โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดมหาสารคาม

ดัชนี จังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางของประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่กึ่งกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

115 ความสัมพันธ์: ชลทิตย์ จันทคามชาญชัย ชัยรุ่งเรืองชาติชาย ปุยเปียฟ้าลั่น ลูกมิ่งขวัญพ.ศ. 2408พ.ศ. 2412พ.ศ. 2456พ.ศ. 2542พ.ศ. 2555พรรคภูมิใจไทยพระบรมสารีริกธาตุพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหาเจดีย์ชัยมงคลพระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพยสาร)พระธรรมเจติยาจารย์ (บุญเรือง ปุญฺญโชโต)พระเจริญราชเดช (กวด ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)พระเจริญราชเดช (ฮึง ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)พฤกษ์พฤษภาคมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครภาวิช ทองโรจน์ภาษาไทยถิ่นอีสานภาคอีสาน (ประเทศไทย)ภูมิภาฑิต นิตยารสมกราคมมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มหาวิทยาลัยนครพนมมิสอินเตอร์เนชั่นแนลควีนมิสทิฟฟานี่ยูนิเวิร์สรังรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดรายชื่อวัดในจังหวัดมหาสารคามรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดมหาสารคามรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดมหาสารคามรางวัลรามอน แมกไซไซราตรี ศรีวิไลรณวีร์ เสรีรัตน์ลำยอง หนองหินห่าววรัญชัย โชคชนะวัดมหาชัยวิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคามวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือวิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓...วีระชัย แนวบุญเนียรศรีเมือง เจริญศิริศักดิ์สยาม เพชรชมภูศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดชศาสนาพุทธสุชาติ โชคชัยวัฒนากรสถาบันการพลศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังหมู่บ้านหนองไผ่อภิรดี ภวภูตานนท์อำเภออำเภอบรบืออำเภอชื่นชมอำเภอพยัคฆภูมิพิสัยอำเภอกันทรวิชัยอำเภอกุดรังอำเภอยางสีสุราชอำเภอวาปีปทุมอำเภอนาดูนอำเภอนาเชือกอำเภอแกดำอำเภอโกสุมพิสัยอำเภอเชียงยืนอำเภอเมืองมหาสารคามองศาเซลเซียสองค์การบริหารส่วนจังหวัดองค์การบริหารส่วนตำบลฮีตสิบสอง คลองสิบสี่จรัสศรี ทีปิรัชจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดสุรินทร์จังหวัดขอนแก่นถนนพหลโยธินถนนมิตรภาพถนนแจ้งสนิททองใบ ทองเปาด์ทุ่งกุลาร้องไห้ณฤมล ขานอันความชื้นสัมพัทธ์ตราประจำจังหวัดของไทยตารางกิโลเมตรตำบลประยุทธ์ ศิริพานิชย์ประเทศไทยปูทูลกระหม่อมแม่น้ำชีแคนดี้ รากแก่นโบราณคดีเมษายนเสฐียรพงษ์ วรรณปกเจษฎา พั่วนะคุณมีเทพฤทธิ์ สิงห์วังชาเทศบาลตำบลเทศบาลตำบลพยัคฆภูมิพิสัยเทศบาลตำบลนาเชือกเทศบาลตำบลแวงน่างเทศบาลตำบลโคกพระเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองมหาสารคามเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12เดือนเพ็ญ อำนวยพร22 สิงหาคม ขยายดัชนี (65 มากกว่า) »

ชลทิตย์ จันทคาม

ลทิตย์ จันทคาม นักฟุตบอลตำแหน่งกองหลังทีมชาติไทยของสโมสรชลบุรี เอฟซี.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและชลทิตย์ จันทคาม · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ชัยรุ่งเรือง

นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและชาญชัย ชัยรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

ชาติชาย ปุยเปีย

ติชาย ปุยเปีย (เกิด 29 มีนาคม พ.ศ. 2507 ที่จังหวัดมหาสารคาม) จิตรกรชาวไทย มีผลงานจิตรกรรมในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์สังคม โดยสอดแทรกประเด็นต่างๆ ในเชิงการตั้งคำถาม การประชดประชัน ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับสภาพสังคมไทยปัจจุบัน ได้รับการเชิดชูเกียรติรางวัลศิลปาธร สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและชาติชาย ปุยเปีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้าลั่น ลูกมิ่งขวัญ

ฟ้าลั่น ลูกมิ่งขวัญ หรือ ฟ้าลั่น ศักดิ์กรีรินทร์ มีชื่อจริงว่า ธงชัย อุทัยดา เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2511 ที่ตำบลหนองปลิง อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม มีสถิติการชกทั้งหมด 61 ครั้ง ชนะ 54 (น็อค 23) เสมอ 3 แพ้ 4.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและฟ้าลั่น ลูกมิ่งขวัญ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2408

ทธศักราช 2408 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1865.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพ.ศ. 2408 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2412

ทธศักราช 2412 ตรงกั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพ.ศ. 2412 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคภูมิใจไทย

รรคภูมิใจไทย (ย่อว่า: ภท.) ก่อตั้งเมื่อ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 มี นายพิพัฒน์ พรมวราภรณ์ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก นายมงคล ศรีอ่อน เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก และนางวันเพ็ญ ขวัญวงศ์ เป็นโฆษกพรรคคนแรก ในปัจจุบันมีนาย อนุทิน ชาญวีรกูล เป็นหัวหน้าพรรคนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นเลขาธิการพรรค และนางวาว ศุภมาศ อิศรภักดี เป็นโฆษกพรร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพรรคภูมิใจไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมสารีริกธาตุ

ระบรมสารีริกธาตุ สัณฐานเมล็ดข้าวสาร พระบรมสารีริกธาตุ (शरीर; Śarīra) เรียกโดยย่อว่าพระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้คงเหลือไว้หลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุที่ไม่แตกกระจาย และที่แตกกระจาย มีขนาดเล็กสุดประมาณเมล็ดพันธุ์ผักกาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุเป็นวัตถุแทนองค์พระบรมศาสดาที่ทรงคุณค่าสูงสุดในศาสนาพุทธ จึงนิยมกระทำการบูชาองค์พระบรมสารีริกธาตุโดยประการต่าง ๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระธาตุไว้สักการะ โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระทำการบูชาแด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ทั้งนี้ คำว่า "พระบรมสารีริกธาตุ" เป็นศัพท์เฉพาะใช้เรียกเฉพาะพระธาตุของพระพุทธเจ้า หากเป็นของพระอรหันตสาวกจะเรียกว่า "พระธาตุ" เท่านั้น.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระบรมสารีริกธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาเจดีย์ชัยมงคล

ระมหาเจดีย์ชัยมงคล พระมหาเจดีย์ชัยมงคล ตั้งอยู่บริเวณวัดผาน้ำทิพย์เทพประสิทธิ์วราราม ตำบลผาน้ำย้อย อำเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ระยะทางจากตัวเมืองร้อยเอ็ดประมาณ80 ก.ม มีลักษณะเป็นมหาเจดีย์ขนาดใหญ่ที่วิจิตรพิสดาร ใช้ศิลปกรรมร่วมสมัยระหว่างภาคกลางและภาคอีสานเป็นการผสมกันระหว่างพระปฐมเจดีย์และพระธาตุพนม ใช้งบประมาณก่อสร้างถึงปัจจุบันกว่า 3,000 ล้านบาท ดำเนินการสร้างโดย “พระอาจารย์ศรี มหาวิโร” ซึ่งเป็นศิษย์พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต พระมหาเจดีย์ชัยมงคลออกแบบโดยกรมศิลปากร เป็นสีขาวตกแต่งลวดลายตระการตาด้วยสีทองเหลืองอร่าม รายล้อมด้วยเจดีย์องค์เล็กทั้ง 8 ทิศสร้าง ในเนื้อที่ 101 ไร่ กว้าง 101 เมตร ยาว 101 เมตร ความสูง 101 เมตร รวมยอดทองคำเป็น 109เมตร ใช้ทอง คำหนัก 4,750 บาท หรือประมาณ 60 กิโลกรัม ภายในองค์พระมหาเจดีย์เหมือน อยู่บนวิมานแดนสวรร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระมหาเจดีย์ชัยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

พระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพยสาร)

ระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพย์สาร) ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ระหว่างพุทธศักราช 2474-2476 และดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสิน..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระอรรถเปศลสรวดี (เจริญ ทรัพยสาร) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมเจติยาจารย์ (บุญเรือง ปุญฺญโชโต)

ระธรรมเจติยาจารย์ ว. นามเดิม บุญเรือง ฉายา ปุญฺญโชโต อายุ 80 ปี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) และเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ท่านเป็นพระธรรมทูตรุ่นแรกที่เข้ารับการฝึกอบรมและออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศหลายประเทศ เช่น ประเทศออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย ผู้มีส่วนสำคัญในการนำเอาพระพุทธศาสนาไปเผยแผ่จนกระทั่งสามารถตั้งมั่นในอินโดนีเซียในปัจจุบัน ปัจจุบันพระธรรมเจติยาจารย์ยังเป็นกรรมการบริหารสถาบันฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต) ซึ่งจะมีการฝึกอบรมทุกปีในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม เพื่อให้พระภิกษุมีความพร้อมก่อนจะออกเดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศ ปัจจุบันพระธรรมทูตได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว 13 รุ่น ด้านการปกครองคณะสงฆ์ ท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้รักษาการเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ในวันที่ 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระธรรมเจติยาจารย์ (บุญเรือง ปุญฺญโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญราชเดช (กวด ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

ระเจริญราชเดช (กวด ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) หรือ ท้าวมหาชัย เจ้าเมืองมหาสารคามพระองค์แรก ในฐานะเมืองพระประเทศราช อดีตเคยดำรงตำแหน่งคณะกรมการเมืองร้อยเอ็ด ทรงเป็นเจ้านายในราชวงศ์เวียงจันทน์ที่อพยพเข้ามาปกครองแผ่นดินอีสาน อีกทั้งทรงเป็นต้นสกุล "'ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม"' แห่งจังหวัดมหาสารคาม ในภาคอีสานของประเทศไทยด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระเจริญราชเดช (กวด ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

มหาอำมาตย์ตรี พระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) (พ.ศ. ๒๔๐๑ - พ.ศ. ๒๔๖๑) กรมการพิเศษเมืองมหาสารคาม มณฑลร้อยเอ็จและที่ปรึกษาราชการเมืองมหาสารคาม อดีตเจ้าเมืองวาปีปทุมคนสุดท้าย (องค์ที่ ๒) อดีตเจ้าเมืองมหาสารคามคนสุดท้าย (องค์ที่ ๔) อีกทั้งเคยดำรงตำแหน่งข้าหลวงกำกับราชการเมืองมหาสารคาม ผู้ว่าราชการเมืองมหาสารคามท่านแรก นายอำเภอวาปีปทุมท่านแรก รวมถึงมีศักดิ์เป็นบุตรเขยและหลานลุงของพระเจริญราชเดชวรเชษฐ์มหาขัติยพงศ์ (กวด) เจ้าเมืองมหาสารคามคนแรก อนึ่ง พระเจริญราชเดช (อุ่น) เป็นต้นสกุลและได้รับพระราชทานนามสกุล ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม ซึ่งเป็นหนึ่งในสกุลหัวเมืองอีสานที่มีชื่อเสียงของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระเจริญราชเดช (อุ่น ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจริญราชเดช (ฮึง ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม)

ระเจริญราชเดช (ท้าวไชยวงษา ฮึง ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) เป็นบุตรพระยาขัติยวงษา (สีลัง) เจ้าเมืองร้อยเอ็ด เกิดที่เมืองร้อยเอ็ด เมื่อแรกตั้งเมืองมหาสารคาม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้ท้าวไชยวงษา ฮึง เป็นราชวงษ์ เมืองมหาสารคาม ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ราชวงษ์ ฮึง เป็น อุปฮาช เมืองมหาสารคาม..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระเจริญราชเดช (ฮึง ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม) · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)

ระเทพวิสุทธิมงคล หรือ หลวงปู่ศรี มหาวีโร เป็นพระเถระฝ่ายวิปัสสนาธุระ ศิษย์พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดประชาคมวนาราม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร) · ดูเพิ่มเติม »

พฤกษ์

กษ์, ซึก, มะรุมป่า หรือ จามจุรีทอง (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เรียกว่า จามจุรี) เป็นพืชวงศ์ถั่ว เป็นไม้ยืนต้น เปลือกสีเทาเข้มหรือสีน้ำตาล แตกเป็นร่อง ใบประกอบ ดอกออกเป็นช่อกระจุก เกสรตัวผู้เป็นพู่จำนวนมาก ผลเป็นฝัก ผิวเกลี้ยงเป็นมัน ภายในมีเมล็ดแบน ๆ จำนวนมาก.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม

ษภาคม เป็นเดือนที่ 5 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนพฤษภาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีพฤษภ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีเมถุน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนพฤษภาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแกะและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาววัว ชื่อในภาษาอังกฤษ "May" อาจมีที่มาจากเทพเจ้ากรีกนามว่า ไมอา (Maia) ซึ่งโรมันถือเป็นเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนพฤษภาคมในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย)

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Ministry of Natural Resources and Environment) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และดูแลหน่วยงานราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ภาวิช ทองโรจน์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและภาวิช ทองโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทยถิ่นอีสาน

ษาไทยถิ่นอีสาน หรือ ภาษาลาวอีสาน เป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็นภาษาลาวสำเนียงหนึ่งในสำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวซึ่งแบ่งเป็น 6 สำเนียงใหญ่ คือ.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและภาษาไทยถิ่นอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาคอีสาน (ประเทศไทย)

อีสาน (มาจากภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤต ऐशान aiśāna แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ") หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภูมิภาคหนึ่งในประเทศไทย ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้ำโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และมีทิวเขาเพชรบูรณ์และทิวเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจากภาคกลาง ภาคอีสานยังมีเนื้อที่มากที่สุดของประเทศไทย ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูลมโล ภูหลวง และภูกระดึง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของชาวอีสานในหลายจังหวัดด้วยกัน เช่น แม่น้ำห้วยหลวง แม่น้ำชี ลำตะคอง แม่น้ำพอง แม่น้ำเลย แม่น้ำพรม แม่น้ำมูล แม่น้ำสงคราม ภาษาหลักของภาคนี้ คือ ภาษาอีสาน ซึ่งเป็นภาษาอีสานสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วนภาษาไทยนิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และจังหวัดนครราชสีมาแต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมีภาษาเขมรที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น ภาษาผู้ไท ภาษาโส้ ภาษาไทโคราช ภาษากวย (ส่วย) ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นที่สุดของประเทศ เช่น อาหาร ภาษา อักษร เช่น อักษรไทน้อย ดนตรีหมอลำ ดนตรีกันตรึม ดนตรีเจรียง และศิลปะการฟ้อนรำ การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและภาคอีสาน (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิภาฑิต นิตยารส

ูมิภาฑิต นิตยารส (ชื่อเดิม:เหมวรรษ นิตยารส) เป็นนักแสดงชายชาวไทย ชื่อเดิมคือ เหมวรรษ และเปลี่ยนเป็น "ภูมิภาฑิต" เกิดเมื่อ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและภูมิภาฑิต นิตยารส · ดูเพิ่มเติม »

มกราคม

มกราคม เป็นเดือนแรกของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมกราคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีมกร และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมกราคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนู และไปอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลในปลายเดือน เดือนมกราคมในภาษาอังกฤษ January มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า ยานุส (Janus) ซึ่งเป็นเทพเจ้าแห่งประตูทางผ่าน การเริ่มต้น และการสิ้นสุด ปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคมมีเดือนเพียง 10 เดือน (304 วัน) โดยไม่มีเดือนในช่วงฤดูหนาว ต่อมาได้มีการเพิ่มเดือน 2 เดือน คือ เดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทำให้ 1 ปีมี 12 เดือน ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมกราคมในปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมกราคม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (Rajabhat Maha sarakham University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนครพนม

มหาวิทยาลัยนครพนม เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 78 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครพนม ที่เกิดจากการหลอมรวมสถานศึกษาในจังหวัดนครพนม ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนครพนม..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมหาวิทยาลัยนครพนม · ดูเพิ่มเติม »

มิสอินเตอร์เนชั่นแนลควีน

มิสอินเตอร์เนชั่นแนลควีน (Miss International Queen) เป็นการประกวดนางงามสาวประเภทสองนานาชาติระดับโลก โดยทั่วไปการประกวดมิสอินเตอร์เนชั่นแนลควีน นั้นจะเริ่มประกวดช่วงปลายปีตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน ซึ่งจะใช้เวลาการประกวดและทำกิจกรรมประมาณ 1สัปดาห์ เริ่มจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2004 - จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมิสอินเตอร์เนชั่นแนลควีน · ดูเพิ่มเติม »

มิสทิฟฟานี่ยูนิเวิร์ส

การประกวดมิสทิฟฟานี่ยูนิเวิร์ส (Miss Tiffany’s Universe) เป็นการประกวดสาวประเภทสอง จัดที่โรงละครทิฟฟานี่โชว์พัทยา จังหวัดชลบุรี โดย บริษัท ทิฟฟานี่โชว์ พัทยา จำกัด ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการประกวดสาวประเภทสองระดับโลก Miss International Queen การประกวดครั้งแรกจัดเมื่อปี ค.ศ.1998.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและมิสทิฟฟานี่ยูนิเวิร์ส · ดูเพิ่มเติม »

รัง

รัง (Burmese sal, Ingyin, Dark red meranti, Light red meranti, Red lauan) เป็นไม้ยืนต้นประเภทใบเดียวชนิดหนึ่งที่มีอยู่ตามป่าเบญจพรรณแล้งและป่าแดงทั่วไป มีคุณสมบัติในการทนแล้งและทนไฟได้ดีมาก พบในประเทศอินโดนีเซีย, มาเลเซีย, พม่า และไทย เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ มีความสูง 15–20 เมตร เปลือกต้นสีเทาแตกเป็นร่องตามความยาวลำต้น ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปไข่ ปลายใบมน โคนใบหยักเว้า ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อ กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนมีนาคม-เมษายน ผลรูปกระสวย มีปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดอุดรธานี มีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "เปา, เปาดอกแดง" ในภาษาเหนือ หรือ "เรียง, เรียงพนม" ในภาษาเขมร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด

ันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด เป็นพันธุ์ไม้ที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถได้พระราชทานให้กับผู้ว่าราชการจังหวัดของแต่ละจังหวัด เพื่อให้นำไปปลูกเป็นสิริมงคลแก่จังหวัดและเพื่อเป็นการรณรงค์ให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี (พระราชพิธีกาญจนาภิเษก) รายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดของแต่ละจังหวัดแยกตามภาค (ตามเกณฑ์การแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน) มีรายละเอียดตามที่ปรากฏในตารางข้างล่าง ทั้งนี้ พันธุ์ไม้มงคลพระราชทานของบางจังหวัด (ได้แก่ นครปฐม บุรีรัมย์ ยโสธร ระนอง ระยอง สุโขทัย และสุรินทร์) จะเป็นพรรณไม้คนละชนิดกับต้นไม้ประจำจังหวัดนั้น ๆ ส่วนจังหวัดบึงกาฬไม่มีพันธุ์ไม้พระราชทานเนื่องจากขณะนั้นยังเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดหนอง.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรายชื่อพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดมหาสารคาม

รายชื่อวัดในจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรายชื่อวัดในจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดมหาสารคาม

มหาสารคาม หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดมหาสารคาม หมวดหมู่:จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรายชื่อโบราณสถานในจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดมหาสารคาม

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรางวัลรามอน แมกไซไซ · ดูเพิ่มเติม »

ราตรี ศรีวิไล

ราตรี ศรีวิไล หรือ ดร.ราตรีศรีวิไล บงสิทธิพร (2 มกราคม พ.ศ. 2495 -) เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงสไตล์อีสาน แนวหมอลำประยุกต์ ได้รับสมญานามว่า "ราชินีหมอลำซิ่ง" มีชื่อเสียงโด่งดังทั้งในและต่างประเท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและราตรี ศรีวิไล · ดูเพิ่มเติม »

รณวีร์ เสรีรัตน์

รณวีร์ เสรีรัตน์ หรือ นิค เดอะสตาร์ 2 (เกิด 17 มิถุนายน พ.ศ. 2528) ภูมิลำเนาอยู่ที่ จังหวัดมหาสารคาม มีชื่อเสียงมาจากการประกวด เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 2 ปัจจุบัน รณวีร์มีผลงานละครซิดคอมเรื่อง "ผู้กองเจ้าเสน่ห์" โดยรับบทเป็น "ร.ต.ท.สุกรี หงส์แก้ว (หมวดหมู)" ปัจจุบัน รณวีร์จบศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เอก ดุริยางค์ศิลป.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและรณวีร์ เสรีรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำยอง หนองหินห่าว

ลำยอง หนองหินห่าว นักร้องเพลงลูกทุ่งหมอลำหญิงชาวไทย สังกัดค่าย แกรมมี่โกลด์ ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เจ้าของฉายาสาวหมอลำซิ่งโคโยตี้ เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง เอาผัวไปเทิร์น,จีบเอาสิคะ,ประสาซ่ำผัว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและลำยอง หนองหินห่าว · ดูเพิ่มเติม »

วรัญชัย โชคชนะ

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ซึ่งนายวรัญชัยได้เบอร์ 2 นายวรัญชัย โชคชนะ นักการเมืองไทย และนักเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เป็นสีสัน เป็นที่รู้จักดีจากการเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหลายสมัย และลงสมัครในการเลือกตั้งทั่วไปอีกหลายครั้ง แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเลยสักครั้ง.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวรัญชัย โชคชนะ · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาชัย

วัดมหาชัย (พระอารามหลวง) หรือ วัดเหนือ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เลขที่ 779 ถนนศรีราชวงศ์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวัดมหาชัย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม

วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม (Sri Maha Sarakham College of Nursing) เป็นวิทยาลัยพยาบาลในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข และเป็นสถาบันสบทบของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓

วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม (อังกฤษ : Mahasarakham Vocational College ) เป็นวิทยาลัยด้านคหกรรมพานิชย์ ในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม และเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสาคาม (อังกฤษ: Mahasarakhom College of Agriculture and Technology) เป็นวิทยาลัยด้านการเกษตร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม โดยเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓

วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม (อังกฤษ : Mahasarakham Technical College ) เป็นศูนย์กลางอำนวยการของสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม และเปิดสอน 3 หลักสูตร คือ ปว., ปว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๓ · ดูเพิ่มเติม »

วีระชัย แนวบุญเนียร

นายวีระชัย แนวบุญเนียร อดีตกรรมการการเลือกตั้ง ฝ่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน อดีตรองปลัดกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2483.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและวีระชัย แนวบุญเนียร · ดูเพิ่มเติม »

ศรีเมือง เจริญศิริ

ร.ศรีเมือง เจริญศิริ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดมหาสารคาม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สังกัดพรรคพลังประชาชน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและศรีเมือง เจริญศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สยาม เพชรชมภู

ักดิ์สยาม เพชรชมภู มีชื่อจริงว่า บุญชื่น เสนาราช เป็นนักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย จากจังหวัดมหาสารคาม มีชื่อเสียงจากเพลง "ทุ่งกุลาร้องไห้" ซึ่งได้รับรางวัลจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานกึ่งศตวรรษลูกทุ่งไทยจากเพลงทุ่งกุลาร้องไห้ เมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและศักดิ์สยาม เพชรชมภู · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช

ักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช (13 ตุลาคม พ.ศ. 2493 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553) อดีตปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

สุชาติ โชคชัยวัฒนากร

นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม สังกัดพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและสุชาติ โชคชัยวัฒนากร · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการพลศึกษา

ันการพลศึกษา เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เดิมชื่อ วิทยาลัยพลศึกษา ทำหน้าที่ผลิตครู โดยเฉพาะครูสอนพลศึกษาและสุขศึกษา แต่ปัจจุบันได้เพิ่มบทบาทในการผลิตบุคลากรด้านวิชาชีพ ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา และสุขภาพเพิ่มขึ้น ตั้งอยู่เลขที่ 154 สนามกีฬาแห่งชาติ ถนนพระรามที่ 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและสถาบันการพลศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนองไผ่

หนองไผ่ สามารถหมายถึงสถานที่ที่มีชื่อเดียวกันในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและหนองไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

อภิรดี ภวภูตานนท์

อภิรดี ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม (23 กันยายน พ.ศ. 2508-ปัจจุบัน) เป็นนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอภิรดี ภวภูตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอ

อำเภอ เป็นหน่วยการปกครองระดับที่สองในประเทศไทย ลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครอง โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล ในปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อำเภอใน 76 จังหวัด ซึ่งไม่รวม 50 เขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการบริหารกรุงเทพมหานครในปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบรบือ

รบือ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม เป็นอำเภอที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของจังหวัดมหาสารคาม รองจากอำเภอโกสุมพิสัย และมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของจังหวัดรองจากอำเภอเมืองมหาสารคาม อำเภอโกสุมพิสัยและอำเภอวาปีปทุม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอบรบือ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชื่นชม

ื่นชม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่เล็กที่สุดและมีประชากรน้อยที่สุดของจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอชื่นชม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย

ัคฆภูมิพิสัย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดมหาสารคาม สัญลักษณ์ของอำเภอคือ เสือ ซึ่งมาจากชื่ออำเภอที่นิยมเรียกย่อ ๆ ว่า "อำเภอพยัคฆ์" มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 5 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันทรวิชัย

กันทรวิชัย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นเป็นดับ 7 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 6 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอกันทรวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกุดรัง

กุดรัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 10 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอกุดรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยางสีสุราช

งสีสุราช เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 11 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 11 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอยางสีสุราช · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวาปีปทุม

วาปีปทุม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของจังหวัดมหาสารคาม รองจากอำเภอโกสุมพิสัย และอำเภอบรบือ มีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของจังหวัดรองจาก อำเภอเมืองมหาสารคาม และอำเภอโกสุมพิสั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอวาปีปทุม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาดูน

นาดูน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 10 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 9 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอนาดูน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนาเชือก

นาเชือก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 8 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอนาเชือก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแกดำ

แกดำ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 12 ของจังหวัดและมีประชากรมากเป็นอันดับ 12 ของจังหวัด เช่นกัน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอแกดำ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโกสุมพิสัย

กสุมพิสัย เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดของจังหวัดมหาสารคาม มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 รองจากอำเภอเมืองมหาสารคาม เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอของจังหวัด ถูกจัดตั้งขึ้นพร้อมกับเมืองวาปีปทุม และมีฐานะเป็นอำเภอ ตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอโกสุมพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเชียงยืน

ียงยืน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 8 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 7 ของจังหวั.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอเชียงยืน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองมหาสารคาม

มืองมหาสารคาม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดมหาสารคาม เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดและที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของจังหวัด รองจาก อำเภอโกสุมพิสัย อำเภอบรบือ และอำเภอวาปีปทุม เป็นอำเภอศูนย์กลางทางการปกครอง การคมนาคม การศึกษา การแพทย์ อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจของจังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและอำเภอเมืองมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

องศาเซลเซียส

องศาเซลเซียส (สัญลักษณ์ °C) หรือที่เคยเรียกว่า องศาเซนติเกรด (degree centigrade) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหน่วยหนึ่งในระบบเอสไอ กำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 °C และจุดเดือดคือ 100 °C โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่แอนเดอร์ เซลเซียส ผู้ซึ่งสร้างระบบใกล้เคียงกับปัจจุบัน ในปัจจุบันองศาเซลเซียสใช้กับแพร่หลายทั่วโลกในชีวิตประจำวัน จะยกเว้นก็มีสหรัฐอเมริกาและประเทศจาไมกาเท่านั้นที่นิยมใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ แต่ในประเทศดังกล่าว องศาเซลเซียสและเคลวินก็ใช้มากในด้านวิทยาศาสตร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและองศาเซลเซียส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย มีจังหวัดละหนึ่งแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีเขตพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมทั้งจังหวัด จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสาธารณประโยชน์ในเขตจังหวัด ตลอดทั้งช่วยเหลือพัฒนางานของเทศบาลและ อบต. รวมทั้งการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นเพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและองค์การบริหารส่วนจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล มีชื่อย่อเป็นทางการว่า อบต. มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและองค์การบริหารส่วนตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่

ีตสิบสอง คองสิบสี่ เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติพันธ์ลาว ซึ่งร่วมถึงชาวลาวอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวัฒนธรรมแสดงถึงความเป็นชาติเก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองมานาน เป็นเอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น และมีส่วนช่วยให้ชาติดำรงความเป็นชาติของตนอยู่ตลอดไป ฮีตสิบสอง มาจากคำสองคำได้แก่ ฮีต คือคำว่า จารีต ซึ่งหมายถึง ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติที่ดี และ สิบสอง หมายถึง สิบสองเดือน ดังนั้นฮีตสิบสองจึงหมายถึงประเพณีที่ชาวลาวในภาคอีสาน และประเทศลาว ปฏิบัติกันมาในโอกาสต่าง ๆ ทั้งสิบสองเดือนของแต่ละปี เป็นการผสมผสานพิธีกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องผีและพิธีกรรมทางการเกษตร เข้ากับพิธีกรรมทางพุทธศาสนา นักปราชญ์โบราณได้วางฮีตสิบสองไว้ดังนี้.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ · ดูเพิ่มเติม »

จรัสศรี ทีปิรัช

ณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช (3 มีนาคม พ.ศ. 2482 -) สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย โดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก เป็นผู้ริเริ่มโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อการพัฒนาเมืองในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและจรัสศรี ทีปิรัช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาฬสินธุ์

ังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางหรือตอนบนของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 510 กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์จังหวัดหนึ่งในภาคอีสาน จากหลักฐานทางโบราณคดีบ่งบอกว่าเคยเป็นที่อยู่อาศัยของเผ่าละว้า ซึ่งมีความเจริญทางด้านอารยธรรมประมาณ 1,600 ปี ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ให้ยกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธุ์” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซึ่งเป็นเมืองที่สำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธุ์” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธุ์จึงแปลว่า “น้ำดำ” และยังมีแหล่งซากไดโนเสาร์หลายแห่งด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอำเภอสหัสขันธ์ นอกจากนี้ยังมีชื่อเสียงด้านโปงลาง.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดร้อยเอ็ด

ร้อยเอ็ด เดิมสะกดว่า ร้อยเอ็จ เป็นจังหวัดบริเวณลุ่มแม่น้ำชีในภาคอีสานตอนกลางหรือตอนบนของไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพหลโยธิน

นนพหลโยธิน (Thanon Phahon Yothin) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 สายกรุงเทพมหานคร−แม่สาย (เขตแดน) เป็นถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย (ประกอบด้วยถนนพหลโยธิน ถนนมิตรภาพ ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม) สายทางเริ่มต้นที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ผ่านภาคกลาง และมุ่งเข้าสู่ภาคเหนือของประเทศไทย สิ้นสุดที่ด่านพรมแดนแม่สาย อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย บริเวณชายแดนประเทศพม่า รวมระยะทางยาว 994.749 กิโลเมตร บางช่วงของถนนพหลโยธินอยู่ในโครงข่ายทางหลวงเอเชีย ได้แก่ ช่วงบ้านหินกองถึงอำเภอบางปะอินเป็นทางหลวงเอเชียสาย 1, ช่วงแยกหลวงพ่อโอ (เส้นแบ่งเขตจังหวัดชัยนาทกับจังหวัดนครสวรรค์) ถึงอำเภอเมืองตาก เป็นทั้งทางหลวงเอเชียสาย 1 และสาย 2 และช่วงอำเภอเมืองสระบุรีถึงบ้านหินกองเป็นทางหลวงเอเชียสาย 12 นอกจากนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงคุนหมิง–กรุงเทพ ถนนพหลโยธินช่วงตั้งแต่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เส้นทางของถนนจะเบี่ยงไปทิศตะวันออก ผ่านจังหวัดสระบุรีและจังหวัดลพบุรี แล้ววกกลับมายังจังหวัดชัยนาท เนื่องจากในสมัยก่อนต้องการให้ทางหลวงสายหลักผ่านที่ตั้งของกองทหารสำคัญของประเท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและถนนพหลโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมิตรภาพ

นนมิตรภาพ ซึ่งเป็นชื่อเรียกของ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 หรือ ทางหลวงสายสระบุรี–สะพานมิตรภาพที่หนองคาย (เขตแดนไทย/ลาว) เป็นหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย โดยสายทางเริ่มต้นที่จังหวัดสระบุรี มุ่งเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และสิ้นสุดที่จังหวัดหนองคาย มีระยะทางทั้งสิ้น 509 กิโลเมตร และเป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 12 ถนนมิตรภาพเป็นทางหลวงที่ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาในด้านงบประมาณการก่อสร้าง เทคนิควิชาการในการก่อสร้าง นับเป็นทางหลวงสายแรกที่ก่อสร้างถูกต้องตามแบบมาตรฐานการก่อสร้างทางหลวงทุกขั้นตอน และเป็นทางหลวงสายแรกของประเทศไทยที่มีผิวจราจรลาดยางแบบแอสฟอลต์คอนกรีต โดยเปิดให้บริการเมื่อปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและถนนมิตรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนแจ้งสนิท

นนแจ้งสนิท หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 สายบ้านไผ่–อุบลราชธานี เป็นทางหลวงที่แยกออกมาจากถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) ที่ตำบลบ้านไผ่ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น ผ่านเข้าเขตจังหวัดมหาสารคาม ผ่านอำเภอกุดรัง อำเภอบรบือ อำเภอเมืองมหาสารคาม เข้าเขตจังหวัดร้อยเอ็ด ผ่านอำเภอเมืองร้อยเอ็ด อำเภอธวัชบุรี อำเภอเสลภูมิ เข้าเขตจังหวัดยโสธร ผ่านอำเภอเมืองยโสธร อำเภอคำเขื่อนแก้ว จากนั้นเข้าเขตจังหวัดอุบลราชธานี ผ่านอำเภอเขื่องใน แล้วไปสิ้นสุดที่อำเภอเมืองอุบลราชธานี อำเภอเมืองอุบลราชธานี รวมระยะทางทั้งสิ้น 278.752 กิโลเมตร ถนนแจ้งสนิทเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายชนบท-มหาสารคาม-ร้อยเอ็ด-อุบลราชธานี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและถนนแจ้งสนิท · ดูเพิ่มเติม »

ทองใบ ทองเปาด์

ทองใบ ทองเปาด์ (12 เมษายน พ.ศ. 2469 - 24 มกราคม พ.ศ. 2554) ทนายความ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2539 และสมาชิกว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและทองใบ ทองเปาด์ · ดูเพิ่มเติม »

ทุ่งกุลาร้องไห้

ทุ่งกุลาร้องไห้ ทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นที่ราบขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 2 ล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 13 อำเภอ 5 จังหวัด ได้แก่ อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม; อำเภอชุมพลบุรีและอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์; อำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด; อำเภอศิลาลาด อำเภอราษีไศล และอำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ; อำเภอค้อวังและอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร การที่ได้ชื่อว่าทุ่งกุลาร้องไห้ มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่า ชนเผ่ากุลาซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่า ได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่งนี้ ปกติแล้วชนเผ่ากุลาเป็นชนเผ่าที่มีความอดทนสูงมาก สู้งาน สู้แดด ลม ฝน แต่เมื่อได้เดินทางผ่านทุ่งแห่งนี้ ที่มีพื้นที่กว้างขวางเหลือประมาณ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน ไม่พบหมู่บ้านใด ๆ เลย น้ำก็ไม่มีดื่ม ต้นไม้ก็ไม่มีที่จะให้ร่มเงา มีแต่ทุ่งหญ้าเต็มไปหมด พื้นดินก็เป็นทราย เดินทางยากลำบากเหมือนอยู่กลางทะเลทราย ทำให้คนพวกนี้ถึงกับร้องไห้ ดังนั้น จึงได้ชื่อว่า "ทุ่งกุลาร้องไห้" ในอดีต ทุ่งกุลาร้องไห้ในฤดูแล้ง พื้นที่ส่วนใหญ่จะแห้งแล้งมาก ส่วนในฤดูฝนน้ำจะท่วมทุกปี ใต้พื้นดินลงไปเป็นน้ำเค็ม ไม่สามารถทำการเกษตรได้ หลังจากที่ได้มีการพัฒนาที่ดินแล้ว ทุ่งกุลาร้องไห้ได้กลายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่สำคัญของประเทศ และกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่มีชื่อเสียงของไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและทุ่งกุลาร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

ณฤมล ขานอัน

ณฤมล ขานอัน เกิดวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2526 เป็นหนึ่งในอดีตสมาชิกวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย ซึ่งเล่นได้ทั้งตำแหน่งตัวเซตและตัวตบ ในการแข่งขันซีเกมส์ 2009 เกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร หรือโค้ชอ๊อต ได้เลือกให้ณฤมลได้ลงเล่นเพื่อเป็นเกียรติประวัติก่อนอำลาทีมชาต.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและณฤมล ขานอัน · ดูเพิ่มเติม »

ความชื้นสัมพัทธ์

กรมิเตอร์สำหรับวัดความชื้นในอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity - rH) เป็นหน่วยวัดหนึ่งที่นิยมใช้วัดระดับความชื้นในอากาศ มีนิยามคือ อัตราส่วนโดยมวลของไอน้ำในอากาศในขณะหนึ่ง(ที่อุณหภูมิหนึ่ง) ต่อ ไอน้ำสูงสุดที่อากาศ (ที่อุณหภูมินั้น) สามารถแบกรับไว้ได้.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและความชื้นสัมพัทธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตารางกิโลเมตร

ตารางกิโลเมตร คือหน่วยของพื้นที่ มักย่อว่า ตร.กม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและตารางกิโลเมตร · ดูเพิ่มเติม »

ตำบล

ตำบลหรือ เขตที่ตั้งเมือง (township) เป็นนิคมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่กว่าหมู่บ้าน แต่เล็กกว่าเมือง ขนาดของเมืองขนาดเล็กอาจแตกต่างกันอย่างมากในทุกภูมิภาคของโลก เมืองขนาดเล็กในประเทศไทยยังหมายถึงเทศบาลตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและตำบล · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ ศิริพานิชย์

นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย จังหวัดมหาสารคาม และได้รับการแต่งตั้งเป็นรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและประยุทธ์ ศิริพานิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปูทูลกระหม่อม

ปูทูลกระหม่อม หรือ ปูแป้ง (Mealy crab) เป็นปูน้ำจืดที่ค้นพบในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2536 ที่ป่าดูนลำพัน อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม โดยศาสตราจารย์ไพบูลย์ นัยเนตร ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์ และเป็นปีที่ปีที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุครบ 36 พรรษา จึงขอพระราชทานชื่อว่า "ปูทูลกระหม่อม" และได้กำหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ลำดับที่ 14 ของสัตว์ป่าจำพวกไม่มีกระดูกสันหลังในกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2543).

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและปูทูลกระหม่อม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำชี

แม่น้ำชี เป็นสาขาหนึ่งของแม่น้ำมูล เกิดจากที่ราบด้านตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ์นับตั้งแต่เขาสันปันน้ำ เขาแปปันน้ำ เขาเสลียงตาถาด เขาอุ้มน้ำ เขายอดชี เขาครอก จนถึงเขาเทวดา ซึ่งเป็นแนวภูเขาชายเขตแดนด้านตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดชัยภูมิ โดยมีสาขาหลัก 5 ลำน้ำซึ่งประกอบไปด้วย ลำน้ำพอง ลำน้ำปาว ลำน้ำเซิน ลำน้ำพรม และลำน้ำยัง แม่น้ำชีถือว่า เป็นแม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในประเทศไทย ไหลผ่านจังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ และไหลไปบรรจบกับแม่น้ำมูลที่บ้านวังยาง รอยต่อจังหวัดศรีสะเกษ กับ จังหวัดอุบลราชธานี มีความยาวทั้งสิ้น 765 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและแม่น้ำชี · ดูเพิ่มเติม »

แคนดี้ รากแก่น

แคนดี้ รากแก่น หรือ เป็นนักจัดรายการวิท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและแคนดี้ รากแก่น · ดูเพิ่มเติม »

โบราณคดี

การขุดค้นซากโบราณ โบราณคดี (Archaeology) คือ วิชาที่ว่าด้วย การศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ โดยผ่านทางการศึกษาหลักฐานทางโบราณคดี ที่ได้มาจากการสำรวจ การขุดค้น (โบราณวัตถุ) การขุดแต่ง (โบราณสถาน) และการศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ (ศิลาจารึก จดหมายเหตุ พงศาวดาร) โดยทั่วไป จะต้องใช้ศาสตร์ด้านอื่นๆ ประกอบในการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางโบราณคดีที่ได้จากกระบวนการข้างต้น เพื่อให้เรื่องราวในอดีตของมนุษย์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ศาสตร์เหล่านั้น เช่น ประวัติศาสตร์ศิลปะ ธรณีวิทยา สัตววิทยา พฤกษศาสตร์ เรณูวิทยา การกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ที่ประเทศไทย มีการเปิดสอนคณะโบราณคดี ที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ เป็นเพียงที่เดียวในประเทศไท.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและโบราณคดี · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน

มษายน เป็นเดือนที่ 4 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน (เขียนย่อ เม.ย. ภาษาปากเรียก เมษา หรือเดือนเมษา) ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนเมษายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมษ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีพฤษภ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนเมษายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวปลาและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวแกะ ชื่อในภาษาอังกฤษ "April" มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน แอปปรีริส ("aprilis") และ แอปเปรีเร ("aperire") หมายถึง "กางออก" ซึ่งอาจหมายถึงการเริ่มต้นของฤดูใบไม้ผลิ หรืออาจมาจาก Apru ชื่อเทพีแห่งความรักในภาษาของชาวอิทรูเรีย ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนเมษายนใน พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน ตามปฏิทินโรมันดั้งเดิม กำหนดให้เดือนเมษายนเป็นเดือนที่ 2 ของปี และมี 29 วัน จากนั้นจูเลียส ซีซาร์ได้ปฏิรูประบบปฏิทินใหม่ เมื่อ 45 ปีก่อนคริสตกาล กำหนดให้เดือนมกราคมเป็นเดือนแรก ทำให้เดือนเมษายนขยับไปเป็นเดือนที่ 4 ของปี และมี 30 วัน.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เสฐียรพงษ์ วรรณปก

.(พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก ศาสตราจารย์ (พิเศษ) เสฐียรพงษ์ วรรณปก เป็นอาจารย์หรือนักวิชาการทางด้านศาสนาพุทธและภาษาบาลี ราชบัณฑิตสาขาศาสนศาสตร์ และยังเป็นนักเขียนบทกวี ตำรา และบทความในนิตยสารหลายฉบับ เริ่มเขียนบทความให้นิตยสารต่วยตูน แล้วได้รับการชักนำให้เขียนลงคอลัมน์ประจำให้หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ก่อนจะย้ายไปเขียนประจำให้หนังสือพิมพ์ในเครือมติชนและข่าวสด มีชื่อเสียงโด่งดังจากการเขียนวิจารณ์พระสงฆ์ที่ปฏิบัตินอกรีต โดยเฉพาะกรณีอดีตพระยันตระ อมโร รวมทั้งยังนับได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกการตั้งชื่อเป็นมงคลนามแก่ตัวเจ้าของชื่อด้ว.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเสฐียรพงษ์ วรรณปก · ดูเพิ่มเติม »

เจษฎา พั่วนะคุณมี

ษฎา พั่วนะคุณมี เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นอยู่กับสโมสรฟุตบอลโอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเจษฎา พั่วนะคุณมี · ดูเพิ่มเติม »

เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา

ทพฤทธิ์ สิงห์วังชา เป็นนักมวยสากลอาชีพชาวไทย เป็นอดีตแชมเปี้ยนโลกในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก (WBA).

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทพฤทธิ์ สิงห์วังชา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบล

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล เทศบาลตำบลมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร เทศบาลตำบลโดยทั่วไปมีชื่อตามตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ แต่ก็มีหลายแห่ง (ส่วนใหญ่จะเป็นเทศบาลตำบลที่ได้รับการยกฐานะขึ้นมาจากสุขาภิบาล) ที่ไม่ได้ใช้ชื่อของตำบลหรืออำเภอที่ตั้งเทศบาลเป็นชื่อ เช่น เทศบาลตำบล กม.5 ที่ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ เทศบาลตำบลแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลอันเป็นที่ตั้งเทศบาลแห่งนั้นทั้งตำบล หรือครอบคลุมพื้นที่เพียงบางส่วนของตำบล ส่วนพื้นที่ตำบลเดียวกันซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาลนั้นจะอยู่ในความดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบล (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับล่างสำหรับพื้นที่ชนบท) หรือบางครั้งเขตเทศบาลยังอาจครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของตำบลอื่นที่อยู่ข้างเคียงก็ได้ หากท้องถิ่นที่เป็นเทศบาลตำบลเจริญเติบโตขึ้นจนมีประชากรถึง 10,000 คน และมีรายได้พอควร อาจได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดกลาง) ซึ่งจะมีอำนาจหน้าที่และความเป็นอิสระมากขึ้น และเขตเทศบาลก็อาจขยายออกไปตามชุมชนเมืองที่ขยายตัวโดยยุบองค์การบริหารส่วนตำบลข้างเคียงที่กลายสภาพจากชนบทเป็นเมืองเข้ามารวมด้วย แต่ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ของประชาชนที่อยู่ในท้องที่นั้น ๆ ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลตำบล · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลพยัคฆภูมิพิสัย

ทศบาลตำบลพยัคฆภูมิพิสัย เป็นเทศบาลตำบลในเขตอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลตำบลพยัคฆภูมิพิสัย · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลนาเชือก

ทศบาลตำบลนาเชือก เป็นเทศบาลตำบลในเขตอำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลตำบลนาเชือก · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลแวงน่าง

ทศบาลตำบลแวงน่าง เป็นเทศบาลตำบลแห่งหนึ่งในเขตอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด มีพื้นที่ 9.88 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลแวงน่าง โดยมีอาณาเขตติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลแวงน่างทุกทิศทาง และมีประชากรในปี..

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลตำบลแวงน่าง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลโคกพระ

ทศบาลตำบลโคกพระ เป็นเทศบาลตำบลในเขตอำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลตำบลโคกพระ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองมหาสารคาม

ทศบาลเมืองมหาสารคาม เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ได้รับยกฐานะมาจากเทศบาลตำบลมหาสารคาม มีเขตรับผิดชอบ ได้แก่ ตำบลตลาดทั้งตำบล.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเทศบาลเมืองมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12

อะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12 เริ่มรับสมัครผู้เข้าแข่งขันในเดือนธันวาคม 2558 มีการเปลี่ยนกรรมการเป็นยุทธนา บุญอ้อม เมทินี กิ่งโพยม และอ๊อฟ ปองศักดิ์ และยังเปลี่ยนวิธีการรับสมัครเป็นออดิชั่นที่กรุงเทพที่เดียวและทดแทนด้วยการเปิดรับสมัครทางออนไลน์ และทางรายการได้ขยายอายุผู้เข้าแข่งขันเป็น 15 - 30 ปี.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 12 · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเพ็ญ อำนวยพร

ือนเพ็ญ อำนวยพร นักร้องเพลงลูกทุ่งหญิงซุปเปอร์สตาร์ชาวไทย สังกัดค่าย อาร์ สยาม ในเครือ อาร์เอส เจ้าของฉายาหมอลำสาวดาวค้างฟ้าเสียงเด่น เป็นนักร้องลูกทุ่งที่มีชื่อเสียงโด่งดังในปัจจุบันจากผลงานเพลง สาวนาขาดรัก,พื้นเมืองอิสาน,คนหลังยังคอย,เธอคือฆาตกร,สาวนาหน้าแล้ง,ชาติหน้าค่อยพบกัน,น้ำตาสาวเย็บผ้า,ไม่ต้องหนักใจ,คานทองห้องแอร์,กับน้องแค่เหงา กับเขาตลอดเวลา,เมื่อไหร่จะพอ,รักแท้แพ้ลับหลัง,สู้เขาได้แค่ใจที่รักจริง,จะรักเธอจนสิ้นใจ ฯลฯ.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและเดือนเพ็ญ อำนวยพร · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จังหวัดมหาสารคามและ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มหาสารคามจ.มหาสารคาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »