โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและออกซ์ฟอร์ดของไลรา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและออกซ์ฟอร์ดของไลรา

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลี vs. ออกซ์ฟอร์ดของไลรา

ัมภีร์แห่งฝุ่นธุลี น่าจะเป็นหนังสือเล่มสุดท้ายที่อยู่ในเรื่องราวของวรรณกรรมชิ้นเอก ธุลีปริศนา งานเขียนของฟิลิป พูลแมน อันเป็นเรื่องราวของไลรา ลิ้นเงิน สองปีหลังจากเหตุการณ์ในเรื่องออกซ์ฟอร์ดของไลรา และดำเนินเรื่องราวผูกพันกับเล่มที่แล้ว ไลรามีอายุประมาณ 16 ปี เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ "ฝุ่นธุลี" และจะกล่าวถึงเรื่องราวที่ยังคงเป็นปริศนาสำหรับธุลีปริศนา ถึงแม้ว่ามันจะไม่ต่อเนื่องกับวรรณกรรมเยาวชนไตรภาค แต่ก็เป็นเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโลกแห่งเดิมและตัวละครตัวเดิมทั้งหมด พูลแมนได้เริ่มเขียนหนังสือเล่มนี้แล้ว โดยเขียนไว้ในเว็บไซต์ของเขา เมื่อเดือนเมษายน 2548 และในเดือนสิงหาคม 2550 งานเขียนของเขาก็ยังดำเนินอยู่ พูลแมนได้กล่าวถึงหนังสือเล่มนี้ว่า "เป็นหนังสือที่ใหญ่ ใหญ่มาก". ออกซ์ฟอร์ดของไลรา เป็นหนังสือเรื่องสั้นโดยฟิลิป พูลแมน โดยเขียนเพื่อเป็นวรรณกรรมภาคต่อจากวรรณกรรมไตรภาค ธุลีปริศนา เรื่องราวเกิดขึ้นเมื่อ ไลรา ลิ้นเงินมีอายุได้ 15 ปี สองปีหลังจากจบวรรณกรรมไตรภาคไปแล้ว หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ออกมาเพื่อให้เหล่าแฟนๆ ได้อ่านระหว่างที่พูลแมนกำลังเขียนหนังสือเรื่อง คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลี และยังดำเนินเนื้อเรื่องต่อจากวรรณกรรมไตรภาคอีกด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและออกซ์ฟอร์ดของไลรา

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและออกซ์ฟอร์ดของไลรา มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟิลิป พูลแมนธุลีปริศนาประเทศอังกฤษเรื่องสั้น

ฟิลิป พูลแมน

ฟิลิป พูลแมน (Philip Pullman) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ ผู้เขียนวรรณกรรมไตรภาคขายดีที่สุดธุลีปริศนา และวรรณกรรมแฟนตาซีอื่นอีกหลายเรื่อง.

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและฟิลิป พูลแมน · ฟิลิป พูลแมนและออกซ์ฟอร์ดของไลรา · ดูเพิ่มเติม »

ธุลีปริศนา

ลีปริศนา เป็นนิยายแฟนตาซีไตรภาค ประพันธ์โดย ฟิลิป พูลแมน ประกอบด้วยมหันตภัยขั้วโลกเหนือ (ค.ศ. 1995) มีดนิรมิต (ค.ศ. 1997) และสู่เส้นทางมรณะ (ค.ศ. 2000) โดยได้รับการแปลกว่า 40 ภาษา และจัดจำหน่ายหนังสือได้กว่า 15 ล้านเล่ม ผลงานทั้งสามได้รับรางวัลเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สู่เส้นทางมรณะ ซึ่งได้รับรางวัลหนังสือวิทเบรดประจำปี..

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและธุลีปริศนา · ธุลีปริศนาและออกซ์ฟอร์ดของไลรา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและประเทศอังกฤษ · ประเทศอังกฤษและออกซ์ฟอร์ดของไลรา · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องสั้น

รื่องสั้น คือ บันเทิงเรียงความร้อยแก้วรูปแบบหนึ่ง มีลักษณะคล้ายนวนิยาย แต่สั้นกว่า โดยมีเหตุการณ์ในเรื่องและตัวละครน้อย มักจบแบบพลิกความคาดหมายหรือจบแบบทิ้งให้คิด เป็นต้น การดำเนินเรื่องจะมุ่งเข้าสู่ประเด็นหลักอย่างรวดเร็ว ต้นกำเนิดของเรื่องสั้นมาจากประเพณีการเล่านิทาน ซึ่งมักจะปูโครงเรื่องอย่างคร่าวๆ แล้วเข้าสู่จุดสำคัญของเรื่องอย่างรวดเร็ว ลักษณะเด่นของเรื่องสั้นคือ มักมีเหตุการณ์หลักเพียงเหตุการณ์เดียว โครงเรื่องเป็นคู่ ฉากคู่ จำนวนตัวละครมีมากหรือน้อยก็ได้ และมีระยะเวลาตั้งแต่ต้นจนจบเรื่องไม่นานนัก สามารถให้อารมณ์ได้เช่นเดียวกับนวน.

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและเรื่องสั้น · ออกซ์ฟอร์ดของไลราและเรื่องสั้น · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและออกซ์ฟอร์ดของไลรา

คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลี มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ออกซ์ฟอร์ดของไลรา มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 25.00% = 4 / (6 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คัมภีร์แห่งฝุ่นธุลีและออกซ์ฟอร์ดของไลรา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »