ่นเหน่าง์

นะฉิ่นเหน่าง์ (Natshinnaung; နတ်သျှင်နောင်) หรือ พระสังขทัต ตามพงศาวดารไทย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าตองอู (สีหตู) อันเป็นพระอนุชาของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง นะฉิ่นเหน่าง์นั้นเป็นที่เลื่องลือในพม่าว่าเป็นมีความสามารถด้านการกวีสูงอย่างยิ่งและมีความรอบรู้ในพระไตรปิฎกเป็นอย่างมาก ต่อมานะฉิ่นเหน่าง์ได้ปกครองเมืองตองอูต่อจากบิดา ต่อมาได้เป็นผู้วางยาพิษปลงพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรง ในช่วงนั้นเครือข่ายอำนาจของพม่าแตกออกเป็นสามขั้วคือ อังวะ แปร และตองอู พระเจ้าอังวะคือ พระเจ้าอโนเพตลุน ได้ยึดเมืองแปรได้ นะฉิ่นเหน่าง์เห็นว่าเมืองตองอูคงไม่อาจสามารถต่อสู้กับอังวะได้จึงสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาซึ่งในสมัยนั้นมี สมเด็จพระเอกาทศรถปกครองอยู่ ต่อมาพระเจ้าอังวะได้บุกเมืองตองอู นะฉิ่นเหน่าง์ได้ขอความช่วยเหลือต่อกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงให้นายพลฟิลิปป์ เดอ บริโต ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสยกทัพไปช่วย แต่ไปไม่ทันเมืองตองอูก็แตกซะก่อน นะฉิ่นเหน่าง์จึงหนีไปที่เมืองสิเรียมกับนายพลฟิลิป เดอ บริโตและเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ พระเจ้าอังวะสั่งให้ฟิลิปป์ เดอบริโตส่งตัวนะฉิ่นเหน่าง์มาให้ตน แต่นายพลเดอบริโตไม่ยอมพระเจ้าอังวะจึงเข้าโจมตีเมืองสิเรียมในปี พ.ศ. 2156 แล้วจับนายพลฟิลิปป์ เดอ บริโตไปตรึงกางเขนและบังคับให้นะฉิ่นเหน่าง์มานับถือพุทธแต่ไม่ยอมจึงถูกประหารชีวิต.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและนะฉิ่นเหน่าง์ · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและนะฉิ่นเหน่าง์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรซ มหาดำรงค์กุล

กรซ มหาดำรงค์กุล (1 ตุลาคม พ.ศ. 2512) ชื่อเล่น เกรซ เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไท.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและเกรซ มหาดำรงค์กุล · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและเกรซ มหาดำรงค์กุล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)

้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี หรือ พระราชมนู เป็นขุนศึกและสมุหพระกลาโหมคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชมนู เกิดเมื่อไรและมีชื่อใดไม่ปรากฏแต่ได้ติดตาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชคราวประกาศอิสรภาพจึงสันนิษฐานว่าครอบครัวของพระราชมนูอาจถูกกวาดต้อนคราวเสียกรุงฯครั้งที่ 1 ได้มีการกล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระราชมนูเป็นทหารที่เก่งกล้าและมีความสามารถนอกจากนั้นยังเป็นทหารคู่พระทัยของสมเด็จพระนเรศวรอีกด้วย ซึ่งพระราชมนูมักออกศึกเคียงคู่พระนเรศวรในการตีเมืองต่างๆเสมอและสามารถชนะกลับมาได้เกือบทุกครั้งรวมถึงศึกยุทธหัตถีที่ตำบลหนองสาหร่ายอีกด้วย ภายหลังพระราชมนูได้รับการโปรดเกล้าจากสมเด็จพระนเรศวรให้เป็นออกญาพระสมุหกลาโหม แต่ประวัติของพระราชมนูมีอยู่น้อยมากเพราะมีการกล่าวถึงในพงศาวดารไม่กี่เล่ม พระราชมนูนั้นเคยรับพระราชบัญชาให้ไปตีเมืองโพธิสัตว์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพม่า) ซึ่งถือเป็นเมืองใหญ่ ในครั้งยังมียศเป็นคุณพระ ตอนนั้นองค์ดำเกรงว่าทัพน้อยของพระราชมนูจะไม่อาจเอาชัย จึงส่งทัพหลวงออกตามไปช่วย ปรากฏว่าเมื่อทัพหลวงไปถึง เมืองโพธิสัตว์ก็แตกเสียแล้ว ทัพหลวงไม่ต้องเข้าช่วยแต่อย่างใด นอกจากนี้พระราชมนูยังมีความบ้าบิ่นอย่างที่ใครๆในยุคนั้นไม่กล้า คือการขัดรับสั่งของพระนเรศในคราวตามเสด็จศึกพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งพระราชมนูขัดรับสั่งถอนทัพโดยกล่าวว่า "การรบกำลังติดพัน กลัวว่าถอยแล้วจะเป็นเหตุให้ข้าศึกตามตี" เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระองค์จึงได้ปูนบำเหน็จให้พระราชมนูขึ้นเป็น เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี ที่สมุหพระกลาโหม พระราชทานพานทอง น้ำเต้าทอง เจียดทองซ้ายขาว กระบี่ ฝวักทองและเครื่องอุปโภคต่าง ๆ ล่าสุดได้มีการค้นพบเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดีหรือพระราชมนูพร้อมกับภริยาที่วัดช้างให้ บ้านน้ำผึ้ง ตำบลบ้านอิฐ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ทำให้ได้ทราบความจริงว่าพระราชมนูนั้นมีชื่อจริงว่า เพชร หรือ เพ็ชร เมื่อสิ้นรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล้วพระราชมนูได้ลาออกจากราชการและมาบวชจำพรรษาที่วัดช้างให้จนมรณภาพซึ่งทางกรมศิลปากรได้เตรียมเข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์เจดีย์บรรจุอัฐิของพระราชมนูและภร.

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) · ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี มี 56 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา มี 45 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 36, ดัชนี Jaccard คือ 35.64% = 36 / (56 + 45)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »