โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี vs. นาว 26

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ. นาว 26 (NOW 26) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัลจากบริษัท แบงคอกบิสสิเนส บรอดแคสติง จำกัด ในเครือเนชั่น ข่าวเศรษฐกิจ การวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2559 ช่องนาวได้เปลี่ยนรูปแบบจากเน้นรายการข่าวเศรษฐกิจ เป็นสาระทั่วไป.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26 มี 16 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2559กรุงเทพมหานครสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณจีเอ็มเอ็ม 25ทรูวิชันส์ทีเอ็นเอ็น24ข่าวในพระราชสำนักประเทศไทยโทรทัศน์ระบบดิจิทัลโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทยไทยรัฐทีวีเนชั่นทีวี

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและพ.ศ. 2555 · นาว 26และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและพ.ศ. 2557 · นาว 26และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและพ.ศ. 2559 · นาว 26และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · กรุงเทพมหานครและนาว 26 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · นาว 26และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ

mux กับ demuxมัลติเพล็กซ์เซอร์ การรวมสัญญาณ กับ การไม่รวมสัญญาณมัลติเพล็กซ์เซอร์ มัลติเพล็กซ์เซอร์ (Multiplexer: MUX) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตัวเลือกข้อมูล(Data Selector) ซึ่งเป็นตัวที่ทำหน้าที่เลือกช่องสัญญาณที่มีข้อมูลช่องหนึ่งจากหลายๆช่องสัญญาณมาเป็นอินพุตและต่อช่องสัญญาณที่มีข้อมูลนั้นเข้าเป็นสัญญาณเอาต์พุตเพียงเอาต์พุตเดียว ดังรูป รูปบล็อกไดอะแกรมของมัลติเพล็กซ์เซอร์ จากรูปทางด้านซ้ายนั้นได้แสดงอินพุตจำนวน n ขา ตั้งแต่ D0 ถึง Dn ขาซึ่งใช้สำหรับเลือกข้อมูล S0 ถึง Sm และขาเอาต์พุต Y ส่วนขาของ S0 ถึง Sm ใช้สำหรับการเลือกให้อินพุตใดจากอินพุต D0 ถึง Dn ผ่านออกไปที่เอาต์พุต Y และจำนวนขาของ S นั้นก็ยังมีความสัมพันธ์กับจำนวนขาของอินพุต D คือ เช่น ถ้ามีจำนวนอินพุตที่จะถูกเลือกจำนวน 4 อินพุต จำนวนบิตของขาสำหรับเลือกข้อมูลจะเท่ากับ 2 (22.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ · นาว 26และอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม 25

ีเอ็มเอ็ม 25 (GMM 25) เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ภาพคมชัดมาตรฐาน บริหารงานโดยบริษัท จีเอ็มเอ็ม แชนแนล จำกัด และมีบุษบา ดาวเรือง รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ เป็นช่องโทรทัศน์ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เช่นเดียวกับช่องวัน 31.

จีเอ็มเอ็ม 25และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · จีเอ็มเอ็ม 25และนาว 26 · ดูเพิ่มเติม »

ทรูวิชันส์

ทรูวิชั่นส์ (TrueVisions) หรือเป็นที่รู้จักทั่วไปในชื่อเดิมว่า ยูบีซี (UBC) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก บริหารงานโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน) ในเครือบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) มีคำขวัญว่า ทรูวิชั่นส์ มองโลกได้ล้ำกว่า สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารทิปโก้ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีสุภกิต เจียรวนนท์ เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท/กรรมการบริหาร และ อาณัติ เมฆไพบูลย์วัฒนา เป็นกรรมการผู้จัดการ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและทรูวิชันส์ · ทรูวิชันส์และนาว 26 · ดูเพิ่มเติม »

ทีเอ็นเอ็น24

นีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น24 (TNN24) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2550 เดิมชื่อ ยูบีซี นิวส์ (UBC News) ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น ทรู นิวส์ 24 ทรู นิวส์ 2 (True News 24) True news 2 แล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อปัจจุบันในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 ทีเอ็นเอ็นนำเสนอรายการข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบัน ตลอด 24 ชั่วโมง ผ่าน 2 ช่องรายการ คือช่อง ทีเอ็นเอ็น24 (ออกอากาศทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 7) และ ทีเอ็นเอ็น2 (ออกอากาศทาง ทรูวิชั่นส์ ช่อง 8) ต่อมา เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 ในโอกาสครบรอบ 2 ปี สถานีฯ เปิดตัวเว็บไซต์ เพื่อการนำเสนอข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 TNN24 ได้มีการนำเสนอเนื้อหาผ่านทางสถานีวิทยุ TNN RADIO ทางสถานีวิท.2 FM 103 อีกด้วย ต่อมาเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2553 TNN24 ได้เริ่มส่งสัญญาณการออกอากาศในระบบ Free To Air เพื่อขยายฐานสู่ผู้ชมทั่วประเทศและทั่วโลก ท่านสามารถรับชม TNN24 ผ่านทางจาน DTV และ PSI ช่อง 60 หรือที่ระบบ KU-Band ความถี่ 12604 H 30000 และ C-Band ความถี่ 3600 H 26667 จากนั้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2555 TNN24 ได้ปรับปรุงระบบส่งสัญญาณและการออกอากาศใหม่ เป็นระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูง High Definition และเริ่มออกอากาศช่อง TNN24 ระบบ HD โดยระยะแรกออกอากาศทางระบบดิจิตอลเคเบิลใยแก้วของทรูวิชั่นส์ที่ช่อง 124 ต่อมาได้เปลี่ยนเลขช่องไปยังทรูวิชั่นส์ช่อง 121 แต่ในปัจจุบันออกอากาศทางทรูวิชั่นส์ช่อง 111 ทั้งระบบจานดาวเทียม และระบบดิจิตอลเคเบิลใยแก้ว พร้อมกันนี้ช่อง TNN24 ระบบ SD ยังได้ปรับสัดส่วนภาพจาก 4:3 เป็น 16:9 อีกด้วย และเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 TNN24 ได้เริ่มออกอากาศมาสู่ทีวีในระบบดิจิตอลแบบภาคพื้นดิน โดยออกอากาศทางช่องหมายเลข16 ผ่านเสาสัญญาณ มัลติเพล็กซ์ 2 ของกองทัพบก จนถึงปัจจุบัน.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและทีเอ็นเอ็น24 · ทีเอ็นเอ็น24และนาว 26 · ดูเพิ่มเติม »

ข่าวในพระราชสำนัก

วในพระราชสำนัก เป็นช่วงเวลาที่สถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินทุกช่องในประเทศไทย ซึ่งกระจายเสียงและแพร่ภาพจากเสาอากาศบนบก จะนำเสนอการรายงานข่าวพระราชกรณียกิจหรือพระกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ โดยมีการกำหนดร่วมกับสำนักพระราชวัง ไว้ที่เวลาประมาณ 20:00 น. ของทุกวัน ริเริ่มขึ้นในราวต้นพุทธทศวรรษที่ 2500 ตามดำริของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น และทั้งนี้ตั้งแต่ราว พ.ศ. 2543 เริ่มมีการต่อด้วยข่าวภารกิจของผู้แทนพระองค์ เช่น ราชเลขานุการในพระองค์ นางสนองพระโอษฐ์ หัวหน้าหน่วยงานในพระบรมราชูปถัมภ์ และองคมนตรี เป็นต้น ตามประกาศคณะการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน..

ข่าวในพระราชสำนักและช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ข่าวในพระราชสำนักและนาว 26 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและประเทศไทย · นาว 26และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ระบบดิจิทัล

มาตรฐานการแพร่สัญญาณโทรทัศน์ดิจิทัลในแต่ละประเทศ โทรทัศน์ระบบดิจิทัล, โทรทัศน์ดิจิทัล, หรือ ทีวีดิจิทัล (Digital television) เป็นรูปแบบการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงโดยกระบวนการดิจิทัล เป็นกระบวนการที่ตรงข้ามกับระบบการถ่ายทอดสัญญาณแบบแอนะล็อกซึ่งใช้การแบ่งคลื่นออกเป็นหลายๆช่องสัญญาณ โทรทัศน์ดิจิทัลสามารถรองรับรายการโทรทัศน์ได้มากกว่าหนึ่งรายการในช่องแบนด์วิดท์เดียว นอกจากสัญญาณภาพและเสียงแล้ว การแพร่ภาพระบบดิจิทัลยังสามารถส่งข้อมูลอื่นๆ อาทิ ผังรายการ, บทบรรยาย มาพร้อมกันได้อีกด้วย ถือเป็นนวัตกรรมด้วนโทรทัศน์ที่ยิ่งใหญ่สุดนับตั้งแต่การเปลี่ยนจากโทรทัศน์ขาวดำเป็นโทรทัศน์สีในทศวรรษที่ 1950 ในปัจจุบัน หลายๆประเทศได้ทยอยเปลี่ยนมาใช้การแพร่ภาพแบบดิจิทัล โดยที่ในแต่ละภูมิภาคก็ใช้มาตรฐานการแพร่ภาพที่แตกต่างกันไป กลางทศวรรษที่ 1980 สถานีโทรทัศน์ในญี่ปุ่นเริ่มค้นคว้าการแพร่ภาพที่มีความคมชัดสูง อย่างไรก็ตามการแพร่ภาพความคมชัดสูงในญี่ปุ่นได้ใช้รูปแบบ MUSE ซึ่งเป็นระบบแอนะล็อก ซึ่งญี่ปุ่นได้ใช้รูปแบบนี้จนถึงเดือนมิถุนายน..

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและโทรทัศน์ระบบดิจิทัล · นาว 26และโทรทัศน์ระบบดิจิทัล · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

ทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย (Digital television in Thailand) เป็นระบบโทรทัศน์ดิจิทัลภายในอาณาเขตประเทศไทย โดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง กำหนดระยะของการทดลองออกอากาศไว้ ระหว่างวันอังคารที่ 1 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2557 ก่อนจะกำหนดเวลาให้ผู้ประกอบการทุกราย เตรียมความพร้อมขั้นสุดท้าย เพื่อเริ่มออกอากาศในส่วนกลาง ระหว่างวันศุกร์ที่ 25 เมษายน ถึงวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม..

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · นาว 26และโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐทีวี

ทยรัฐทีวี เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ความคมชัดสูง ผลิตโดย บริษัท ทริปเปิลวีบรอดคาสต์ จำกัด ในเครือหนังสือพิมพ์ไทยรั.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและไทยรัฐทีวี · นาว 26และไทยรัฐทีวี · ดูเพิ่มเติม »

เนชั่นทีวี

นชั่นทีวี (Nation TV) เป็นสถานีโทรทัศน์ซึ่งที่นำเสนอรายการข่าวสาร โดยเอกลักษณ์ของคือ ข่าวเศรษฐกิจ การวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน และรายการเชิงข่าวเป็นหลัก แห่งแรกของประเทศไทย ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เริ่มส่งสัญญาณทางช่อง 8 ของสถานีโทรทัศน์เคเบิลยูบีซี เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน..

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและเนชั่นทีวี · นาว 26และเนชั่นทีวี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี มี 370 ความสัมพันธ์ขณะที่ นาว 26 มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 16, ดัชนี Jaccard คือ 4.07% = 16 / (370 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและนาว 26 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »