โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี

จังหวัดลพบุรี vs. รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้. รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี ทั้ง 11 อำเภอ แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีจำแนกเป็นรายประเภท ดังนี้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี

จังหวัดลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี มี 29 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระครูวิมลสมณวัตร (เพี้ยน อคฺคธมฺโม)พระปรางค์สามยอดพระนารายณ์ราชนิเวศน์กองบิน 2 ลพบุรีการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีลิงศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี)ศูนย์การบินทหารบกสมเด็จพระนารายณ์มหาราชหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษอาณาจักรอยุธยาอำเภอชัยบาดาลอำเภอบ้านหมี่อำเภอพัฒนานิคมอำเภอลำสนธิอำเภอสระโบสถ์อำเภอหนองม่วงอำเภอท่าวุ้งอำเภอท่าหลวงอำเภอโคกสำโรงอำเภอโคกเจริญอำเภอเมืองลพบุรีดินสอพองค่ายวชิราลงกรณ์ประเทศไทยแปลก พิบูลสงครามเขาวงพระจันทร์เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

พระครูวิมลสมณวัตร (เพี้ยน อคฺคธมฺโม)

มื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3 ปีขาล พุทธศักราช 2470 ที่บ้านเกริ่นกฐิน ตำบลบ้านชี อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ครอบครัวมีอาชีพเกษตรกรรม มีพี่น้อง 6 ท่านคือ 1.

จังหวัดลพบุรีและพระครูวิมลสมณวัตร (เพี้ยน อคฺคธมฺโม) · พระครูวิมลสมณวัตร (เพี้ยน อคฺคธมฺโม)และรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

พระปรางค์สามยอด

ระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ลักษณะเป็นปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ. 1720 - 1773) โครงสร้างเป็นศิลาแลงประดับปูนปั้น สร้างขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724 - ประมาณ 1757) เพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิวัชรยานประจำเมืองละโว้หรือลพบุรี ซึ่งในขณะนั้นเป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักรขอม แต่เดิมภายในปราสาทประธานประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูปพระโลเกศวร (พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร) สี่กร และปราสาททิศเหนือประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปารมิตาสองกร พระปรางค์สามยอดในอดีต (ด้านทิศตะวันออก).

จังหวัดลพบุรีและพระปรางค์สามยอด · พระปรางค์สามยอดและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

พระนารายณ์ราชนิเวศน์

หมู่ตึกพระคลังศุภรัตน์หรือหมู๋ตึกสิบสองท้องพระคลัง พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ตั้งอยู่ในเขตตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยชาวเมืองลพบุรีเรียกกันติดปากว่า "วังนารายณ์" ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ.

จังหวัดลพบุรีและพระนารายณ์ราชนิเวศน์ · พระนารายณ์ราชนิเวศน์และรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

กองบิน 2 ลพบุรี

กองบิน 2 เป็นกองบินสังกัดกองทัพอากาศไทยที่ตั้งอยู่ใน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

กองบิน 2 ลพบุรีและจังหวัดลพบุรี · กองบิน 2 ลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและจังหวัดลพบุรี · การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (Thepsatri Rajabhat University) เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกในส่วนภูมิภาค ตั้งอยู่ที่ถนนนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี · มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ลิง

แสม (''Macaca fascicularis'') ลิงที่คุ้นเคยและพบได้บ่อยที่สุดในประเทศไทย อาจพบได้ถึงในชุมชนเมืองhttp://1081009.tourismthailand.org/trip/dcp?id.

จังหวัดลพบุรีและลิง · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและลิง · ดูเพิ่มเติม »

ศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี)

ลพระกาฬ หรือเดิมเรียกว่า ศาลสูง เป็นโบราณสถานและศาสนสถานที่ตั้งอยู่กลางวงเวียนชื่อ วงเวียนศรีสุนทร บนถนนนารายณ์มหาราช ในเขตตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพระปรางค์สามยอด และเส้นทางรถไฟสายเหนือ ภายในเป็นที่ประดิษฐาน เจ้าพ่อพระกาฬ เทวรูปโบราณยุคขอมเรืองอำน.

จังหวัดลพบุรีและศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี) · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์การบินทหารบก

ูนย์การบินทหารบก โดยมีศูนย์บัญชาการอยู่ ณ ค่ายสมเด็จพระศรีนครินทรา เป็นค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทย ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและศูนย์การบินทหารบก · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและศูนย์การบินทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

จังหวัดลพบุรีและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ

หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ เป็นหน่วยทหารของกองทัพบกไทย โดยมีศูนย์บัญชาการอยู่ ณ ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

จังหวัดลพบุรีและอาณาจักรอยุธยา · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชัยบาดาล

ัยบาดาล เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างขวางมาก ครอบคลุมพื้นที่อำเภอท่าหลวงและอำเภอลำสนธิในปัจจุบัน และเคยได้ถูกเสนอจัดตั้งเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระนารายณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2546 และปี พ.ศ. 2553.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอชัยบาดาล · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอชัยบาดาล · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านหมี่

อำเภอบ้านหมี่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอบ้านหมี่ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอบ้านหมี่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพัฒนานิคม

อำเภอพัฒนานิคม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี และเป็นอำเภอที่ตั้งของเขื่อนป่าสักชลสิท.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอพัฒนานิคม · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอพัฒนานิคม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอลำสนธิ

อำเภอลำสนธิ ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอลำสนธิ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอลำสนธิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสระโบสถ์

อำเภอสระโบสถ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอสระโบสถ์ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอสระโบสถ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองม่วง

อำเภอหนองม่วง ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี ยกฐานะเป็นกิ่งอำเภอ เมื่อปี..

จังหวัดลพบุรีและอำเภอหนองม่วง · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอหนองม่วง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าวุ้ง

ท่าวุ้ง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี เดิมชื่อ อำเภอโพหวี ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอท่าวุ้ง · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอท่าวุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่าหลวง

ท่าหลวง ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอท่าหลวง · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอท่าหลวง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกสำโรง

อำเภอโคกสำโรง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอโคกสำโรง · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอโคกสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกเจริญ

อำเภอโคกเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ยกฐานะจากกิ่งอำเภอโคกเจริญ ในปี..

จังหวัดลพบุรีและอำเภอโคกเจริญ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอโคกเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองลพบุรี

อำเภอเมืองลพบุรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดลพบุรี.

จังหวัดลพบุรีและอำเภอเมืองลพบุรี · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและอำเภอเมืองลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ดินสอพอง

้นส่วนของมาร์ลสโตน ดินสอพอง หรือ มาร์ล หรือ มาร์ลสโตน มีองค์ประกอบทางเคมีเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต หรือโคลนหรือหินโคลนที่อุดมไปด้วยเนื้อปูนที่มีองค์ประกอบที่แปรผันของแร่เคลย์และอาราโกไนต์ มาร์ลเป็นคำโบราณที่ถูกนำมาใช้เรียกวัตถุที่หลากหลายโดยส่วนใหญ่เป็นวัตถุเนื้อหลวมๆของดินที่มีองค์ประกอบหลักของเนื้อผสมระหว่างดินเคลย์และแคลเซี่ยมคาร์บอเนตเกิดขึ้นภายใต้สภาพแวดแวดล้อมที่เป็นน้ำจืดเป็นวัตถุเนื้อดินประกอบด้วยแร่เคลย์ร้อยละ 65 และคาร์บอเนตร้อยละ 65-35 คำเรียกที่ใช้ในปัจจุบันหมายถึงตะกอนที่ตกสะสมตัวในทะเลและในทะเลสาบที่แข็งตัวซึ่งเพื่อให้ถูกต้องแล้วต้องเรียกว่ามาร์ลสโตน มาร์ลสโตนเป็นหินที่แข็งตัวมีองค์ประกอบเดียวกันกับมาร์ลที่อาจเรียกว่าหินปูนเนื้อดิน มาร์ลมีการแตกแบบกึ่งก้นหอยและมีแนวแตกถี่ได้น้อยกว่าหินดินดาน คำว่า “มาร์ล” เป็นศัพท์ภาษาอังกฤษที่ใช้เรียกกันอย่างกว้างขวางในทางธรณีวิทยา ขณะที่คำว่า “เมอร์เจิล” และ “ซีเกรด” (ภาษาเยอรมันเรียกว่า “ซีชอล์ค”) ถูกใช้เรียกกันในยุโรป ทางด้านล่างของชั้นชอล์คไวต์คลิฟออฟโดเวอร์ประกอบไปด้วยชั้นมาร์ลเนื้อกลอโคไนต์ตามด้วยการแทรกสลับของชั้นหินปูนและชั้นมาร์ล การลำดับชั้นหินยุคครีเทเชียสตอนบนในเยอรมนีเปรียบเทียบได้กับแรงขับอันเกิดจากความแปรผันเป็นวัฏจักรของวงโคจรโลกแบบมิลานโกวิตช์ (Milankovitch orbital forcing) มาร์ลเกิดในทะเลสาบพบได้ทั่วไปในตะกอบทะเลสาบปลายยุคน้ำแข็งโดยปรกติแล้วจะพบวางตัวอยู่ใต้ชั้นพีต มาร์ลมีประโยชน์เป็นตัวปรับสภาพดินและเป็นตัวการปรับสภาพดินที่เป็นกรดให้มีสภาพเป็นกลาง มีลักษณะอ่อน ร่วนซุย และเป็นวัตถุเนื้อดินที่มีองค์ประกอบที่แปรผันของแคลเซี่ยมคาร์บอเนต เคลย์ และตะกอนขนาดทรายแป้งและพบเป็นปฐมภูมิภายใต้สภาพแวดล้อมแบบน้ำจืด (Hubbard and Herman, 1990).

จังหวัดลพบุรีและดินสอพอง · ดินสอพองและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ค่ายวชิราลงกรณ์

ค่ายวชิราลงกรณ์ ค่ายวชิราลงกรณ์ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ๕๐๐ หมู่ที่ ๖ ตำบลป่าตาล อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ปฏิบัติภารกิจตามหลักนิยมของกองทัพบก ว่าด้วย การปฏิบัติการของหน่วยรบพิเศษ เป็นค่ายทหารที่จัดตั้งขึ้นตามพระนามสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร (ในขณะนั้น) หมวดหมู่:ค่ายทหารในจังหวัดลพบุรี หมวดหมู่:ค่ายทหารในสังกัดกองทัพบกไทย หมวดหมู่:สถานที่ที่ตั้งชื่อตามพระนามของพระบรมวงศานุวงศ์ไทย.

ค่ายวชิราลงกรณ์และจังหวัดลพบุรี · ค่ายวชิราลงกรณ์และรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

จังหวัดลพบุรีและประเทศไทย · ประเทศไทยและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

จังหวัดลพบุรีและแปลก พิบูลสงคราม · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เขาวงพระจันทร์

ตำนานของยักษ์ไปอย่างไรมาอย่างไรจึงเล่ากันว่า มาสถิตอยู่บนถ้ำยอดเขาวงพระจันทร์นี้ และตามตำนานว่า ยักษ์ที่ว่านี้คือ ท้าว"กกขนาก" ยักษ์ตนสุดท้ายที่ไม่ยอมแพ้พระรามที่อยู่ในเรื่องรามเกียรติ์ จึงถูกพระรามแผลงศร โดนยักษ์กระเด็นลอยละลิ่วข้ามมหาสมุทรอินเดียมาตกที่ยอดเขาลูกนี้ แล้วพระรามก็สาปให้ศรปักอกเอาไว้หากวันใดที่ศรเขยื้อนให้หนุมานลูกพระพาย(ลูกลม ถ้าตายเมื่อต้องลมพัดผ่าน จะกลับฟื้นคืนชีพ หนุมานจึงไม่รู้จักตาย) เอาค้อนมาตอกย้ำลูกศร ให้ปักอกไว้เช่นเดิม แต่ยักษ์โดนเข้าขนาดนี้ก็ยังไม่ตายนอนรอความตาย ฝ่ายนางนงประจันทร์ลูกสาวยักษ์ก็เหาะตามพ่อมา เพื่อปฏิบัติพ่อ เพราะพ่อยังไม่ตาย นอนอยู่ในถ้ำยอดเขานางพระจันทร์นี้และนางทราบว่าหากได้น้ำส้มสายชูมารดที่โคนศรแล้วศรจะเขยื้อนหลุดออกมาได้ แต่หากศรเขยื้อน ไก่แก้วก็จะขันเรียกหนุมานเอาค้อนมาตอกศร เมื่อนางนงประจันทร์ช่วยพ่อยักษ์ไม่ได้ ก็ตรอมใจตาย ฝ่ายยักษ์กกขนากเมื่อลูกสาวตายก็เลยตายตามไปด้วย จากตำนานนี้จึงเรียกเขาลูกนี้ว่า เขานงประจันต์หรือนางพระจันทร์ ตำนานนี้เป็นผลให้ลพบุรีไม่มีน้ำส้มสายชูขายมานาน ต่อมาเมื่อปี..

จังหวัดลพบุรีและเขาวงพระจันทร์ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและเขาวงพระจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

ื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เป็นเขื่อนดินกักเก็บน้ำที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สืบค้นวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพื่อป้องกันปัญหาน้ำท่วม เริ่มดำเนินการก่อสร้างในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 โดยกรมชลประทานเป็นผู้รับผิดชอบ สืบค้นวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551.

จังหวัดลพบุรีและเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ · รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีและเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี

จังหวัดลพบุรี มี 195 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี มี 72 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 29, ดัชนี Jaccard คือ 10.86% = 29 / (195 + 72)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดลพบุรีและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »