โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทย vs. คาราบาว

อนเสิร์ตทำโดยคนไทย เป็นการจัดคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งแรกของวงคาราบาว เมื่อวันเสาร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ณ.สนามเวโลโดรม ในสนามกีฬาหัวหมาก ซึ่งเป็นครั้งแรกของศิลปินไทยที่มีการจัดคอนเสิร์ตในสนามกีฬา และถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 อีกด้วย คอนเสิร์ตครั้งนี้มีผู้ชมประมาณ 60,000 คน. ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว มี 17 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2528พ.ศ. 2554พงษ์เทพ กระโดนชำนาญกีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครมหกรรมดนตรี 30 ปี คาราบาวยืนยง โอภากุลวอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์สุรสีห์ อิทธิกุลอำนาจ ลูกจันทร์ธนิสร์ ศรีกลิ่นดีคอนเสิร์ต เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนาคาราบาวปรีชา ชนะภัยเกริกกำพล ประถมปัทมะเมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)เทียรี่ เมฆวัฒนา9 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและพ.ศ. 2528 · คาราบาวและพ.ศ. 2528 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและพ.ศ. 2554 · คาราบาวและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ

งษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักร้อง, นักดนตรีและกวีในแนวเพื่อชีวิต เจ้าของฉายา กวีศรีชาวไร่ เป็นสมาชิกคนหนึ่งของวงดนตรีเพื่อชีวิตคาราวาน ยุคเริ่มต้น รวมทั้งได้หนีเข้าป่าไปพร้อมกับคาราวาน และนักศึกษาในยุค 6 ตุลา พ.ศ. 2519.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ · คาราบาวและพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ · ดูเพิ่มเติม »

กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร

กิรติ พรหมสาขา ณ สกลนคร หรือที่รู้จักกันในชื่อ เขียว คาราบาว เป็นนักร้องและมือกีตาร์ อดีตสมาชิกวงคาราบาว และเคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2495 ที่กรุงเทพมหานคร มีผลงานเพลงที่โด่งดังคือเพลง สัญญาหน้าฝน และ เพลง ไม.

กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครและคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย · กีรติ พรหมสาขา ณ สกลนครและคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมดนตรี 30 ปี คาราบาว

มหกรรมดนตรี 30 ปี คาราบาว เป็นมหกรรมคอนเสิร์ตเพื่อฉลองครบรอบ 30 ปีของวงคาราบาว โดยทางวงร่วมกับ วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ และ เฟรชแอร์ เฟสติวัล โดยนายวินิจ เลิศรัตนชัย ร่วมกันจัด โดยมีการแถลงข่าวครั้งแรก เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ณ โรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ และครั้งที่ 2 ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ณ ห้องฉัตรา บอลรูม ชั้น 2 โรงแรมสยาม เคมปินสกี้ กรุงเทพฯ (ด้านหลังสยามพารากอน) ซึ่งในครั้งนี้ แอ๊ด - ยืนยง โอภากุล ได้ประพันธ์เพลงใหม่ขึ้น 2 เพลงในโอกาสนี้คือ กำลังใจคาราบาว 30 ปี และ ผู้ปิดทองหลังพระ ซึ่งเป็นเพลงที่เอ่ยพระนามเต็มของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเทิดพระเกียรติในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 7 รอบในปีเดียวกันนี้ โดยตลอดทั้งปี พ.ศ. 2554 ซึ่งเป็นปีที่คาราบาวตั้งวงมาครบรอบ 30 ปีนั้น ทางวงจะไม่เล่นดนตรีในสถานบันเทิงทั่วไป แต่จะจัดมหกรรมคอนเสิร์ตดนตรีครั้งใหญ่ตลอดทั้งปี โดยสมาชิกคาราบาวยุคคลาสสิกไลน์อัพได้ร่วมทัวร์คอนเสิร์ตครั้งนี้ด้วย ขาดเพียงเป้า - อำนาจ ลูกจันทร์ ที่มีปัญหาเรื่อง.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและมหกรรมดนตรี 30 ปี คาราบาว · คาราบาวและมหกรรมดนตรี 30 ปี คาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและยืนยง โอภากุล · คาราบาวและยืนยง โอภากุล · ดูเพิ่มเติม »

วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์

วอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ (Warner Music Thailand) เป็นค่ายเพลงย่อยของ วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป ซึ่งเป็น 1 ใน 4 ค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ หรือ บิ๊กโฟร์ (Big Four) โดยต้นกำเนิดมาจากการที่ วอร์เนอร์มิวสิกกรุ๊ป เข้ามาเทคโอเวอร์กิจการของ ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ของ วาสนา ศิลปิกุล แห่ง แว่วหวาน, เศก ศักดิ์สิทธิ์ และ ชนินทร์ โปสาภิวัฒน์ และ มูเซอร์ เรคคอร์ดส ของ ประภาส ชลศรานนท์ และศิลปินวงเฉลียงอย่างเกี๊ยง - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ และนก - ฉัตรชัย ดุริยประณีต ในต้นปี พ.ศ. 2537 ทำให้มีศิลปินบางส่วนยังคงทำเพลงกับค่ายวอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ต่อไป โดยเฉพาะวงคาราบาว และ ซูซู อีกทั้งยังได้นำอัลบั้มทั้งหมดของ ดี-เดย์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ และ มูเซอร์ เรคคอร์ดส มาจำหน่ายใหม่อีกด้ว.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและวอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ · คาราบาวและวอร์นเนอร์ มิวสิก ไทยแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรสีห์ อิทธิกุล

รสีห์ อิทธิกุล (ชื่อเล่น อ๋อง; เกิด 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นหนึ่งในนักร้อง นักดนตรีชาวไทย ผู้พลิกยุคสมัยแห่งดนตรีของประเทศไทย มาสู่ดนตรีในแนวสากล มีผลงานทางดนตรีอัลบั้มเพลงส่วนตัวมาแล้ว 4 ชุด และเพลงประกอบภาพยนตร์ ละคร หรือ โฆษณาอีกมากม.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและสุรสีห์ อิทธิกุล · คาราบาวและสุรสีห์ อิทธิกุล · ดูเพิ่มเติม »

อำนาจ ลูกจันทร์

หน้าปกอัลบั้ม ขอเดี่ยวด้วยคนนะ จ่าเอก อำนาจ ลูกจันทร์ หรือ เป้า คาราบาว (20 มีนาคม พ.ศ. 2492 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) เป็นอดีตมือกลองของวงคาราบาว โดยเป็นมือกลองคนแรกของวง และมีผลงานสำคัญร่วมกับวงคาราบาวหลายอัลบั้มเช่น ท.ทหารอดทน, เมดอินไทยแลนด์, อเมริโกย, ประชาธิปไตย, เวลคัมทูไทยแลนด์, ทับหลัง รวมถึงเคยเป็นหนึ่งในนักแสดงนำในภาพยนตร์เรื่องเสียงเพลงแห่งเสรีภาพในปี พ.ศ. 2528 เป้า คาราบาว จัดเป็นมือกลองของคาราบาวที่อยู่ในช่วงที่ทางวงประสบความสำเร็จสูงสุด โดยหลังจากที่แยกออกจากวงคาราบาว เป้าได้ออกผลงานเพลงร่วมกับเทียรี่ เมฆวัฒนาและธนิสร์ ศรีกลิ่นดี ในอัลบั้มขอเดี่ยวด้วยคนนะ ในปี พ.ศ. 2532 ซึ่งประสบความสำเร็จทางยอดขายอย่างมาก จากนั้นได้หันไปสอนดนตรีและทำธุรกิจส่วนตัว ก่อนจะกลับมาทัวร์คอนเสิร์ตและออกอัลบั้มร่วมกับคาราบาวอีกครั้งในปี พ.ศ. 2539 ในอัลบั้มหากหัวใจยังรักควาย รวมถึงเป็นแขกรับเชิญในคอนเสิร์ตใหญ่ของวงหลายครั้ง โดยเป้า คาราบาว ถึงจะเป็นคนที่มีรูปร่างเล็ก มีส่วนสูงต่ำกว่า 160 เซนติเมตร แต่สามารถตีกลองได้อย่างหนักหน่วงในเพลงร็อก และสามารถตีกลองได้หลายรูปแบบทั้งแนวป๊อป, ฟิวชั่นแจ๊ส รวมถึงเพลงลูกทุ่ง นอกจากนี้ยังเคยบันทึกเสียงกลองให้กับศิลปินต่างๆเป็นจำนวนมากนอกเหนือจากวงคาราบาว ในช่วงบั้นปลายชีวิต เป้า คาราบาว ประสบปัญหาทางการเงินและมีปัญหาสุขภาพ โดยถูกธนาคารกรุงเทพฟ้องคดีแพ่ง ก่อนจะถูกยึดบ้านและที่ดินเพื่อนำมาชำระหนี้ ในปี พ.ศ. 2544 ต่อมาเป้า คาราบาว เริ่มมีอาการล้มป่วยเกี่ยวกับระบบหัวใจและต้องผ่าตัดหมอนรองกระดูก ทำให้ไม่สามารถเดินได้อย่างปกติและไม่สามารถตีกลองอย่างหนักได้ ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2552 เป้า คาราบาว ได้ถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย เนื่องจากปัญหาหนี้สิน จากนั้นเป้า คาราบาว ได้ต่อสู้กับอาการของโรคหัวใจและหมอนรองกระดูกเรื่อยมา และเสียชีวิตที่โรงพยาบาลกลางเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 จากอาการเส้นเลือดในสมองแตก.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและอำนาจ ลูกจันทร์ · คาราบาวและอำนาจ ลูกจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี

หน้าปกซีดีอัลบั้ม ลมไผ่ เป้า, เทียรี่ ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี เป็นอดีตสมาชิกวงคาราบาว ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบันจัดรายการวิทยุประจำที่คลื่นความคิด F.M.96.5 ของอสมท และเป็นวิทยากรประจำรายการคุณพระช่วย ของเวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและธนิสร์ ศรีกลิ่นดี · คาราบาวและธนิสร์ ศรีกลิ่นดี · ดูเพิ่มเติม »

คอนเสิร์ต เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา

อนเสิร์ต เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา เป็นคอนเสิร์ตใหญ่ของวงคาราบาว จัดขึ้นเพื่อปิดการโปรโมทอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนา ซึ่งเป็นอัลบั้มพิเศษที่นำอัลบั้ม เมด อิน ไทยแลนด์ มาสังคายนาใหม่ในยุคที่มีความทันสมัยในด้านเครื่องดนตรี โดยคอนเสิร์ตครั้งนี้เปรียบเสมือนการแก้ตัวจากคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย ที่เล่นไม่จบในอดีต เพราะโปสเตอร์และบัตรคอนเสิร์ตเป็นรูปการแสดงคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย ภายในคอนเสิร์ตมีแขกรับเชิญเพียง 1 คนท่านั้น คือ อ.เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี..

คอนเสิร์ต เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนาและคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย · คอนเสิร์ต เมด อิน ไทยแลนด์ ภาค 2546 สังคายนาและคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

คาราบาว

ราบาว (Carabao) เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตและยังเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดังและยังเป็นวงที่อมตะตลอดกาลของประเทศไทย โดยมี ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด) เป็นหัวหน้าวง.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว · คาราบาวและคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

ปรีชา ชนะภัย

ปรีชา ชนะภัย หรือที่รู้จักกันในชื่อ เล็ก คาราบาว เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี และมือกีตาร์วงคาราบาว และเป็นนักกีตาร์ฝีมือดีคนหนึ่งของเมืองไทย มีความสามารถในการเล่นกีตาร์โดยไม่ใช้ปิ๊ก มีฝีมือการโซโล่กีตาร์อันดับต้น ๆ ของประเทศ รวมทั้งเล่นเครื่องดนตรีได้หลากหลาย เช่น แบนโจ, คีย์บอร์ด, เปียโน, กลอง, ซอ เป็นต้น บทเพลงที่แสดงถึงความสามารถทางดนตรีของเล็กที่เห็นเด่นชัดคือเพลง ขุนเขายะเยือก ซึ่งเป็นเพลงบรรเลงที่มีการโซโล่กีตาร์ยาวนานถึง 5 นาที ในอัลบั้ม หากหัวใจยังรักควาย ในปี พ.ศ. 2538 ที่สมาชิกวงในยุคคลาสสิกไลน์อัพกลับมารวมตัวกันอีกครั้ง หลังจากที่แยกย้ายกันไปทำอัลบั้มเดี่ยวของแต่ละคน.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและปรีชา ชนะภัย · คาราบาวและปรีชา ชนะภัย · ดูเพิ่มเติม »

เกริกกำพล ประถมปัทมะ

หน้าปกอัลบั้ม วิชาแพะ (จากซ้าย) อ๊อด, แอ๊ด, เล็ก เกริกกำพล ประถมปัทมะ หรือที่รู้จักในชื่อ อ๊อด คาราบาว (ชื่อเดิม: อนุพงษ์ ประถมปัทมะ) เป็นอดีตสมาชิกวงเพรสซิเดนท์ และได้เป็นสมาชิกของวงคาราบาวในตำแหน่งมือเบสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยอ๊อด คาราบาวโด่งดังจากการร้องเพลงกระถางดอกไม้ให้คุณ ในอัลบั้มเวลคัม ทู ไทยแลนด์เมื่อปี..

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · คาราบาวและเกริกกำพล ประถมปัทมะ · ดูเพิ่มเติม »

เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)

มด อิน ไทยแลนด์ (Made in Thailand) คือสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 5 ของ คาราบาว วางจำหน่ายเมื่อเดือน ธันวาคม..

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและเมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม) · คาราบาวและเมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เทียรี่ เมฆวัฒนา

ทียรี่ เมฆวัฒนา นักร้องและนักดนตรีชาวไทย สมาชิกวงคาราบาว มีชื่อจริงว่า เทียรี่ สุทธิยงค์ เมฆวัฒนา เกิดเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2501 ที่ประเทศลาว โดยมีพ่อเป็นชาวไทยเชื้อสายจีนชื่อ เอนก เมฆวัฒนา แม่เป็นชาวสวิตเซอร์แลนด์ จากผู้จัดการออนไลน.

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและเทียรี่ เมฆวัฒนา · คาราบาวและเทียรี่ เมฆวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

9 กุมภาพันธ์และคอนเสิร์ตทำโดยคนไทย · 9 กุมภาพันธ์และคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว

คอนเสิร์ตทำโดยคนไทย มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ คาราบาว มี 169 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 17, ดัชนี Jaccard คือ 8.76% = 17 / (25 + 169)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คอนเสิร์ตทำโดยคนไทยและคาราบาว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »