โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จั๊กกะแหล๋น

ดัชนี จั๊กกะแหล๋น

ั๊กกะแหล๋น (jukkalan) เป็นภาพยนตร์ไทย แนวแอ็คชั่นคอเมดี้ บทและกำกับโดย หม่ำ จ๊กมก นำแสดงโดย จีจ้า ญาณิน, หม่ำ จ๊กมก, ค่อม ชวนชื่น, บริบูรณ์ จันทร์เรือง, เฉลิมศักดิ์ แย้มขะมัง, อธิศ อมรเวช และนักแสดงตลกอื่นๆอีกมากมาย ภาพยนตร์เรื่องนี้กำหนดฉายวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554 โดยหม่ำ จ๊กม๊ก ได้เผยว่า คำว่า จั๊กกะแหล๋น เป็นคำพื้นบ้าน ใช้เรียกเด็กผู้หญิงตัวเล็กๆ หน้าตาจิ้มลิ้ม นิสัยห้าวๆ แก่นๆ อันเป็นที่มาของคาแร็คเตอร์ตัวละครหลักและชื่อเรื่องภาพยนตร์นี้ ภาพยนตร์ทำรายได้ 24.08 ล้านบาท.

16 ความสัมพันธ์: บริบูรณ์ จันทร์เรืองบั้งไฟ ฟิล์มพ.ศ. 2554ญาณิน วิสมิตะนันทน์ภาพยนตร์ไทยภาษาไทยสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลหม่ำ จ๊กมกอำเภอพระประแดงจักรยานฟิกซ์เกียร์จังหวัดสมุทรปราการค่อม ชวนชื่นประเทศไทยเฉลิมศักดิ์ แย้มขะมัง28 เมษายน

บริบูรณ์ จันทร์เรือง

ริบูรณ์ จันทร์เรือง ชื่อเล่น ตั๊ก เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและบริบูรณ์ จันทร์เรือง · ดูเพิ่มเติม »

บั้งไฟ ฟิล์ม

ั้งไฟ ฟิล์ม เป็นบริษัทสร้างภาพยนตร์ บริหารงานโดย เพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา หรือ หม่ำ จ๊กมก จากภาพยนตร์เรื่อง บอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม และ แหยม ยโสธร ที่ทำรายได้เกิน 100 ล้านบาท ภาพยนตร์ส่วนมากสร้างกับ สหมงคลฟิล์ม.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและบั้งไฟ ฟิล์ม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ญาณิน วิสมิตะนันทน์

ฉันทธนิสา วิสมิตะนันทน์ (31 มีนาคม พ.ศ. 2527 —) ชื่อเล่น: จีจ้า (เป็นภาษาตากาล็อก แปลว่าไวโอลิน) โดย ผู้จัดการออนไลน์ 17 มกราคม 2551 นักแสดงหญิง ที่ได้รับการสนับสนุนจาก ปรัชญา ปิ่นแก้ว, พันนา ฤทธิไกร และสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ให้เป็นนางเอกภาพยนตร์แอ็คชั่นของสหมงคลฟิล์ม ที่ใช้ทุนสร้างถึง 120 ล้านบาท.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและญาณิน วิสมิตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ

มศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ หรือ เสี่ยเจียง ผู้ก่อตั้งบริษัท สหมงคลฟิล์ม จำกัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2513 (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ในปี พ.ศ. 2545) ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ สุริโยไท และ องค์บาก.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและสมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

หม่ำ จ๊กมก

็ชรทาย วงศ์คำเหลา (เกิด 24 มิถุนายน พ.ศ. 2508) ขื่อในการแสดงว่า หม่ำ จ๊กมก เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ที่ได้รับความนิยมทั้งในและนอกประเทศไท.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและหม่ำ จ๊กมก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพระประแดง

ระประแดง เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตมีฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระประแดง แต่ต่อมาถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและอำเภอพระประแดง · ดูเพิ่มเติม »

จักรยานฟิกซ์เกียร์

รูปร่างหน้าตาของจักรยานต์ฟิกซ์เกียร์ จักรยานฟิกซ์เกียร์ (fixed-gear bicycle) หรือ ฟิกซี (fixie) เป็นจักรยานที่ไม่มีจานฟรีซึ่งเวลาขี่จักรยานนั้นที่ปั่นจักรยานจะหมุนอยู่ตลอดเวลาตามการเคลื่อนไหวของรถ โดยสปรอกเก็ตจะถูกยึดติดเข้ากับฟิกซ์ฮับ โดยเมื่อล้อหลังหมุน ที่ปั่นจักรยานจะหมุนตามในทิศทางเดียวกัน ซึ่งทำให้นักขี่จักรยานสามารถหยุดโดยไม่จำเป็นต้องใช้เบรกได้ และยังสามารถขี่ถอยหลังได้ ฟิกซ์เกียร์นิยมใช้ในการแข่งขันจักรยานประเภทลู่ในเวโลโดรม ซึ่งในปัจจุบันได้รับการนิยมสำหรับจักรยานที่ขี่ตามท้องถนน โดยเป็นที่นิยมโดยมากสำหรับพนักงานขี่จักรยานส่งของในสหรัฐอเมริกาRyan, Singel.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและจักรยานฟิกซ์เกียร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและจังหวัดสมุทรปราการ · ดูเพิ่มเติม »

ค่อม ชวนชื่น

อม ชวนชื่น ชื่อจริง อาคม ปรีดากุล เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2500 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักแสดงตลกชาวไทย อีกทั้งเป็นอดีตสมาชิกตลกคณะชวนชื่น.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและค่อม ชวนชื่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมศักดิ์ แย้มขะมัง

ฉลิมศักดิ์ แย้มขะมัง (ชื่อเล่น:เหลิม) เป็นนักแสดงชายชาวไท.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและเฉลิมศักดิ์ แย้มขะมัง · ดูเพิ่มเติม »

28 เมษายน

วันที่ 28 เมษายน เป็นวันที่ 118 ของปี (วันที่ 119 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 247 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จั๊กกะแหล๋นและ28 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »