โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ซาร์ดและมะอิ คุระกิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ซาร์ดและมะอิ คุระกิ

ซาร์ด vs. มะอิ คุระกิ

ซาร์ด เป็นกลุ่มนักร้องเจ-ป็อปที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534 ในสังกัดค่ายเพลง บี-แกรมเรคอร์ด เดิมประกอบด้วยสมาชิก 5 คน นำโดยนักร้องอิซุมิ ซะกะอิ ซึ่งเธอเป็นสมาชิกคนเดียวในกลุ่มที่ยังคงอยู่ในวงตั้งแต่เริ่มก่อตั้งและเป็นผู้แต่งเพลงทั้งหมดให้กับวงซาร์ด รวมถึงวงอื่น ๆ ด้วย ในขณะที่สมาชิกอื่นเปลี่ยนตัวตลอดเวลา และหลังจากอัลบั้มโฮลด์มี (HOLD ME) ออกจำหน่าย สมาชิกทั้งหมดก็ออกจากวงไป ทำให้เมื่อกล่าวถึงซาร์ด ก็มักจะหมายถึงอิซุมิ ในขณะเดียวกันเมื่อกล่าวถึงอิซุมิ ก็สามารถหมายถึงซาร์ดได้เช่นกัน ซาร์ดมีเพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงอยู่หลายเพลง เช่น มะเกะไนเดะ, ยุเระรุโอะโมะอิ (พ.ศ. 2536) และ มายเฟรนด์ (พ.ศ. 2539) ซาร์ดปิดตำนานของวงเนื่องจากการเสียชีวิตของอิซุมิเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 (รวมอายุได้ 40 ปี) จากอุบัติเหตุพลัดตกจากบันไดสูง 3 เมตร ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเคย์โอ อย่างไรก็ดีก็ยังมีการนำเพลงเก่าของซาร์ดทั้งที่เคยอยู่ในอัลบั้มหรือซิ งเกิลเก่า ๆ มาทำใหม่โดยนำนักร้องจากเครือบีอิ้งซึ่งเป็นบริษัทแม่ของบี-แกรมเรคคอร์ด ต้นสังกัดของซาร์ดมาร้องคู่กันหรือเรียบเรียงทำนองใหม่ ทำให้ซาร์ดยังมีผลงานออกมาเรื่อย ๆ โดยในปัจจุบันซาร์ดมี 45 ซิงเกิล และ 17 อัลบั้ม. มะอิ คุระกิ หรือชื่อจริง มะอิ อะโอะโนะ (เกิด 28 ตุลาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงแนวป็อป อาร์แอนด์บีร่วมสมัย และโปรดิวเซอร์ ชาวญี่ปุ่น จากเมืองฟุนะบะชิ จังหวัดชิบะ มะอิเปิดตัวครั้งแรกใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ซาร์ดและมะอิ คุระกิ

ซาร์ดและมะอิ คุระกิ มี 35 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บิลบอร์ดพ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2544พ.ศ. 2545พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552กรกฎาคมภาษาอังกฤษยอดนักสืบจิ๋วโคนันยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ร็อกสตูดิโออัลบั้มออริคอนอะนิเมะอัลบั้มอัลบั้มเพลงฮิตอิซุมิ ซะกะอิค่ายเพลงประเทศญี่ปุ่นประเทศไต้หวันนักร้องนิปปงบูโดกังเจป็อปเปียโน...10 กันยายน26 มกราคม27 พฤษภาคม28 พฤษภาคม31 สิงหาคม ขยายดัชนี (5 มากกว่า) »

บิลบอร์ด

ลบอร์ด เป็นนิตยสารทางด้านเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเพลงฉบับหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีลักษณะของชาร์ทเพลงและอัลบั้ม ออกเป็นรายสัปดาห์ โดยนิตยสารฉบับนี้จะมีตารางจัดอันดับเพลงและอัลบั้มยอดนิยมตามแนวเพลงในแต่ละสัปดาห์ แต่ตารางอันดับเพลงซึ่งคนทั่วโลกเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ "Billboard Hot 100" ชาร์ทเพลงอันดับ 1 ของโลก เป็นการจัดอันดับเพลง 100 อันดับ โดยไม่แบ่งประเภทหรือแนวเพลง และอีกตารางคือ "Billboard 200" ซึ่งเป็นการจัดอันดับอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงสุด 200 อัลบั้มตามผลสำรว.

ซาร์ดและบิลบอร์ด · บิลบอร์ดและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ซาร์ดและพ.ศ. 2542 · พ.ศ. 2542และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2543 · พ.ศ. 2543และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซาร์ดและพ.ศ. 2544 · พ.ศ. 2544และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ซาร์ดและพ.ศ. 2545 · พ.ศ. 2545และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2546 · พ.ศ. 2546และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2547 · พ.ศ. 2547และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2548 · พ.ศ. 2548และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2549 · พ.ศ. 2549และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2550 · พ.ศ. 2550และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ซาร์ดและพ.ศ. 2551 · พ.ศ. 2551และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ซาร์ดและพ.ศ. 2552 · พ.ศ. 2552และมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม

กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.

กรกฎาคมและซาร์ด · กรกฎาคมและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ซาร์ดและภาษาอังกฤษ · ภาษาอังกฤษและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน

อดนักสืบจิ๋วโคนัน เป็น การ์ตูนญี่ปุ่น เรื่องยาวแนวสืบสวนสอบสวน เรื่องและภาพโดย อาโอยาม่า โกโช ซึ่งตีพิมพ์บน นิตยสารรายสัปดาห์โชเน็งซันเดย์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดยถูกตีพิมพ์ในหลายภาษาด้วยกัน นอกจาก ภาษาญี่ปุ่น แล้วยังมี ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน, ภาษาอินโดนีเซีย, ภาษาฟินแลนด์, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาดัตช์, ภาษาเยอรมัน, ภาษาอิตาลี, ภาษามาเลเซีย, ภาษาเกาหลี, ภาษาสเปน, ภาษากาตาลา, ภาษาสวีเดน, ภาษานอร์เวย์, ภาษาเดนมาร์ก, ภาษาเวียดนาม, ภาษาฟิลิปปินส์ และภาษาไทย นอกจากยอดนักสืบจิ๋มโคนันจะได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือการ์ตูนแล้ว ยังได้มีการนำมาดัดแปลงทำเป็นการ์ตูนซีรีส์โทรทัศน์โดยแอนิเมชันสตูดิโอโตเกียวมูฟวี่ชินชะ (โดยปัจจุบันรู้จักกันในชื่อของทีเอมเอส เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) โดยมีผู้กำกับอย่างโคดะมะ เคนจิ และยามาโมโตะ ยาซุยจิโร่ซึ่งนำออกอากาศผ่าน สถานีโทรทัศน์นิปปอน, สถานีโทรทัศน์โยมิอุริ, และ สถานีโทรทัศน์แอนิแมกซ์ ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 ด้วยกระแสตอบรับที่ดีของยอดนักสืบจิ๋วโคนันจึงได้มีการจัดทำการตูนภาพยนตร์ซึ่งออกฉายช่วงสัปดาห์หยุดยาวตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน ถึงวันที่ 5 พฤษภาคม ของญี่ปุ่น (หรือโกลเด้นวีค) ของทุกๆ ปี อีกทั้งยังมีการจัดทำซีรีส์คนแสดงอีกด้ว.

ซาร์ดและยอดนักสืบจิ๋วโคนัน · มะอิ คุระกิและยอดนักสืบจิ๋วโคนัน · ดูเพิ่มเติม »

ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่

ปสเตอร์ตอน 20 ปริศนารัตติกาลทมิฬ เป็นภาพยนตร์ชุดโคนันที่มีรายได้มากที่สุด ยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ เป็นภาพยนตร์ตอนพิเศษของภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน โดยภาพยนตร์ชุดนี้จะออกฉายในโรงภาพยนตร์ในช่วงโกลเดน วีคในประเทศญี่ปุ่น ในปัจจุบันมีทั้งหมด 22 ภาคในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งฉายไปแล้ว 21 ภาค และทางไทก้าซึ่งเป็นผู้ถือลิขสิทธิ์นำมาจำหน่ายครบ 21 ภาค แต่เริ่มนำมาฉายในโรงภาพยนตร์ครั้งแรกในภาคที่ 8 มนตราแห่งรัตติกาลสีเงิน นอกจากนี้บางตอนยังมีการนำไปออกอากาศทาง โมเดิร์นไนน์ทีวี ในช่วง โมเดิร์นไนน์การ์ตูนสเปเชียล และทางช่อง 7, CH7 (เรียกข้อมูลวันที่ 18 ต.ค. 2552), Modernine Cartoon, 18 ต..

ซาร์ดและยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ · มะอิ คุระกิและยอดนักสืบจิ๋วโคนันเดอะมูฟวี่ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

ซาร์ดและร็อก · มะอิ คุระกิและร็อก · ดูเพิ่มเติม »

สตูดิโออัลบั้ม

ตูดิโออัลบั้ม เป็นอัลบั้มเพลงใหม่ของศิลปิน โดยปกติจะไม่รวมเพลงแสดงสดหรือรีมิกซ์ ถ้ามีจะไม่เป็นเพลงส่วนใหญ่ของอัลบั้ม มักจะเรียกว่า โบนัสแทร็ก และเนื่องจากมีระยะเวลาในการทำงานเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว จึงทำให้มีความสละสลวย เทคนิคในภาคผลิตที่ดี เสียงซาวด์เอฟเฟกต์ การใช้วงดนตรีร่วม ทางอุตสาหกรรมดนตรี สตูดิโออัลบั้มมักจะมีความหมายตรงข้ามกับ อัลบั้มรวมเพลง และอัลบั้มบันทึกการแสดงสด และมักจะมียอดขายสูง อย่างในสหราชอาณาจักร มี 18 อัลบั้ม ใน 24 อัลบั้มของสตูดิโออัลบั้มที่มียอดขายเกิน 2.5 ล้านชุดึ.

ซาร์ดและสตูดิโออัลบั้ม · มะอิ คุระกิและสตูดิโออัลบั้ม · ดูเพิ่มเติม »

ออริคอน

ออริคอน (Oricon) หรือชื่อเดิมคือ ออริจินัลคอนฟิเดนซ์ (Original Confidence) เป็นบริษัทผู้ถือหุ้นใหญ่สัญชาติญี่ปุ่นซึ่งให้ข้อมูลข่าวสารและสถิติเกี่ยวกับเพลงและอุตสาหกรรมเพลงในประเทศ โซโก โคะอิเกะ (Sōkō Koike) ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2510 และเริ่มสร้างชื่อเสียงด้านการจัดทำผังดนตรี บริษัทออริคอนทำผังดนตรีโดยอาศัยข้อมูลซึ่งรับมาจากร้านขายปลีก 39,700 แห่ง (จำนวนเมื่อเดือนเมษายน 2554) ทั้งยังจัดอันดับยอดขายซีดีและดีวีดีเพลง เกมอิเล็กทรอนิกส์ และผลิตภัณฑ์อื่นในทางบันเทิง เป็นรายสัปดาห์ แล้วให้ออริคอนเอนเตอร์เทนเมนต์ (Oricon Entertainment) ซึ่งเป็นบริษัทลูก นำออกเผยแพร่ทุกวันอังคารทางเว็บไซต์บริษัทและทางนิตยสาร ออริคอนสไตล์ (Oricon Style) นอกจากนี้ บริษัทออริคอนยังสำรวจความนิยมโฆษณาทางโทรทัศน์ แล้วจัดอันดับเผยแพร่ลงเว็บไซต์ของตนด้ว.

ซาร์ดและออริคอน · มะอิ คุระกิและออริคอน · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

ซาร์ดและอะนิเมะ · มะอิ คุระกิและอะนิเมะ · ดูเพิ่มเติม »

อัลบั้ม

Nutcracker Suite โดย Tchaikovsky อัลบั้ม (Album) คือ การรวมเพลงหรือเสียงที่เกี่ยวกับดนตรี ออกสู่สาธารณชน โดยมากจะทำเป็นธุรกิจ มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ขาย ถึงแม้ว่าศิลปินเล็กๆ มักจะขายเองโดยตรง โดยอาจขายในงานคอนเสิร์ตหรือบนเว็บไซต์ เพลงในอัลบั้มอาจเนื้อหา อารมณ์ เสียง ที่ตั้งใจที่จะเล่าเรื่องราว หรือมีแนวความคิด หรือต้องการแสดงการบันทึกเสียงที่ใดที่หนึ่ง เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือบันทึกเสียงเพื่อการค้าโดยค่ายเพลง เพลงต่างๆในอัลบั้มมักมีรายชื่อเพลง ในบางอัลบั้ม อาจมีเพลงเพิ่มเติมขึ้นมาหรือที่เรียกว่า โบนัสแทร็ค (บางทีอาจมีซ่อนชื่อเพลง หรือที่เรียกว่า Hidden Track) ในบางอัลบั้มอาจวางขายในรูปแบบเดียว เช่น ซีดี, ดีวีดี ออดิโอ, คาสเซ็ตต์, ไวนีล, เอ็มพี3 เป็นต้น อัลบั้มในยุคแรกจะเป็นแผ่นเสียง 78 RPM ที่รวมอัลบั้มภาพไว้ด้วย โดยแผ่นแรกที่เรียกว่า อัลบั้มคือ Nutcracker Suite โดย Tchaikovsky ในปี ค.ศ. 1909 วางจำหน่ายโดย Odeon Records ในปี 1948 โคลัมเบียได้ผลิตแผ่น 12", 33⅓ RPM เป็นครั้งแรกทำจากแผ่นไวนีล โดยมีความยาวประมาณ 23 นาทีต่อ 1 หน้า ความยาวของอัลบั้มมักมีช่วงระหว่าง ครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง ปัจจุบันรูปแบบแผ่นไวนีลไม่ได้รับความนิยมเหมือนแต่เคย โดยในปัจจุบันมักอยู่ในรูปแบบของซีดี คาสเซ็ทท์และเอ็มพี 3 ในปกอัลบั้มมีการออกแบบกราฟิกต่างๆ และมีคำบรรยาย รวมถึงเนื้อเพลง ภาพของศิลปิน หรือ อาร์ทเวิร์คและตัวหนังสือต่างๆ ซีดีบางแผ่นมีเป็นบุ๊คเล็ท (หนังสือเล่มเล็กๆ) แผ่นซีดีเริ่มทีมีความยาว 74 นาที ต่อมายาวเพิ่มเป็น 80 นาที ปัจจุบันความยาวของอัลบั้มต่อหนึ่งอัลบั้มมักมีความยาวตั้งแต่ 40 นาทีถึง 55 นาที จากกฎของชาร์ทในอังกฤษ อัลบั้มต้องมีเพลงมากกว่า 4 เพลงและมีความยาวมากกว่า 25 นาที บางครั้งอัลบั้มที่สั้นกว่านี้จะเรียกว่า อีพี (EP ย่อมาจาก extended play) และอาจมีความหมายเดียวกับคำว่า มินิอัลบั้ม ในบางอัลบั้มที่มีความยาวเกินกว่า 1 แผ่น ศิลปินมักตัดสินใจที่จะออกเป็นอัลบั้มคู่ โดยมีรูปแบบของ แผ่นซีดี หรือ แผ่นไวนีล รวมกันในหีบห่อเดียวกัน หรือในบางครั้งก็มีถึง 3 แผ่น (triple album) หมวดหมู่:เพลง.

ซาร์ดและอัลบั้ม · มะอิ คุระกิและอัลบั้ม · ดูเพิ่มเติม »

อัลบั้มเพลงฮิต

อัลบั้มเพลงฮิต เป็นอัลบั้มที่รวมเพลงที่ประสบความสำเร็จของศิลปินหนึ่งๆหรือหลายศิลปินไว้ในอัลบั้มเดียวกัน ศิลปินบางคนมีหลายอัลบั้มเพลงฮิต อาทิควีน เป็นต้น บ้างนิยมเป็นอัลบั้มรวมเพลงหลังการแยกวง หรือนักร้องเปลี่ยนอาชีพอื่น หมวดหมู่:ชนิดอัลบั้มเพลง หมวดหมู่:อัลบั้มเพลงฮิต.

ซาร์ดและอัลบั้มเพลงฮิต · มะอิ คุระกิและอัลบั้มเพลงฮิต · ดูเพิ่มเติม »

อิซุมิ ซะกะอิ

แฟนเพลงร่วมวางดอกไม้ไว้อาลัยแก่ อิซุมิ ซะกะอิ อิซุมิ ซะกะอิ ชื่อแต่กำเนิดว่า ซะชิโกะ คะมะชิ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) นักร้องสาวชาวญี่ปุ่น และเป็นสมาชิกของวงซาร์ด (ZARD) อิซุมิเกิดที่จังหวัดคะนะงะวะในประเทศญี่ปุ่น อิซุมิเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงในปี พ.ศ. 2532 โดยเป็นแชมป์ โทเอคาราโอเกะ และเป็นเรซควีนของนิชชิน ต่อมาได้ถ่ายอัลบั้มวาบหวิวชื่อ "NOCTURNE" หลังจากนั้นในปี..

ซาร์ดและอิซุมิ ซะกะอิ · มะอิ คุระกิและอิซุมิ ซะกะอิ · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายเพลง

ลง (record label) เป็นแบรนด์และเครื่องหมายการค้าที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย เพลง (sound recording)และมิวสิกวีดีโอ ค่ายเพลงเป็นบริษัทจัดการทั้งแบรนด์ และ เทรดมาร์ก ประสานงานกับฝ่ายโปรดักชั่น ฝ่ายผลิตสินค้า ฝ่ายจำหน่าย ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องลิขสิทธิ์ทั้งเพลง (sound recording)และมิวสิกวิดีโอ,จัดการเกี่ยวกับ A&R,ดูแลสัญญาศิลปินและผู้จัดการศิลปิน.

ค่ายเพลงและซาร์ด · ค่ายเพลงและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ซาร์ดและประเทศญี่ปุ่น · ประเทศญี่ปุ่นและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไต้หวัน

ประเทศไต้หวัน (Taiwan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในทวีปเอเชียตะวันออก ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ จินเหมิน (金門), ไต้หวัน, เผิงหู (澎湖), หมาจู่ (馬祖), และอูชิว (烏坵) กับทั้งเกาะเล็กเกาะน้อยอีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "พื้นที่ไต้หวัน" (臺灣地區) ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลวง ส่วนไทเปใหม่เป็นเขตปกครองที่จัดตั้งขึ้นใหม่ กินพื้นที่กรุงไทเป และเป็นเขตซึ่งประชากรหนาแน่นที่สุดในเวลานี้ เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชนพื้นเมือง และมีชาวจีนจากแผ่นดินใหญ่เข้ามาอาศัยร่วมด้วย จนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคชาตินิยม (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคสังคมนิยม (共产党) พรรคชาตินิยมจึงหนีมายังเกาะไต้หวัน แล้วสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหากจากสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ ในช่วงทศวรรษ 1980 ถึงต้นทศวรรษ 1990 การเมืองการปกครองสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้เจริญรุ่งเรืองจนเป็นประชาธิปไตยที่มีพรรคการเมืองหลายพรรคและมีการเลือกตั้งทั่วหน้า อนึ่ง ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงของไต้หวันยังมีบทบาทสำคัญมากในเศรษฐกิจโลก เป็นเหตุให้ไต้หวันได้เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกและความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ เสรีภาพของสื่อมวลชน เสรีภาพทางเศรษฐกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนามนุษย์ในไต้หวันยังได้รับการจัดอยู่ในอันดับสูงด้วยhttp://www.dgbas.gov.tw/public/Data/366166371.pdf.

ซาร์ดและประเทศไต้หวัน · ประเทศไต้หวันและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

นักร้อง

นักร้อง (Singer)อาชีพของคนขายเสียง อาชีพให้บริการความสุขด้วยเสียงเพลงเช่น อคูสติก ป๊อป ร็อค แจ๊ส เบส เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันแนวเพลงต่าง ๆ มีมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้ฟังแต่ละกลุ่ม อาชีพนักร้องจึงเป็นอาชีพในฝันของคนยุคใหม่ เนื่องจากอาชีพนักร้องเป็นอาชีพที่สามารถสร้างได้อย่างมหาศาล เป็นผู้มีชื่อเสียงในสังคม และมีผู้คนชื่นชมมาก ลักษณะงานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนักร้อง 1.

ซาร์ดและนักร้อง · นักร้องและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

นิปปงบูโดกัง

้านหน้าสนาม นิปปงบูโดกัง หรือมักเรียกโดยย่อว่าบูโดกัง เป็นสนามกีฬาในร่ม ตั้งอยู่ย่านชิโยดะ ใจกลางกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสนามกีฬาที่สำหรับจัดการแข่งขันกีฬาประเภทศิลปะป้องกันตัวโดยเฉพาะ เช่น คาราเต้ ยูโด มวยสากล เป็นต้น นิปปงบูโดกัง สร้างขึ้นมาเพื่อรองรับการแข่งขันยูโด ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 18 ที่ญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพ ใช้ทุนสร้างสองพันล้านเยน และใช้เรื่อยมาจนปัจจุบัน โดยในโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 สนามนี้จะกลับมาใช้แข่งขันยูโดอีกครั้ง สำหรับในส่วนของมวยสากลอาชีพ ใช้เป็นสถานที่ชกชิงและป้องกันตำแหน่งแชมป์โลกของนักมวยญี่ปุ่นและนักมวยต่างชาติหลายครั้ง เช่น ยูริ อาร์บาชาค็อฟ–ฉัตรชัย อีลิทยิม (ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1995), วีระพล นครหลวงโปรโมชั่น–โฮซูมิ ฮาเซงะวะ (ครั้งแรกในปี ค.ศ. 2005), โฮซูมิ ฮาเซงาวะ–เฟอร์นันโด มอนเทียล ในปี..

ซาร์ดและนิปปงบูโดกัง · นิปปงบูโดกังและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

เจป็อป

มะโมะอิโระโคลเวอร์ Z เจป็อป (J-pop; Japanese Pop) หมายถึงแนวดนตรีของประเทศญี่ปุ่น ที่มีลักษณะดนตรีผสมผสานจากทางตะวันตก ซึ่งรวมถึงดนตรีในลักษณะ ป็อป ร็อก แดนซ์ ฮิปฮอป และ โซล เจป็อป เป็นหนึ่งใน 4 แนวดนตรีที่มีการจำแนกในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้แก่ เจป็อป, เอ็งกะ (ลักษณะคล้ายบัลลาด), ดนตรีคลาสสิก และ ดนตรีต่างประเท.

ซาร์ดและเจป็อป · มะอิ คุระกิและเจป็อป · ดูเพิ่มเติม »

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ซาร์ดและเปียโน · มะอิ คุระกิและเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

10 กันยายนและซาร์ด · 10 กันยายนและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

26 มกราคมและซาร์ด · 26 มกราคมและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

27 พฤษภาคมและซาร์ด · 27 พฤษภาคมและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

28 พฤษภาคมและซาร์ด · 28 พฤษภาคมและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

31 สิงหาคมและซาร์ด · 31 สิงหาคมและมะอิ คุระกิ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ซาร์ดและมะอิ คุระกิ

ซาร์ด มี 111 ความสัมพันธ์ขณะที่ มะอิ คุระกิ มี 133 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 35, ดัชนี Jaccard คือ 14.34% = 35 / (111 + 133)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ซาร์ดและมะอิ คุระกิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »