โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คัมภีร์อธิกธรรมและผู้เผยพระวจนะใหญ่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คัมภีร์อธิกธรรมและผู้เผยพระวจนะใหญ่

คัมภีร์อธิกธรรม vs. ผู้เผยพระวจนะใหญ่

ัมภีร์อธิกธรรม หรือ คัมภีร์สารบบที่สอง (Deuterocanonical books) เป็นคำที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อหมายถึงหนังสือจำนวนหนึ่งที่สภาแจมเนียไม่ยอมรับเข้าในสารบบคัมภีร์ฮีบรู แต่คริสตจักรทั้งสองยังคงยอมรับให้รวมอยู่ในสารบบพันธสัญญาเดิม การเรียกว่า "สารบบที่สอง" เพื่อให้ต่างจากคัมภีร์สารบบที่หนึ่งที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับเหมือนกัน ด้วยเหตุนี้คัมภีร์สารบบที่สอง จึงถือเป็นคัมภีร์ในสารบบคัมภีร์ไบเบิลของนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ ต่างจากนิกายโปรเตสแตนต์ส่วนใหญ่ที่ไม่ยอมรับหนังสือชุดดังกล่าว และถือว่าเป็นคัมภีร์นอกสารบบ คริสตจักรโรมันคาทอลิก ถือว่าคัมภีร์พันธสัญญาเดิม สารบบที่สอง มี 9 เล่ม ได้แก. ผู้เผยพระวจนะใหญ่ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ประกาศกใหญ่ (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (major prophet) คือหมวดหนึ่งในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม คำว่า "ใหญ่" ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงความสำคัญของผู้เผยพระวจนะ แต่หมายถึงขนาดของหนังสือซึ่งมีความยาวมากกว่าหนังสือในหมวดผู้เผยพระวจนะน้อย (minor prophet) หนังสือในหมวดผู้เผยพระวจนะใหญ่ได้แก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คัมภีร์อธิกธรรมและผู้เผยพระวจนะใหญ่

คัมภีร์อธิกธรรมและผู้เผยพระวจนะใหญ่ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พันธสัญญาเดิมหนังสือดาเนียลคัมภีร์ฮีบรูคัมภีร์นอกสารบบ

พันธสัญญาเดิม

ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.

คัมภีร์อธิกธรรมและพันธสัญญาเดิม · ผู้เผยพระวจนะใหญ่และพันธสัญญาเดิม · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือดาเนียล

ระธรรมดาเนียล (Book of Daniel; דָּנִיֵּאל) เป็นหนังสือลำดับที่ 5 ในหนังสือผู้เผยพระวจนะ (Nevi'im) ของพระธรรมยูดาย (Tanakh) และเป็นหนังสือเล่มที่ 5 ในหมวดประกาศกใหญ่ ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม (Old Testament) ของศาสนาคริสต์ เขียนด้วยภาษาฮีบรูในช่วงที่ชาวยิวอยู่ภายใต้การยึดครองของอาณาจักรบาบิโลน เป็นระยะที่ชนชาติยิวได้ถูกเนรเทศ และถูกบังคับให้อพยพไปยังเมืองบาบิโลน พระธรรมนี้เป็นคำบรรยายของ ดาเนียล ชาวอิสราเอล โดยเฉพาะ ผู้เป็นโหร และที่ปรึกษาทางของ กษัตริย์เนบูคัดเนสซาร์ ผู้ปกครองยิ่งใหญ่ ของอาณาจักรบาบิโลน ประมาณ 605 ถึง 562 ก่อนคริสต์ศตวรรษ พระธรรมนี้แบ่งเป็นสองภาค เริ่มด้วยบทที่หนึ่งถึงบทที่หก บอกเรื่องราวประวัติความเป็นมาของท่าน และ บทที่ 7-12 บรรยายถึงเหตุการณ์ต่างๆ จากคำทำนาย ดาเนียลเขียนถึง ดาเนียลและเพื่อนที่ถูกปรักปรำลงโทษ เพราะไม่ละที้งความเชื่อในพระเจ้าของชนชาติอิสราเอล ต่อมา เป็นคำทำนายความฝัน และแปลความหมายของมโนภาพของกษัตริย์ เนบูคัดเนสซาร์ ในภาคที่สอง ของพระธรรม ดาเนียลกล่าวถึง ความหมาย คำพยากรณ์ และคำแปรความฝัน บรรยายนิมิต และสิ่งที่ทูตสวรรค์อธิบายความหมายให้ท่านโดยตรง ยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่ระหว่างชาวยิวและคริสตชน ถึงระยะเวลาที่แน่นอนและผู้เขียนที่แท้จริงของพระธรรมดาเนียล เชื่อกันแต่โบราณว่า ผู้พยากรณ์นามว่าดาเนียลผู้เขียน ซึ่งมีชีวิตก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 6 แต่ในหมู่นักศึกษาคริสตธรรมคัมภีร์ยุคใหม่เชื่อว่า พระธรรมเล่มนี้ ได้บันทึก ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 2 และบันทึกหลังจากเหตุการณ์ต่างๆ ได้ปรากฏและผ่านไปแล้ว และความเห็นแย้งที่สามคือ พระธรรมบทนี้ เขียนเสร็จบริบูรณ์ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 4.

คัมภีร์อธิกธรรมและหนังสือดาเนียล · ผู้เผยพระวจนะใหญ่และหนังสือดาเนียล · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์ฮีบรู

ต้นฉบับ “คัมภีร์ฮีบรู” พร้อมกับคำแปลภาษาแอราเมอิก คัมภีร์ฮีบรู (Hebrew Bible; Biblia Hebraica) หมายถึง คัมภีร์ทานัค (Tanakh; תנ"ך) ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ในศาสนายูดาห์ และเป็นที่มาของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ด้วย คัมภีร์นี้ส่วนใหญ่บันทึกเป็นภาษาฮีบรูไบเบิล บางส่วนเป็นภาษาแอราเมอิกไบเบิล (เช่น หนังสือดาเนียล หนังสือเอสรา เป็นต้น) ซึ่งคัมภีร์ฮีบรูนี้มีหนังสือทั้งสิ้น 24 เล่ม สารบบของคัมภีร์ฮีบรูที่ใช้ในปัจจุบันสอดคล้องกับคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของนิกายโปรเตสแตนต์ แต่ไม่ตรงกับของนิกายโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ซึ่งได้เพิ่ม "คัมภีร์อธิกธรรม" และ Anagignoskomena เข้ามา ความหมายของคัมภีร์ฮีบรูจึงไม่เกี่ยวกับชื่อ จำนวน และลำดับหนังสือ ต่างจากสารบบคัมภีร์ไบเบิลที่ศาสนาคริสต์จัดระบบขึ้นในยุคหลัง.

คัมภีร์อธิกธรรมและคัมภีร์ฮีบรู · คัมภีร์ฮีบรูและผู้เผยพระวจนะใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์นอกสารบบ

ัมภีร์นอกสารบบ (Apocrypha; ἀπόκρυφα สิ่งที่ซ่อนเร้น, ยากที่จะเข้าใจ, หลอกลวง, จากแหล่งข้อมูลที่ไม่อาจยืนยันได้) ในทางศาสนาคริสต์ หมายถึง หนังสือเกี่ยวกับประวัติชีวิตของพระเยซู แต่ไม่ได้บรรจุในสารบบคัมภีร์ไบเบิล และไม่ได้รับการยอมรับจากคริสตจักรส่วนใหญ่ คัมภีร์ดังกล่าวมักเขียนไม่สอดคล้องกับหลักความเชื่อของศาสนาคริสต์กระแสหลัก โดยทั่วไปแล้วจะเป็นคำที่ใช้กับวรรณกรรมทางศาสนาคริสต์ที่ถือว่ามีประโยชน์แต่อาจจะไม่มีคุณสมบัติที่เรียกว่าการดลใจจากพระเจ้า ฉะนั้นการที่จะกล่าวว่าพระวรสารชาวฮีบรูหรืองานเขียนเชิงอไญยนิยมเป็นงาน “คัมภีร์นอกสารบบ” จึงเป็นการไม่ถูกต้อง เพราะวรรณกรรมเหล่านี้จะไม่จัดอยู่ในกลุ่มคัมภีร์นอกสารบบโดยคริสตชนนิกายออร์ทอดอกซ์ งานวรรณกรรมที่ไม่ใช่พระวรสารคืองานวรรณกรรมที่ความเที่ยงแท้ของเนื้อหาเป็นที่น่ากังขาหรือการเขียนที่เป็นยังคงเป็นที่โต้เถียงกันอยู่ เมื่อพิจารณาถึงความเชื่อของลัทธิหรือแนวต่างๆ ในการระบุว่าวรรณกรรมฉบับใดเป็นของแท้แล้ว ก็จะสรุปได้ว่างานเขียนหลายฉบับก็จะถือว่าเป็น “คัมภีร์นอกสารบบ” นิกายโรมันคาทอลิกและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ใช้คัมภีร์พันธสัญญาเดิมตามสารบบเซปตัวจินต์ จึงยอมรับ "คัมภีร์อธิกธรรม" เป็นคัมภีร์สารบบที่สองในพันธสัญญาเดิมด้วย แต่นิกายโปรเตสแตนต์ใช้สารบบคัมภีร์ตามสภาแจมเนียซึ่งไม่ยอมรับคัมภีร์ชุดดังกล่าว จึงถือว่าคัมภีร์อธิกธรรมเป็นคัมภีร์นอกสาร.

คัมภีร์นอกสารบบและคัมภีร์อธิกธรรม · คัมภีร์นอกสารบบและผู้เผยพระวจนะใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คัมภีร์อธิกธรรมและผู้เผยพระวจนะใหญ่

คัมภีร์อธิกธรรม มี 10 ความสัมพันธ์ขณะที่ ผู้เผยพระวจนะใหญ่ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 21.05% = 4 / (10 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คัมภีร์อธิกธรรมและผู้เผยพระวจนะใหญ่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »