โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดาบมังกรหยกและมังกรหยก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ดาบมังกรหยกและมังกรหยก

ดาบมังกรหยก vs. มังกรหยก

มังกรหยก (หรือ มังกรหยกภาค 3 หรือ กระบี่อิงฟ้า ดาบฆ่ามังกร) เป็นนิยายกำลังภายในภาคต่อของ มังกรหยก แต่งโดยกิมย้ง (ชื่อในภาษาจีน อักษรจีนตัวเต็ม: 倚天屠龍記; อักษรจีนตัวย่อ: 倚天屠龙记; พินอิน: yǐ tiān tú lóng jì) และชื่อในภาษาอังกฤษ คือ The Heavenly Sword and the Dragon Saber หรือ The Heaven Sword and Dragon Saber). มังกรหยก (อักษรจีนตัวเต็ม: 射鵰英雄傳; อักษรจีนตัวย่อ: 射雕英雄传; พินอิน: shè diāo yīng xióng zhuàn) เป็นนิยายกำลังภายใน แต่งโดยกิมย้ง มีภาคต่อในชุดเดียวกันอีกสองภาค คือ มังกรหยก ภาค 2 และดาบมังกรหยก แต่ชื่อเรื่องภาษาจีนและภาษาอังกฤษนั้นแยกกันเป็นคนละเรื่อง (ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ คือ The Legend of the Condor Heroes หรือ The Eagle-Shooting Heroes) ฉบับแปลภาษาไทยมีหลายสำนวน ยึดตามฉบับที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องแปลโดย น.นพรัตน์ ใช้ชื่อว่า ก๊วยเจ๋งยอดวีรบุรุษ จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ความยาว 4 เล่มจบ และได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายครั้ง รวมถึงวิดีโอเกม ด้วย ประกอบด้วยกัน 3 ภาค ได้แก่ ก๊วยเจ๋ง เอี๊ยก้วย และเตียบ่อกี้ ก๊วยเจ๋งและเอี๊ยก้วยเป็นภาคต่อกัน แต่ภาคเตียบ่อกี้ เป็นอีกหลายๆปีข้างหน้าต่อจากเอี๊ยก้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ดาบมังกรหยกและมังกรหยก

ดาบมังกรหยกและมังกรหยก มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชอว์บราเดอร์สสตูดิโอพินอินกิมย้งละครโทรทัศน์ว.ณ เมืองลุงศาสนามาณีกีหมี เสว่อักษรจีนตัวย่ออักษรจีนตัวเต็มดาบมังกรหยกน.นพรัตน์เหลียง เฉาเหว่ยเอี้ยก้วยเจ้าอินทรี

ชอว์บราเดอร์สสตูดิโอ

อว์บราเดอร์สสตูดิโอ (Shaw Brothers Studio (HK) ltd.) อดีตบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ที่ใหญ่ที่สุดของ ฮ่องกง บริษัทชอว์บราเดอร์สก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม..

ชอว์บราเดอร์สสตูดิโอและดาบมังกรหยก · ชอว์บราเดอร์สสตูดิโอและมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

พินอิน

นอิน หรือ ฮั่นยฺหวี่พินอิน (แปลว่า สะกดเสียงภาษาจีน) คือระบบในการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรละติน ความหมายของพินอินคือ "การรวมเสียงเข้าด้วยกัน" (โดยนัยก็คือ การเขียนแบบสัทศาสตร์ การสะกด การถอดเสียง หรือการทับศัพท์) พินอินเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2501 และเริ่มใช้กันในปี พ.ศ. 2522 โดย รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยใช้แทนที่ระบบการถอดเสียงแบบเก่า เช่น ระบบเวดและไจลส์ และระบบจู้อิน นอกจากนี้ ยังมีการออกแบบระบบอื่น ๆ สำหรับนำไปใช้กับภาษาพูดของจีนในถิ่นต่าง ๆ และภาษาของชนกลุ่มน้อยที่ไม่ใช้ภาษาฮั่น ในสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย นับแต่นั้นมา พินอินก็เป็นที่ยอมรับจากสถาบันนานาชาติหลายแห่ง รวมทั้งรัฐบาลสิงคโปร์ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคมหอสมุดอเมริกัน โดยถือว่าเป็นระบบการถอดเสียงที่เหมาะสมสำหรับภาษาจีนกลาง ครั้นปี พ.ศ. 2522 องค์การมาตรฐานนานาชาติ (ISO) ก็ได้รับเอาพินอินเป็นระบบมาตรฐาน (ISO 7098) ในการถ่ายทอดเสียงภาษาจีนปัจจุบันด้วยอักษรโรมัน (the standard romanization for modern Chinese) สิ่งสำคัญที่ต้องระลึกไว้ก็คือ พินอินนั้น เป็นการทับศัพท์ด้วยอักษรโรมัน (Romanization) มิใช่การถอดเสียงแบบภาษาอังกฤษ (Anglicization) นั่นคือ การกำหนดให้ใช้ตัวอักษรตัวหนึ่ง สำหรับแทนเสียงหนึ่ง ๆ ในภาษาจีนไว้อย่างตายตัว เช่น b และ d ในระบบพินอิน เป็นเสียง "ป" และ "ต" ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากระบบการออกเสียงส่วนใหญ่ ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือภาษาอื่นในยุโรป ขณะที่อักษร j หรือ q นั้นมีเสียงไม่ตรงกับในภาษาอังกฤษเลย กล่าวสั้น ๆ ก็คือ พินอินมุ่งที่จะใช้อักษรโรมัน เพื่อแทนเสียงใดเสียงหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อความสะดวกในการเขียน มิได้ยืมเสียงจากระบบของอักษรโรมันมาใช้ การใช้ระบบนี้นอกจากทำให้ชาวต่างชาติเขียนอ่านภาษาจีนได้สะดวกแล้ว ยังสามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้สะดวกอย่างยิ่งด้วย ต่อไปนี้เป็นการถอดเสียงภาษาจีน (ที่เขียนด้วยอักษรโรมันในระบบพินอิน) ด้วยอักษรไทย โปรดสังเกตว่า บางหน่วยเสียงในภาษาจีนไม่มีหน่วยเสียงที่ตรงกันในภาษาไทย จึงต้องอนุโลมใช้อักษรที่ใกล้เคียง ในที่นี้จึงมีอักษรไทยบางตัว ที่ต้องใช้แทนหน่วยเสียงในภาษาจีนมากกว่าหนึ่งหน่วยเสียง ทั้งนี้เพื่อเป็น "เกณฑ์อย่างคร่าว ๆ" สำหรับการเขียนคำทับศัพท์ภาษาจีน.

ดาบมังกรหยกและพินอิน · พินอินและมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

กิมย้ง

thumb กิมย้ง หรือชื่อจริง จา เลี้ยงย้ง (Louis Cha Leung-yung) เป็นนักเขียนนิยายกำลังภายในที่ได้รับความนิยมมาก มักเขียนนิยายโดยแฝงเนื้อหาทางการเมืองบางอย่างไว้ โดยเฉพาะการวิจารณ์ระบบกษัตริย์ พรรคคอมมิวนิสต์ และลัทธิเชื้อชาติฮั่นเป็นใหญ่ กิมย้งมีหนังสือพิมพ์เป็นของตัวเอง ชื่อ หมิงเป้า (明報) ปัจจุบัน กิมย้ง ยังมีชีวิตอยู่ และดูแลกิจการหนังสือพิม.

กิมย้งและดาบมังกรหยก · กิมย้งและมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

ละครโทรทัศน์

ละครโทรทัศน์ คือรายการทางโทรทัศน์ที่มีบทละครและเรื่องราว ไม่รวมถึงรายการจำพวก กีฬา ข่าว เรียลลิตี้โชว์ เกมโชว์ สแตนอัพคอเมดี้ และวาไรตี้โชว์ โดยละครโทรทัศน์โดยมากจะมีหลายตอน เน้นความบันเทิงเป็นหลัก เพื่อการรับชมภายในเคหสถาน นักแสดงที่แสดงในละครโทรทัศน์จะใช้หลายมุมกล้อง บางครั้งนักแสดงจะไม่ทราบว่าเมื่อไรกล้องจะจับภาพ ทางด้านบทละครโทรทัศน์ ต้องมีความละเอียดทุกขั้นตอนกว่าละครเวที เพราะบทโทรทัศน์เป็นตัวกำหนดมุมกล้อง กำหนดฉาก การแต่งกายของผู้แสดง ดนตรี เสียงประกอบ และบางเรื่องยังมีคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามาเพื่อความสมจริงอีกด้ว.

ดาบมังกรหยกและละครโทรทัศน์ · มังกรหยกและละครโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

ว.ณ เมืองลุง

ว.ณ เมืองลุง เป็นนามปากกาของ ชิน บำรุงพงศ์ (11 กันยายน 2471- 26 กรกฎาคม 2547) เป็นนักเขียน และนักแปลหนังสือไท.

ดาบมังกรหยกและว.ณ เมืองลุง · มังกรหยกและว.ณ เมืองลุง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนามาณีกี

นามาณีกี หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) เป็นศาสนาแบบ เอกเทวนิยม และไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิแซสซานิด มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ศาสนามานี เป็นสาขาหนึ่งของ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ เป็นต้นกำเนิดของ ลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และ ลัทธิอนุตตรธรรม สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและภาษาซีรีแอก ราว คริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่า ชาวมานี หรือ มานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันใช้หมายรวมถึง ผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน.

ดาบมังกรหยกและศาสนามาณีกี · มังกรหยกและศาสนามาณีกี · ดูเพิ่มเติม »

หมี เสว่

หมี เสว่ (米雪; Mai Suet, Mi Xue; นิยมเรียกว่า หมี เซียะ) มีชื่อจริงว่า มิเชล ยิม ไหว่หลิง (嚴慧玲, Michelle Yim Wai-ling) นักแสดงหญิงฮ่องกงที่มีชื่อเสียงโดยเฉพาะในยุคทศวรรษที่ 70 และ 80 มีชื่อเสียงจากการแสดงบทบาท อึ้งย้ง จากละครโทรทัศน์ของซีทีวี เรื่อง มังกรหยก จากบทประพันธ์ของ กิมย้ง เธอเกิดที่เมืองอันฮุย มณฑลกวางตุ้ง มีน้องสาวที่เป็นนักแสดงเช่นกัน ชื่อ ซิดนีย์ ยิม (Sidney Yim, 雪梨) จบมัธยม โรงเรียนคริสต์ เริ่มฝึกฝนการแสดงตั้งแต่ปี..

ดาบมังกรหยกและหมี เสว่ · มังกรหยกและหมี เสว่ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวย่อ

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ภาษาฮั่น หรือ ภาษาจีนกลาง เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ แผนภาพออยเลอร์แสดงกลุ่มของการเปลี่ยนแปลงอักษรจีนตัวเต็มไปเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีนตัวย่อ (เจี่ยนถี่จื้อ/เจี่ยนฮั่วจื้อ) เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน อักษรจีนตัวย่อประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 เหตุที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวย่อ หรือ Simplified Chinese character ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวเต็ม หรือ Traditional Chinese Character (อักษรจีนดั้งเดิม) อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดาบมังกรหยกและอักษรจีนตัวย่อ · มังกรหยกและอักษรจีนตัวย่อ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีนตัวเต็ม

Hànzì ฮั่นจื้อ แปลว่า ตัวอักษรจีน เขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม อักษรจีนตัวเต็ม เป็นหนึ่งในสองรูปแบบอักษรจีนมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน ปรากฏครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ. 337 - 763) และได้ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ในสมัยราชวงศ์เหนือใต้ ที่ต้องเรียกว่าอักษรจีนตัวเต็ม หรืออักษรจีนดั้งเดิม ก็เพื่อให้แตกต่างจากอักษรจีนมาตรฐานอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในปัจจุบัน นั่นคือ อักษรจีนตัวย่อ ซึ่งประดิษฐ์และเริ่มใช้โดยรัฐบาลของ สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) ใน พ.ศ. 2492 อักษรจีนตัวเต็มได้ใช้ใน ฮ่องกง มาเก๊า ไต้หวัน และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนก่อนการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย ส่วนอักษรจีนตัวย่อ ใช้กันใน สาธารณรัฐประชาชนจีน สิงคโปร์ และชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลบางชุมชนที่เริ่มตั้งชุมชนหลังการใช้อักษรจีนตัวย่ออย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มเป็นหลัก แต่สำหรับการสอนภาษาจีนตามสถานศึกษาในประเทศไทยส่วนมากจะใช้อักษรจีนตัวย่อ เพื่อให้เป็นแบบแผนเดียวกันกับสาธารณรัฐประชาชนจีน.

ดาบมังกรหยกและอักษรจีนตัวเต็ม · มังกรหยกและอักษรจีนตัวเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

ดาบมังกรหยก

มังกรหยก (หรือ มังกรหยกภาค 3 หรือ กระบี่อิงฟ้า ดาบฆ่ามังกร) เป็นนิยายกำลังภายในภาคต่อของ มังกรหยก แต่งโดยกิมย้ง (ชื่อในภาษาจีน อักษรจีนตัวเต็ม: 倚天屠龍記; อักษรจีนตัวย่อ: 倚天屠龙记; พินอิน: yǐ tiān tú lóng jì) และชื่อในภาษาอังกฤษ คือ The Heavenly Sword and the Dragon Saber หรือ The Heaven Sword and Dragon Saber).

ดาบมังกรหยกและดาบมังกรหยก · ดาบมังกรหยกและมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

น.นพรัตน์

น.นพรัตน์ เป็นนามปากกาของนักแปลนิยายจีนชื่อดังสองพี่น้อง คือ "อานนท์" หรือชื่อในปัจจุบัน "ธนทัศน์ ภิรมย์อนุกูล" และ "อำนวย ภิรมย์อนุกูล" ปัจจุบันอานนท์เสียชีวิตแล้ว งานแปลชิ้นแรกใช้นามปากกาว่า อ.อภิรมย์ แต่เมื่อแปลสองเรื่องคู่กัน จึงต้องมีนามปากกาที่สอง คือ น.นพรัตน์ (มีที่มาจากชื่อร้านเพชร) นามปากกาอื่นๆ คือ ไผ่ใบเขียว กับงานแปลชุดโคตรโกง ผลงานของ น.นพรัตน์ ที่มีชื่อเสียง มีมากมายหลากหลาย จนมาถึงเรื่องล่าสุดคือ จอมคนแผ่นดินเดือด ซึ่งเป็นนิยายที่มีความพิเศษ ก็คือเป็นนิยายแปลลำดับที่ 300 ของ น.นพรัตน์ นอกจากนี้ น.นพรัตน์ยังถือเป็นผู้บุกเบิกการนำนิยายละครมาลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวัน เป็นประจำอย่างต่อเนื่องด้วย โดยเริ่มจากการทำงานกับหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ซึ่งในช่วงนั้นหนังสือพิมพ์ถูกจำกัดเสรีภาพในการเสนอข่าว ทำให้หนังสือพิมพ์ต้องหาทางออกโดยมอบหมายให้ น.นพรัตน์ เขียนเรื่องนิยายจีน โดยนำเค้าโครงมาจาก นิยายกำลังภายในทางโทรทัศน์ มาลงเป็นตอนๆ และ ต่อเนื่องมาจนปัจจุบันที่กลายเป็นสูตรสำเร็จของหนังสือพิมพ์รายวันของไทย แทบจะทุกฉบับ ที่ต้องมีการลงตีพิมพ์นิยายจากละครโทรทัศน์ จุดเด่นที่เป็นที่จดจำอย่างหนึ่งของน.นพรัตน์ สำหรับแฟนๆ นิยายกำลังภายในจีน นั้นก็คือ ลายเซ็นที่ดูไม่ต่างกับการเขียนลายมือตามปกติ ซึ่ง น.นพรัตน์ มักจะมาแจกลายเซ็น ในงาน สัปดาห์หนังสือแห่งชาติและ งานๆอื่นๆ เป็นประจำทุกปี.

ดาบมังกรหยกและน.นพรัตน์ · น.นพรัตน์และมังกรหยก · ดูเพิ่มเติม »

เหลียง เฉาเหว่ย

หลิ่ง ฉิ่วไหว หรือ เหลียง เฉาเหว่ย ในสำเนียงจีนกลาง (Loeng4 Ciu4-wai5 เลิ่ง ชี่วไหว) นักแสดงชาวฮ่องกงชื่อดัง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า โทนี่ เหลิ่ง (Tony Leung) หรือ โทนี่ เหลิ่ง ฉิ่วไหว (Tony Leung Chiu-Wai ทั้งนี้เพื่อมิให้สับสนกับนักแสดงฮ่องกงอีกรายที่มีชื่อว่า โทนี่ เหลียง เช่นกัน คือ เหลียง เจียฮุย).

ดาบมังกรหยกและเหลียง เฉาเหว่ย · มังกรหยกและเหลียง เฉาเหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

เอี้ยก้วยเจ้าอินทรี

อี้ยก้วยเจ้าอินทรี เป็นนิยายกำลังภายในภาคต่อของเรื่อง มังกรหยก เป็นผลงานการประพันธ์ของกิมย้ง มีภาคต่อในชุดเดียวกันคือเรื่อง ดาบมังกรหยก (The Return of the Condor Heroes) บางสำนวนแปลใช้ชื่อเรื่องว่า ลูกมังกรหยก ฉบับแปลภาษาไทยมีหลายสำนวน ยึดตามฉบับที่ลิขสิทธิ์ถูกต้องแปลโดย น.นพรัตน์ ใช้ชื่อว่า เอี้ยก้วยเจ้าอินทรี จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สยามอินเตอร์บุ๊คส์ ความยาว 4 เล่มจบ ได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายครั้ง รวมถึงวิดีโอเกมด้ว.

ดาบมังกรหยกและเอี้ยก้วยเจ้าอินทรี · มังกรหยกและเอี้ยก้วยเจ้าอินทรี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ดาบมังกรหยกและมังกรหยก

ดาบมังกรหยก มี 47 ความสัมพันธ์ขณะที่ มังกรหยก มี 77 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 10.48% = 13 / (47 + 77)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ดาบมังกรหยกและมังกรหยก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »