โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดี

ชนะ คณะ มนะ vs. ภาษาฮินดี

"ชนะ คณะ มนะ" (জন গণ মন, Jôno Gôno Mono; แปลว่า "จิตใจแห่งปวงชน") เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอินเดีย บทเพลงนี้เขียนขึ้นด้วยภาษาเบงกาลีสันสกฤตและประพันธ์ทำนองโดยรพินทรนาถ ฐากูร นักเขียนรางวัลโนเบลชาวเบงกาลี โดยบทที่นำมาใช้เป็นเพลงชาตินี้นำมาจากบทแรกของเพลงเดิมซึ่งเป็นเพลงสรรเสริญแบบพฺราหฺมะ (ব্রাহ্ম, Brahmo) ของแคว้นเบงกอล มีเนื้อหาทั้งหมด 5 บท เพลงดังกล่าวได้มีการขับร้องอย่างเป็นทางการครั้งแรกในที่ประชุมคองเกรสแห่งชาติของอินเดีย (Indian National Congress) ที่เมืองกัลกัตตา เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1911 ภายหลังเพลง "ชนะ คณะ มนะ" ได้รับการยอมรับให้ใช้เป็นเพลงชาติอินเดียอย่างเป็นทางการโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1950 Ganpuley's Memoirs.1983. ษาฮินดีเป็นภาษาที่พูด ส่วนใหญ่ในประเทศอินเดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน อยู่ในกลุ่มย่อย อินโด-อิหร่าน มีวิวัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขาอินโด-อารยันกลาง ของยุคกลาง และมีวิวัฒนาการทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮินดีได้นำคำศัพท์ชั้นสูงส่วนใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากนี้ เนื่องจากอิทธิพลของชาวมุสลิมในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดียังมีคำที่ยืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรับ และ ภาษาตุรกี เป็นจำนวนมาก และในที่สุดได้ก่อให้เกิดภาษาอูรดูขึ้น สำหรับภาษา"ฮินดีมาตรฐาน" หรือ "ฮินดีแท้" นั้น มีใช้เฉพะการสื่อสารที่เป็นทางการ ขณะที่ภาษาซึ่งใช้ในชีวิตประจำวันในพื้นที่ส่วนใหญ่นั้น ถือว่าเป็นหนึ่งในภาษาถิ่นย่อย ของภาษาฮินดูสตานี ในแง่ความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์นั้น ภาษาฮินดีและภาษาอูรดู ถือว่าเป็นภาษาเดียวกัน แตกต่างตรงที่ ภาษาฮินดีนั้นเขียนด้วยอักษรเทวนาครี (Devanāgarī) ขณะที่ภาษาอูรดูนั้น เขียนด้วยอักษรเปอร์เซียและอาหรั.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดี

ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดี มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาสันสกฤตภาษาอูรดูภาษาฮินดูสตานีภาษาเบงกาลีรัฐมหาราษฏระรัฐคุชราตรัฐปัญจาบตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนประเทศอินเดีย

ภาษาสันสกฤต

ษาสันสกฤต เป็นภาษาที่รับอิทธิพลมาจากอินเดียและส่งผลมาถึงอาณาจักรในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (संस्कृता वाक्, สํสฺกฺฤตา วากฺ; Sanskrit) เป็นภาษาที่เก่าแก่ที่สุดภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน (หรืออินเดีย-ยุโรป) สาขาย่อยอินโด-อิเรเนียน (อินเดีย-อิหร่าน) และอยู่ในกลุ่มย่อยอินโด-อารยัน (อินเดีย-อารยะ) โดยมีระดับวิวัฒนาการในระดับใกล้เคียงกับภาษาละตินและภาษากรีก เป็นต้น โดยทั่วไปถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว ทว่ายังมีผู้ใช้ภาษาสันสกฤตอยู่บ้างในแวดวงที่จำกัดในประเทศอินเดีย เช่น หมู่บ้านมัททูร์ ในรัฐกรณาฏกะ โดยมีการคิดคำศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย ในศาสนาฮินดูเชื่อว่า ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาสื่อที่เทพเจ้าใช้สื่อสารกับมวลมนุษย์ เพื่อถ่ายทอดความรู้แจ้งและปัญญาญาณแก่เหล่าฤๅษีทั้งหลายแต่ครั้งดึกดำบรร.

ชนะ คณะ มนะและภาษาสันสกฤต · ภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอูรดู

ษาอูรดู (اردو) เป็นภาษาหนึ่งในภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ซึ่งพัฒนามาจากหลายภาษารวมกันคือ ภาษาเปอร์เซีย ตุรกี อาหรับ ฮินดี และ สันสกฤต นิยมใช้กันมากในช่วงสมัยรัฐสุลต่านเดลฮี และจักรวรรดิโมกุล (ค.ศ.๑๒๐๐ - ๑๘๐๐) ภาษาอูรดู อยู่ในอันดับที่ ๒๐ ของภาษาที่มีคนใช้เป็นภาษาแม่ และเป็นภาษาราชการของประเทศปากีสถาน นอกจากนี้ยังเป็นภาษาหนึ่งในภาษาราชการ ๒๓ ภาษา ของประเทศอินเดี.

ชนะ คณะ มนะและภาษาอูรดู · ภาษาอูรดูและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี (เทวนาครี: हिन्दुस्तानी; อาหรับ: ہندوستانی) เป็นคำที่เกิดในสมัยที่อังกฤษครอบครองอินเดียและปากีสถาน โดยอังกฤษนำภาษาฮินดีกับภาษาอูรดูมารวมกันแล้วให้ชื่อว่าฮินดูสตานี เขียนได้ทั้งอักษรไกถี อักษรเทวนาครี และอักษรอาหรับ แต่คำศัพท์และไวยากรณ์ของสองภาษานั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากภาษาฮินดีได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต แต่ภาษาอูรดูได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ถือว่าเป็นภาษาใหม่ ปัจจุบันยังคงแยกเป็นภาษาฮินดีซึ่งเป็นภาษาทางการของอินเดีย และภาษาอูรดูซึ่งเป็นภาษาทางการของปากีสถาน ฮินดูสตานี.

ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดูสตานี · ภาษาฮินดีและภาษาฮินดูสตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ชนะ คณะ มนะและภาษาเบงกาลี · ภาษาฮินดีและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมหาราษฏระ

รัฐมหาราษฏระ คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ ติดต่อกับกับทะเลอาหรับทางทิศตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อ มุมไบ ผลิตผลสำคัญ ได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ฝ้าย และแร่แมงกานีส มีอุตสาหกรรมสิ่งทอ และวิศวกรรมไฟฟ้า ม หมวดหมู่:รัฐมหาราษฏระ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2503.

ชนะ คณะ มนะและรัฐมหาราษฏระ · ภาษาฮินดีและรัฐมหาราษฏระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐคุชราต

รัฐคุชราต คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศติดกับประเทศปากีสถานและทะเลอาหรับ รัฐคุชราต เป็นแหล่งอุตสาหกรรมแหล่งแรกๆในอินเดีย จนได้ชื่อว่าแมนเชสเตอร์ตะวันออก เป็นบ้านเกิดของมหาตมะ คานธี เป็นรัฐที่ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประชากรมากกว่า 80% ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ เมืองสุรัตเป็นศูนย์กลางการเจียระไนเพชรระดับโลก คุช หมวดหมู่:รัฐคุชราต หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2503.

ชนะ คณะ มนะและรัฐคุชราต · ภาษาฮินดีและรัฐคุชราต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปัญจาบ

ปัญจาบ (Punjab) คือรัฐหนึ่งทางเหนือของอินเดีย มีเมืองหลวงชื่อ จัณฑีครห์ มีประชากรอยู่ประมาณ 24 ล้านคน และรัฐนี้เป็นศูนย์กลางของชาวซิกข์ โดยมีสถานที่สำคัญ คือ สุวรรณวิหารหรือวัดทอง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของชาวซิกข์ ระบบแผนผังเมืองนี้ มีการจัดพื้นที่แยกเป็นเขตที่อยู่อาศัย เขตอุตสาหกรรม เขตธุรกิจที่ชัดเจน แต่ละส่วนไม่ปะปนกัน มีห้างสรรพสินค้า มีร้านขายของ มีร้านสะดวกซื้อ มีสินค้าบางอย่างที่นำเข้ามาจากไทย แต่ราคาแพงมาก ค่าครองชีพสูง เมืองมีการออกแบบที่สวยมาก ถือได้ว่าเป็นเมืองที่สวยอีกเมืองหนึ่งในอินเดีย โดยนักออกแบบผังเมืองชาวต่างชาติ คือ เลอกอร์บูซีเย สถาปนิกชาวสวิส, มาแชย์ นอวิตสกี สถาปนิกชาวโปแลนด์ และแอลเบิร์ต เมเยอร์ นักวางผังเมืองชาวอเมริกัน.

ชนะ คณะ มนะและรัฐปัญจาบ · ภาษาฮินดีและรัฐปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน

ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).

ชนะ คณะ มนะและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ชนะ คณะ มนะและประเทศอินเดีย · ประเทศอินเดียและภาษาฮินดี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดี

ชนะ คณะ มนะ มี 36 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษาฮินดี มี 47 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 10.84% = 9 / (36 + 47)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ชนะ คณะ มนะและภาษาฮินดี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »