โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร

จังหวัดชุมพร vs. หลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว. หลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร ท่านมีนามเดิมว่า สง เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2432 ณ บ้านหนองหลวง จังหวัดชุมพร บิดาของท่านคือ นายแดง มารดาชื่อ นางนุ้ย มีอาชีพทำเกษตรกรรม ต่อมาเมื่ออายุ 18 ปี ท่านได้เข้าบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดสวี วัดใกล้บ้าน บวชได้ไม่นานท่านก็ลาสิกขาบทออกมาช่วยบิดามารดาทำนาเกษตรกรรมต่อไป จนกระทั่งในปีพ.ศ. 2452 ขณะที่ท่านมีอายุครบ 20 ปี ท่านได้เข้าอุปสมบทเป็นพระภิกษุ และได้รับความเมตตาจาก หลวงพ่อชื่น เป็นพระอุปัชฌาย์ได้ให้ฉายาว่า จนฺทสโร ภายหลังการอุปสมบท ท่านก็ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องพระธรรมวินัย และได้รู้เกี่ยวกับเรื่องชีวิตเพศพรหมจรรย์ พอสำเร็จแล้ว ท่านก็ได้เริ่มศึกษาสนใจเรื่องการนั่งวิปัสนนากรรมฐาน หลวงพ่อท่านได้กราบลาพระอาจารย์เพื่อออกเดินทางธุดงค์ไปหาพระอาจารย์ที่เชี่ยวชาญทางด้านนี้ หลวงพ่อท่านก็ต้องพบเจอกับป่าไพร และในป่านี้ก็อันตรายมาก แต่ท่านก็มีความอดทน สุดท้ายท่านก็รอดพ้นอุปสรรคทั้งหมดได้ ต่อมาหลวงพ่อท่านได้พบเจอพระอาจารย์รอด วัดโต๊ะแซ หรือตอแซ ซึ่งเป็นพระอาจารย์ที่ทรงมีสมาบัติสูงรูปหนึ่ง ท่านได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์กับท่าน และอยู่ปฏิบัติพระกรรมฐาน และสามารถเดินธุดงค์กรรมฐานได้อีกด้วย ด้วยความเพียรพยายาม ท่านก็เดินธุดงค์ไปยังถ้ำ ป่าช้า จงมีประสบการณ์ หลวงปู่ท่านมีประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ให้กับลูกศิษย์ลูกหาสายวัดเขาอ้อ หลวงพ่อท่านได้เห็นวัฎสงสาร และเบื่อชีวิตการที่ต้องอยู่ในป่าแบบนี้ ท่านจึงได้ปฏิบัติธรรมกรรมฐาน บำเพ็ญเพียร เดินจงกรม หรือทำสมาธิเพื่อทำให้จิตใจสงบลง เวลาท่านเดินจงกรม ท่านก็กำหนดสติที่มีอยู่ในการกำหนดว่าเรากำลังทำอะไรอยู่ เมื่อรู้ซึ้งในพระธรรมะแล้ว หลวงพ่อท่านก็นำธรรมะนั้นมาสอนขัดเกลาจิตใจตนเอง และพยายามที่จะหาทางดับทุกข์กิเลสในใจของมนุษย์ ท่านได้เริมทรมานกิเลสในใจของท่านเป็นเวลา 7 ปี ทำให้จิตใจท่านสะอาดบริสุทธิ์ แต่สภาพร่างกายของท่าน ทั้งสบง จีวร ฯลฯ ล้วนขาด หรือตัวท่านเหมือนฤๅษีชีไพร ต่อมาชาวบ้านเดินทางตามเสียงนกมาเจอท่าน และนิมนต์ท่านให้มาอยู่ ณ วัดร้างแห่งหนึ่ง ต่อมาท่านได้ออกจาริกจากป่า มายังวัดร้าง มาจำพรรษาพร้อมกับสร้างบูรณะปฏิสังขรณ์วัด จนเจริญรุ่งเรือง และได้รับการขนานนามว่า วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย ในชีวิตของหลวงพ่อท่าน ก็ได้พบเจอเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งแสดงถึงความไม่แน่ไม่นอน และได้สอนให้คนทำแต่ความดี ละเว้นความชั่ว ท่านได้มาจำวัดเจ้าฟ้าศาลาลอยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2462 ท่านได้ปฏิบัติกิจของสงฆ์อย่างเคร่งครัด และเป็นพระผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และมักจะมีชาวบ้าน ญาติโยมมาขอพร หรือขอความช่วยเหลือจากท่าน ต่อมาสังขารก็ไม่เที่ยง ในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2526 ท่านได้มีสายน้ำเกลือติดอยู่ที่แขนท่าน และท่านก็นอนสลบไปพักหนึ่ง ต่อมาลูกศิษย์ได้เห็นท่านนิ่งไป จึงขึ้นมาดูอาการ ปรากฏว่า ท่านได้ถึงแก่มรณภาพแล้วด้วยอาการสงบ รวมสิริอายุได้ 94 ปี 74 พรรษา รวมระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสนานถึง 64 ปี มีกำหนดพิธีบำเพ็ญกุศลศพในระหว่างวันที่ 2 - 16 สิงหาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร

จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จังหวัดชุมพร

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

จังหวัดชุมพรและจังหวัดชุมพร · จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร

จังหวัดชุมพร มี 142 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.66% = 1 / (142 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จังหวัดชุมพรและหลวงพ่อสงฆ์ จนฺทสโร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »