โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดเพชรบูรณ์

ดัชนี จังหวัดเพชรบูรณ์

ังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีพื้นที่ประมาณ 12,668 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 9 ของประเทศ มีประชากร 994,397 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ และมีเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก.

108 ความสัมพันธ์: ชยพล ปัญหกาญจน์ชาคริต บัวทองชนะ ป.เปาอินทร์พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธมหาธรรมราชาพงษ์ปณต นาคนายมกรุงเทพมหานครกะพรุนน้ำจืดการประกันชีวิตภาคกลาง (ประเทศไทย)ภาคเหนือ (ประเทศไทย)ภูทับเบิกมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมืองมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์มะขามมาตรรายรับและผลผลิตของประเทศมณฑลเทศาภิบาลรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ์วรินทร ปัญหกาญจน์สำนักงานราชบัณฑิตยสภาสิทธิศักดิ์ ตาระพันสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์หมู่บ้านหนองไผ่อำเภออำเภอชัยบาดาลอำเภอบึงสามพันอำเภอชนแดนอำเภอภักดีชุมพลอำเภอภูกระดึงอำเภอภูหลวงอำเภอภูผาม่านอำเภอลำสนธิอำเภอวังสะพุงอำเภอวังทรายพูนอำเภอวังทองอำเภอวังโป่งอำเภอวิเชียรบุรี...อำเภอศรีเทพอำเภอหล่มสักอำเภอหล่มเก่าอำเภอหนองบัวอำเภอหนองบัวแดงอำเภอหนองไผ่อำเภอทับคล้ออำเภอดงเจริญอำเภอด่านซ้ายอำเภอคอนสารอำเภอนครไทยอำเภอน้ำหนาวอำเภอโคกเจริญอำเภอไพศาลีอำเภอเมืองเพชรบูรณ์อำเภอเขาค้ออำเภอเนินมะปรางอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าอุทยานแห่งชาติน้ำหนาวองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดงจังหวัดชัยภูมิจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดพิจิตรจังหวัดลพบุรีจังหวัดของประเทศไทยจังหวัดขอนแก่นจังหวัดนครสวรรค์จังหวัดเลยธนาคารพาณิชย์ธนาคารอาคารสงเคราะห์ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรถนนพหลโยธินทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ข้าวฟ่างตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลประเทศไทยแม่น้ำป่าสักแม่น้ำเจ้าพระยาแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์เกษตรกรรมเทศบาลตำบลเทศบาลตำบลหล่มเก่าเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองวิเชียรบุรีเทศบาลเมืองหล่มสักเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์เขาทราย แกแล็คซี่เขาค้อ แกแล็คซี่เขตการปกครองของประเทศไทย ขยายดัชนี (58 มากกว่า) »

ชยพล ปัญหกาญจน์

ล ปัญหกาญจน์ หรือ กู๊ด เคพีเอ็น เป็นนักร้องชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้เข้าแข่งขันบนเวที เคพีเอ็น อวอร์ด ครั้งที่ 22 และได้รับรางวัลนักร้องยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย โดยก่อนหน้านี้เขาได้ไปประกวดที่เวที เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7 มาก่อน โดยผ่านเข้ารอบภาคใต้ เท่านั้น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และชยพล ปัญหกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาคริต บัวทอง

ริต บัวทอง เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2528 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลอาร์มี่ ยูไนเต็ด ในไทยลีก 2 ตำแหน่ง ปีก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และชาคริต บัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ชนะ ป.เปาอินทร์

นะ ถูกหมัดของ เคอิทาโร โฮชิโน แต่เมื่อครบ 12 ยก ชนะเป็นฝ่ายชนะคะแนน ได้เป็นแชมป์โลกสมัยที่ 2 ชนะ ป.เปาอินทร์ มีชื่อจริงว่า คูณ หมดมา เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2509 ที่บ้านเลขที่ 191 หมู่ 12 บ้านน้ำหลุม ตำบลบ้านกลาง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ มีสถิติการชกทั้งหมด 61 ครั้ง ชนะ 54 (น็อก 19) เสมอ 3 แพ้ 4 แต่ชนะเกิดทีหลังด้วยความเชื่อของคนต่างจังหวัด จึงนับว่าเป็นพี่ ชนะได้รับฉายาจากแฟนมวยชาวไทยว่า "แชมป์โลกจอมคาถา" เนื่องจากมีรอยสักยันต์ที่กลางหลัง และก่อนชกพี่เลี้ยงจะบริกรรมคาถาให้ทุกครั้งเหมือนการชกมวยไท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และชนะ ป.เปาอินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธมหาธรรมราชา

ระพุทธมหาธรรมราชา เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ สมัยลพบุรี หล่อด้วยทองสำริด หน้าตักกว้าง 13 นิ้ว สูง 18 นิ้ว ประดิษฐานที่วัดไตรภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ์ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริย์แห่งนครธม เมื่อพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงพระราชทานพระนางสิงขรเทวี พระธิดาให้อภิเษกสมรสกับพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด (ปัจจุบันคือ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพระพุทธมหาธรรมราชา · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์ปณต นาคนายม

นต์ นาคนายม (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น พงษ์ปณต นาคนายม) (5 มกราคม พ.ศ. 2522 —) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไทย ในตำแหน่งผู้รักษาประตู เกิดที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจุบันสังกัดปตท.ระยอง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และพงษ์ปณต นาคนายม · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กะพรุนน้ำจืด

กะพรุนน้ำจืด หรือ แมงกะพรุนน้ำจืด (Freshwater jellyfish) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสกุลหนึ่ง จัดอยู่ในพวกแมงกะพรุนที่อยู่ในชั้นไฮโดรซัว ต่างจากแมงกะพรุนที่พบในทะเลที่ส่วนมากจะอยู่ในชั้นไซโฟซัว ใช้ชื่อสกุลว่า Craspedacusta (/คราส-พี-ดา-คัส-ต้า/).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และกะพรุนน้ำจืด · ดูเพิ่มเติม »

การประกันชีวิต

การประกันชีวิต เป็นสัญญาระหว่างผู้ให้ประกัน ซึ่งมักเป็นบริษัทประกันชีวิต กับผู้เอาประกัน โดยผู้เอาประกันต้องจ่ายเบี้ยประกันให้ผู้รับประกัน หากผู้เอาประกันเกิดเสียชีวิตขณะที่กรมธรรม์มีผลบังคับภายในเงื่อนไขในกรมธรรม์ บริษัทประกันจะจ่ายเงินจำนวนหนึ่งให้กับผู้รับผลประโยชน์เรียกว่าเงินสินไหม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และการประกันชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

ภาคกลาง (ประเทศไทย)

กลาง เป็นภูมิภาคตอนกลางของประเทศไทย มีพื้นที่ครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ติดต่อกับภาคเหนือทางทิศเหนือ ติดต่อกับภาคตะวันออก และภาคอีสานทางทิศตะวันออกโดยมีทิวเขาเพชรบูรณ์กั้น ติดต่อกับภาคตะวันตก ทิศเหนือติดต่อกับทิวเขาผีปันน้ำ พื้นนี้เคยเป็นดินแดนที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยา และยังเป็นพื้นที่ที่สำคัญของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทยตั้งอยู่ และมีประชากรในภูมิภาคมากที่สุดในประเท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาคกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภาคเหนือ (ประเทศไทย)

หนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ด้านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ต่อเนื่องมาจากทิวเขาฉานโยมาในประเทศพม่าและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา เหมือนกับพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ การที่มีพื้นที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลและมีเส้นละติจูดอยู่ตอนบนทำให้สภาพอากาศของภาคเหนือเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลอย่างเห็นได้ชัด เช่น มีฤดูหนาวที่หนาวเย็นกว่าภูมิภาคอื่น ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์ของภาคเหนือมีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับอาณาจักรล้านน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภาคเหนือ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูทับเบิก

ูทับเบิก ป้ายชื่อ ภูทับเบิก เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,768 เมตร อยู่ตำบลวังบาล ห่างจากอำเภอหล่มสักและหล่มเก่าประมาณ 40 กิโลเมตร มีอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งปี เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ซึ่งได้อพยพมาอาศัยอยู่ที่บ้านทับเบิก โดยอยู่ในความดูแลของศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบด้วยอาชีพทำการเกษตรแบบขั้นบันไดตามเชิงเขา ในช่วงหน้าฝนยังมีไร่กะหล่ำปลีที่สวยงาม ส่วนหน้าหนาวมีดอกนางพญาเสือโคร่งบานเต็มภูทับเบิก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และภูทับเบิก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง เพชรบูรณ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ สำหรับพระสงฆ์ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง เพชรบูรณ์ มุ่งพัฒนามหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ให้นำไปสู้การพัฒนาจิตใจและสังคมอย่างยั่งยืน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พ่อขุนผาเมือง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ (Phetchabun Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยรารามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ (Ramkhamheangh Univrsity Phetchabun Campus in Honour of His Majesty The King) เป็นสาขามหาวิทยาลัยแต่ไม่เทียบเท่าวิทยาเขต ให้บริการการศึกษาในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก เพื่อเป็นการขยายโอกาสในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วนภูมิภาค ปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ตำบลฝายนาแซง อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์

มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์ (Chalermkarnchana University Phetchabun) มีสถานะเป็น1ใน4ศูนย์การศึกษาของมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา เพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

มะขาม

วามหมายอื่น ดูที่ อำเภอมะขาม มะขาม เป็นไม้ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกาแถบประเทศซูดาน ต่อมามีการนำเข้ามาในประเทศแถบเขตร้อนของเอเชียและประเทศแถบลาตินอเมริกา และในปัจจุบันมีมากในเม็กซิโก ชื่อมะขามในภาคต่าง ๆ เรียก มะขามไทย ภาคกลาง ขาม ภาคใต้ ตะลูบ โคราช ม่วงโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) อำเปียล เขมร จังหวัดสุรินทร์ ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า tamarind ซึ่งมาจากภาษาอาหรับ:تمر هندي (tamr hindī) แปลว่า Indian date มะขามเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดเพชรบูรณ์ มะขามในไทยมีสองชนิดคือมะขามเปรี้ยวและมะขามหวาน โดยมะขามหวานมีหลายพันธุ์เช่น พันธุ์น้ำผึ้ง อินทผลัม หมื่นจง สีทอง ในบางครั้งจะเรียกมะขามตามลักษณะของฝัก เช่น มะขามขี้แมว คือมะขามฝักกลม มะขามกระดาน คือมะขามฝักแบน มะขามข้อเดียวคือมะขามที่ฝักมีข้อเดียวออกกลมป้อม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมะขาม · ดูเพิ่มเติม »

มาตรรายรับและผลผลิตของประเทศ

มาตรวัดรายรับและผลผลิตของประเทศ (Measures of national income and output) เป็นเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อประมาณมูลค่าของสินค้าและบริการภายในระบบเศรษฐกิจ ในการคำนวณใช้ระบบของ บัญชีประชาชาติ หรือ การทำบัญชีประชาชาติ ที่ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1940 มาตรวัดที่ใช้ทั่วไปคือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product, GNP) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross domestic product, GDP) รายได้มวลรวมประชาชาติ (Gross National Income, GNI) ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product, NNP) และ รายได้ประชาชาติสุทธิ (Net National Income, NNI).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมาตรรายรับและผลผลิตของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์

รายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ์

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วรินทร ปัญหกาญจน์

วรินทร ปัญหกาญจน์ (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2528) ชื่อเล่น เกรท เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครซีรีส์ชุด สุภาพบุรุษจุฑาเทพ ตอน คุณชายธราธร และ สามี ที่แสดงร่วมกับ รณิดา เตชสิท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และวรินทร ปัญหกาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิศักดิ์ ตาระพัน

ทธิศักดิ์ ตาระพัน เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบัน เขาทำหน้าที่ร่วมกับสโมสรฟุตบอลราชนาวีในการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสิทธิศักดิ์ ตาระพัน · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์

ันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์ (Institute of Physical Education Phetchabun) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ โดยเป็น 1 ใน 17 วิทยาเขต ของสถาบันการพลศึกษา และใน 4 วิทยาเขต ในภาคเหนือ ปัจจุบันเปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรี ในคณะศึกษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์ เป็นสถาบันอุดมศึกษามีวัตถุประสงค์ในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางพลศึกษา การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์สุขภาพ นันทนาการและบุคลากรในด้านที่เกี่ยวข้อง มีภารกิจทำการสอน ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการ การให้บริการชุมชน การใช้และการจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษทางกีฬา นันทนาการ และบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย รวมถึงการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยและการประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนองไผ่

หนองไผ่ สามารถหมายถึงสถานที่ที่มีชื่อเดียวกันในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชัยบาดาล

ัยบาดาล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างขวางมาก ครอบคลุมพื้นที่อำเภอท่าหลวงและอำเภอลำสนธิในปัจจุบัน และเคยได้ถูกเสนอจัดตั้งเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระนารายณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2546 และปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอชัยบาดาล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบึงสามพัน

อำเภอบึงสามพัน เป็นอำเภอหนึ่งทางตอนใต้ของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเนื่องจากมีจุดตัดทางถนนระหว่างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 (สระบุรี–หล่มสัก) กับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 (นครสวรรค์–ชัยภูมิ) อีกทั้งเป็นอำเภอทางผ่านไปสู่ตัวจังหวัด จึงทำให้สะดวกทั้งการค้าขายและการเดินทาง อำเภอบึงสามพันเป็นอำเภอที่มีทิวทัศน์ที่สวยงามอีกแห่งหนึ่งของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอบึงสามพัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชนแดน

นแดน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอชนแดน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภักดีชุมพล

อำเภอภักดีชุมพล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภักดีชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูกระดึง

อำเภอภูกระดึง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภูกระดึง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูหลวง

อำเภอภูหลวง เป็นอำเภอเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในจังหวัดเลย ประชากรมีอาชีพทำนา ทำสวนผลไม้ และพืชไร่เป็นหลัก มีแหล่งท่องเที่ยวอยู่มากแต่ไม่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปนัก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภูหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอภูผาม่าน

อำเภอภูผาม่าน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอภูผาม่าน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำสนธิ

อำเภอลำสนธิ ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอลำสนธิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังสะพุง

อำเภอวังสะพุง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังสะพุง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังทรายพูน

อำเภอวังทรายพูน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังทรายพูน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังทอง

อำเภอวังทอง เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลกห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 17 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังทอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังโป่ง

อำเภอวังโป่ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวังโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวิเชียรบุรี

อำเภอวิเชียรบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอวิเชียรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีเทพ

อำเภอศรีเทพ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอแรกทางตอนใต้ของจังหวัด เป็นอำเภอที่มีเขตติดต่อกับเขตจังหวัดลพบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 218 กิโลเมตร อำเภอศรีเทพถือว่าเป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน และยังมีอุทยานประวัติศาสตร์ให้ศึกษา ปัจจุบันศรีเทพได้พัฒนาเรื่อยมาตามลำดับ โดยเฉพาะเมื่อ..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอศรีเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหล่มสัก

อำเภอหล่มสัก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 1,535.3 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 44 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหล่มสัก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหล่มเก่า

อำเภอหล่มเก่า ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสลับกับพื้นที่สูง จุดที่สูงที่สุดคือ ภูทับเบิกสูง 1768 เมตรจากระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหล่มเก่า · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองบัว

หนองบัว เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองบัวแดง

อำเภอหนองบัวแดง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองบัวแดง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองไผ่

อำเภอหนองไผ่ เป็นอำเภอหนึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัดเพชรบูรณ์ มีพื้นที่ 1,360.2 ตารางกิโลเมตร ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทับคล้อ

ทับคล้อ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอทับคล้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดงเจริญ

งเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอดงเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอด่านซ้าย

ระธาตุศรีสองรัก อำเภอด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอด่านซ้าย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอคอนสาร

อนสาร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยภูมิ ถือว่าเป็นประตูเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอคอนสาร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนครไทย

นครไทย เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอนครไทย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอน้ำหนาว

อำเภอน้ำหนาว ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ภูเขาสูง มีเขตป่าอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษา "ไทหล่ม" เช่นเดียวกับ อำเภอหล่มเก่า และ อำเภอหล่มสัก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอน้ำหนาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกเจริญ

อำเภอโคกเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ยกฐานะจากกิ่งอำเภอโคกเจริญ ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอโคกเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไพศาลี

ลี เป็นอำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ พระพุทธรูปสำคัญอำเภอไพศาลี หลวงพ่อดำ วัดสระทะเล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอไพศาลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองเพชรบูรณ์

อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาค้อ

อำเภอเขาค้อ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเขาค้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเนินมะปราง

อำเภอเนินมะปราง เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอำเภอเนินมะปราง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ หินแกะสลัก ศิลาจารึกหิน ปรางค์สองพี่น้อง อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานมีพื้นที่ครอบคลุมโบราณสถานในเมืองเก่าศรีเทพ ศรีเทพเป็นเมืองโบราณที่อยู่ในท้องที่อำเภอศรีเทพ เดิมมีชื่อว่า "เมืองอภัยสาลี" ถูกค้นพบเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปตรวจราชการมณฑลเพชรบูรณ์ และได้ทรงเรียกเมืองนี้เสียใหม่ว่า "เมืองศรีเทพ" เมื่อปี พ.ศ. 2447-2448 เมืองโบราณศรีเทพนี้มีลักษณะเป็นเมืองซ้อนเมืองขนาดใหญ่ ที่ตั้งของเมืองอยู่ในชุมทาง ที่สามารถติดต่อกับภาคอื่น ๆ ได้สะดวก ดังนั้นจึงได้รับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรมจากอาณาจักรข้างเคียง มาผสมผสาน เช่น ศิลปะทวารวดี ศิลปะขอม เป็นต้น เมืองศรีเทพสร้างขึ้นในยุคของขอมเรืองอำนาจ ซึ่งคาดว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี โดยดูจากหลักฐานทางสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และวัฒนธรรมที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีความเจริญสูงสุดทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม สันนิษฐานว่าเจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพได้รับรางวัล Thailand Tourism Award ประจำปี 2543 2 รางวัลคือ รางวัลประเภทแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมโบราณสถานยอดเยี่ยมและรางวัลสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านอินเทอร์เน็ตดีเด่น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า

อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งที่ 48 ของประเทศ และนับเป็นแห่งที่14 ของภาคเหนือ ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 307 ตารางกิโลเมตร หรือ 191,875 ไร่ ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2527 ซึ่งตั้งครอบคลุมพื้นที่รอยต่อของสามจังหวัด คือ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ภูหินร่องกล้าอันเป็นแหล่งกำเนิดของประวัติศาสตร์การสู้รบอันยาวนาน เป็นวีรกรรมของนักรบไทยที่เกิดขึ้น ณ ที่นี้ ตลอดจนสภาพสิ่งก่อสร้างในอดีตได้ถูกบันทึกเก็บรักษาไว้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว

อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอหล่มเก่า อำเภอหล่มสัก อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และอำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เป็นอุทยานแห่งชาติที่สวยที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นแนวเขตกั้นระหว่างภาคอีสานและภาคเหนือ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นเทือกเขาสูง มีสภาพป่าอุดมสมบูรณ์ เป็นต้นน้ำลำธาร มีทิวทัศน์ธรรมชาติที่สวยงามหลายแห่ง มีเนื้อที่ประมาณ 603,750 ไร่ หรือ 966 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

อ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง

อ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง เป็นอ่างเก็บน้ำชลประทานเพื่อใช้ในการเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภคในเขตเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 3 บ้านป่าแดง ตำบลป่าเลา อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ เดิมอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดงเป็นฝายกักเก็บน้ำที่ประชาชนในเขตพื้นที่นั้นร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเกษตรกรรมเนื่องจากพื้นที่บริเวรนั้นเป็นพื่นที่เกษตรกรรมทั้งหมด จึงสร้างเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำทำนา นอกจากนี้ปัจจุบันยังกักเก็บน้ำไว้เพื่อการประปา เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และอ่างเก็บน้ำห้วยป่าแดง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชัยภูมิ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดชัยภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิจิตร

ังหวัดพิจิตร เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางภาคกลางตอนบนระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ประมาณ 4,531 ตารางกิโลเมตร มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดพิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเลย

ังหวัดเลย เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย ตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 540 กิโลเมตร มีสภาพภูมิประเทศที่งดงาม อากาศหนาวเย็น เป็นแหล่งเพาะปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และจังหวัดเลย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารพาณิชย์

นาคารพาณิชย์ (Commercial bank) หมายถึง การประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันได้กำหนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น การให้กู้ยืม ซื้อขายหรือเก็บเงินตามตั๋วเงิน หรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด ซื้อหรือขายเงินตราต่างประเทศ ทั้งนี้จะประกอบธุรกิจประเภทอื่นๆ อันเป็นประเพณีของธนาคารพาณิชย์ด้วยก็ได้ สำหรับธนาคารพาณิชย์ คือธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบการธนาคารพาณิชย์ และหมายความรวมถึงสาขาของธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบการธนาคารพาณิชย์ด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และธนาคารพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารอาคารสงเคราะห์

นาคารอาคารสงเคราะห์ หรือ ธอ. (Government Housing Bank) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2496 ทำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงินให้กับประชาชน ได้มีที่อยู่อาศัยตามสมควรแก่อัตภาพ โดยการให้กู้ยืมเงิน และ จัดสรรที่ดินเพื่อก่อสร้างที่เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไป ลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรงทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ ใน กิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงินที่ดำเนินธุรกิจ อีกทั้งยัง ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐต่างๆ สนับสนุนให้ประชาชนมีที่อยู่เป็นของตนเอง อาทิ ให้สินเชื่อกับผู้ที่ซื้อบ้านกับการเคหะแห่งชาติ สินเชื่อกับผู้ประกันตนกับสำนักงานประกันสังคม ร่วมกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการให้สมาชิกกู้เงินเพื่ออสังหาริมทรัพย์ ความช่วยเหลือด้านการมีบ้าน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ได้รับโอนลูกหนี้และสินทรัพย์จากองค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นอดีตรัฐวิสาหกิจของไทย เข้ามารวมไว้ด้วยกัน ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และธนาคารอาคารสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

นาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ.ก.. (Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives) เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ในการกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง โดยปัจจุบันกระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 99.79 กลุ่มสหกรณ์การเกษตรต่างๆ ถือหุ้นร้อยละ 0.18 และบุคคลทั่วไปถือหุ้นร้อยละ 0.03.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113 เป็นทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดเพชรบูรณ์กับจังหวัดพิจิตร สายทางเริ่มต้นที่สามแยกวังชมภู อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และสิ้นสุดที่สี่แยกเลี่ยงเมืองพิจิตร อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 107.209 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 113 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 สายแม่สอด (เขตแดน)–มุกดาหาร เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เป็นเส้นทางคมนาคมสำคัญที่เชื่อมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย สายทางเริ่มต้นที่สะพานมิตรภาพไทย-พม่า อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก และสิ้นสุดที่อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 793.391 กิโลเมตร อีกทั้งรัฐบาลยังวางแผนให้เป็นหนึ่งในถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก ที่เชื่อมระหว่างเมืองเมาะลำเลิง ประเทศพม่า และเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม นอกจากนี้เส้นทางหลวงแผ่นดินสายนี้ยังถือเป็นทางหลวงสายเอเชีย ได้แก่ ทางหลวงเอเชียสาย 1 และทางหลวงเอเชียสาย 16 อีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 สายสามแยกพุแค – เลย เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานแนวเหนือ-ใต้ ที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทยสู่จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดเลย สายทางเริ่มต้นที่สามแยกพุแค อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี และสิ้นสุดที่อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 412.874 กิโลเมตร ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานทางหลวงที่ 6 (เพชรบูรณ์) ระยะทางประมาณ 325 กิโลเมตรhttp://bmm.doh.go.th/website/index.php/statistics-for-maintenance/map-distance-control/44-highways-agency-6 แผนที่ระยะทางควบคุม สำนักงานทางหลวงที่ 6 เพชรบูรณ์ และอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงานทางหลวงที่ 9 (ลพบุรี) ระยะทางประมาณ 87 กิโลเมตรhttp://bmm.doh.go.th/website/index.php/statistics-for-maintenance/map-distance-control/49-highways-agency-11 แผนที่ระยะทางควบคุม สำนักงานทางหลวงที่ 11 ลพบุรี มีทางเลี่ยงเมือง 2 จุด ได้แก่ ทางเลี่ยงเมืองเพชรบูรณ์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 234) และทางเลี่ยงเมืองหล่มสัก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21).

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 สายแยกบึงบอระเพ็ด–ชัยภูมิ เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างภาคเหนือกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มต้นที่สามแยกบึงบอระเพ็ด ตัดกับถนนพหลโยธินก่อนขึ้นสะพานเดชาติวงศ์ ตัดผ่าน อำเภอชุมแสง อำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ อำเภอบึงสามพันและอำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ขึ้นไปสู่จังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มตั้งแต่อำเภอภักดีชุมพล อำเภอเทพสถิต อำเภอหนองบัวระเหว อำเภอบ้านเขว้า และสิ้นสุดที่วงเวียนอนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ระยะทางยาวประมาณ 268 กิโลเมตรเป็นทางหลวง 2 จราจรสวนกัน และบางช่วงเป็น 4 ช่องจราจร โดยถนนเส้นนี้อยู่ในส่วนหนึ่งของแผนงานการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร ระยะที่ 2 (โครงข่ายที่ 6 สายนครสวรรค์–ชัยภูมิ–อำเภอบ้านไผ่–มหาสารคาม–ร้อยเอ็ด–ยโสธร–อุบลราชธานี–ช่องแม็ก) ระยะทาง 672 กิโลเมตร ของกรมทางหลวง อย่างไรก็ตาม เส้นทางบางส่วนที่มีความสำคัญสูงมาก เนื่องจากอยู่ใกล้ตัวเมืองใหญ่ หรือเป็นเส้นทางหลักของประเทศ ได้มีการเสนอของบประมาณ และดำเนินการไปบ้างแล้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 225 · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์

ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ หรือ สนามบินเพชรบูรณ์ (Phetchabun Airport) ตั้งอยู่ที่ อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลลานบ่า อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ห่างจากตัวอำเภอหล่มสักประมาณ 16 กิโลเมตร และห่างจาก ตัวจังหวัดเพชรบูรณ์ประมาณ 31 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 4,100 ไร่ เป็นสนามบินที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นลำดับที่สองในประเทศไทย (รองจากสนามบินสุวรรณภูมิ) ทำพิธีเปิดเมื่อ 8 เมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวฟ่าง

้าวฟ่าง, ข้าวฟ่างหางช้าง หรือ ข้าวฟ่างสมุทรโคดม เป็นพืชปลูกในสกุลข้าวฟ่างและมีชื่อสามัญว่า sorghum เป็นพืชในวงศ์หญ้า อายุปีเดียว ต้นเดี่ยวหรือแตกกอที่โคน มีรากพิเศษเป็นรากฝอย ต้นตั้ง แห้งหรือฉ่ำน้ำ จืดหรือหวาน ส่วนกลางลำต้นมีลักษณะคล้ายฟองน้ำ มีช่วงว่างในส่วนพิธ ใบเรียงสลับ กาบล้อมลำต้นโดยส่วนของกาบซ้อนเหลื่อมกัน มีไขนวลปกคลุม ลิ้นใบสั้น มีขนปกคลุมตามขอบด้านบน มีปากใบทั้งสองด้าน ดอกช่อ ผลแบบธัญพืชกลมหรือปลายมน แหลม ใช้เป็นอาหารทั้งมนุษย์และสัตว์ และใช้เป็นพืชเชื้อเพลิง ข้าวฟ่างหวานเป็นสายพันธุ์ที่ใช้ปลูกเพื่อผลิตน้ำตาลและเอทานอล ต้นสูงกว่าพันธุ์กินเมล็.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และข้าวฟ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำป่าสัก

แม่น้ำป่าสัก เป็นแม่น้ำที่มีต้นกำเนิดมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ในเขตพื้นที่อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ไหลลงใต้ผ่าน จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี และ จังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแม่น้ำป่าสัก · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแม่น้ำเจ้าพระยา · ดูเพิ่มเติม »

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์

แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ (13 สิงหาคม พ.ศ. 2494 — 16 เมษายน พ.ศ. 2552) อดีตนักมวยแชมป์โลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ไลท์เวท (140 ปอนด์) ของสภามวยโลก (WBC) มีชื่อจริงว่า บุญส่ง มั่นศรี เป็นชาวตำบลสะเดียง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ แสนศักดิ์ เป็นนักมวยที่มีช่วงแขนยาวกว่าปกติ และมีหมัดซ้ายหนักโดยธรรมชาติ นับเป็นแชมป์โลกชาวไทยคนที่ 5 และเป็นนักมวยแชมป์โลกรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมา นอกจากนี้แสนศักดิ์ยังเป็นเจ้าของสถิติโลก ที่ชกมวยสากลเพียง 3 ครั้งก็ได้ครองตำแหน่งแชมป์โลกอีกด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และแสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหล่มเก่า

หล่มเก่า เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่งในอำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลหล่มเก่า เดิมมีฐานะเป็น "สุขาภิบาลหล่มเก่า" และได้เปลี่ยนแปลฐานะเป็น "เทศบาลตำบลหล่มเก่า" เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลตำบลหล่มเก่า · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองวิเชียรบุรี

วิเชียรบุรี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ มีพื้นที่ 26.54 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 2 ตำบล คือ ตำบลท่าโรง และตำบลสระประดู่ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองหล่มสัก

หล่มสัก เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งอยู่ที่อำเภอหล่มสัก มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลหล่มสักทั้งตำบล มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมืองหล่มสัก · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองเพชรบูรณ์

รบูรณ์ เป็นเทศบาลเมืองในอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และเป็นศูนย์กลางของจังหวัด มีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เขาทราย แกแล็คซี่

ทราย แกแล็คซี่ (Khaosai Galaxy) เป็นอดีตนักมวยแชมเปี้ยนโลกชาวไทย รุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของ สมาคมมวยโลก (WBA) เป็นแชมป์โลกคนที่ 9 ของไทย มีชื่อจริงว่า สุระ แสนคำ ได้รับฉายาว่า ซ้ายทะลวงไส้ นอกจากนี้แล้ว เขาทรายยังมีพี่ชายฝาแฝด ซึ่งเป็น อดีตแชมป์โลกเช่นเดียวกันคือ เขาค้อ แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท WBA โดยมีระยะเวลาที่เป็นแชมป์โลกคู่กัน ซึ่งทำให้นับเป็นแชมป์โลกคู่แฝดรายแรกของโลกอีกด้วย หลังครองตำแหน่งเขาทรายสามารถป้องกันตำแหน่งได้ถึง 19 ครั้งติดต่อกัน นับเป็นสถิติโลกสูงสุด ในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวทถึงปัจจุบัน และเป็นสถิติสูงสุดอันดับ 3 ในการป้องกันแชมป์โลกทุกรุ่นในขณะนั้น มีสถิติป้องกันตำแหน่งโดยชนะน็อค 16 ครั้ง ชนะคะแนนเพียง 3 ครั้ง และได้ประกาศแขวนนวมในฐานะ แชมป์โลกผู้ไม่เคยแพ้ใคร ตลอดระยะเวลาที่ครองตำแหน่ง 2,628 วัน หรือ 7 ปี 2 เดือน 30 วัน ในปี..

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขาทราย แกแล็คซี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขาค้อ แกแล็คซี่

้อ แกแล็คซี่ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท (118 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก หรือ WBA เป็นคู่แฝดกับเขาทราย แกแล็คซี.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขาค้อ แกแล็คซี่ · ดูเพิ่มเติม »

เขตการปกครองของประเทศไทย

ตการปกครองของประเทศไทย แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค และการปกครองส่วนท้องถิ่น.

ใหม่!!: จังหวัดเพชรบูรณ์และเขตการปกครองของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

จ.เพชรบูรณ์เพชรบูรณ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »