โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และลลิตา ปัญโญภาส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และลลิตา ปัญโญภาส

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11 vs. ลลิตา ปัญโญภาส

มชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11 เป็นการแจกรางวัลของหนังสือพิมพ์คมชัดลึก โดยพิจารณาจากผลงานด้านวงการบันเทิงของไทยสาขาต่าง ๆ ในปี.. ลลิตา ปัญโญภาส หรือ ลลิตา ศศิประภา (ชื่อเกิด: ลลิตา โชติรส; ชื่อเล่น: หมิว; เกิด: 5 ตุลาคม พ.ศ. 2514) เป็นบุตรสาวของจารุวรรณ ปัญโญภาส และโกวิท โชติร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และลลิตา ปัญโญภาส

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และลลิตา ปัญโญภาส มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาคริต แย้มนามรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์ศรัณยู วงษ์กระจ่างประโยคสัญญารักแค้นเสน่หา

ชาคริต แย้มนาม

ริต แย้มนาม (เกิด 25 มิถุนายน พ.ศ. 2521) ชื่อเล่น คริต เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อจากซิดคอมเรื่อง เป็นต่อ ชาคริต แย้มนาม เคยร่วมเล่นให้กับทีมยุวชนสมาคมธำรงไทยสโมสร ในชุดรองแชมป์โลก 11 ปี ฟุตบอล GOTOOEA CUP ที่สวีเดน (มีเพื่อนร่วมสโมสร เช่น เรย์ แมคโดนัลด์ อนุรักษ์ ศรีเกิด).

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และชาคริต แย้มนาม · ชาคริต แย้มนามและลลิตา ปัญโญภาส · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์

ไม่มีคำอธิบาย.

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์ · รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทภาพยนตร์และลลิตา ปัญโญภาส · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์

รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์ เป็นรางวัลประเภทละครโทรทัศน์ที่มอบให้กับนักแสดงหญิงที่สามารถแสดงบทบาทที่ได้รับอย่างยอดเยี่ยม ไม่ว่าจะเป็นการแสดงผ่านสีหน้าท่าทางหรือการแสดงผ่านอารมณ์ ความรู้สึกของตัวละคร ซึ่งนักแสดงสามารถตีบทและถ่ายทอดออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยนักแสดงหญิงที่ได้เข้าชิงสาขานี้จะต้องเป็นนักแสดงหญิงที่รับบทนำในละครเรื่องนั้นๆ รางวัลนี้ตัดสินโดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณว.

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และรางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์ · รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมประเภทละครโทรทัศน์และลลิตา ปัญโญภาส · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ลลิตา ปัญโญภาสและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ประโยคสัญญารัก

ประโยคสัญญารัก ภาพยนตร์ไทย เข้าฉายเมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม 2556 ผลิตโดย บริษัท เลิฟติจูด โปรดักชั่น จำกัด เขียนบทและกำกับภาพยนตร์โดย พลัฏฐ์พล มิ่งพรพิชิต ควบคุมการผลิตโดย บัณฑิต ทองดี ดำเนินการผลิตโดย ศิรภัสสร อินนันชัย, พรรณนเรศ รุจิระนันท์, ชุติมณฑน์ สนิทขำ, สุทธิ สุทธิเดชานัย ประโยคสัญญารัก.

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และประโยคสัญญารัก · ประโยคสัญญารักและลลิตา ปัญโญภาส · ดูเพิ่มเติม »

แค้นเสน่หา

แค้นเสน่หา เป็นบทประพันธ์ของ วราภา บทโทรทัศน์โดย ศัลยา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี 2556 นำแสดงโดย จินตหรา สุขพัฒน์, ลลิตา ปัญโญภาส, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, ธัญญา โสภณ, พิศมัย วิไลศักดิ์, ยุกต์ ส่งไพศาล, ธัญชนก กู๊ด, ฐากูร การทิพย์, มทิรา ตันติประสุต กำกับการแสดงโดย สำรวย รักชาต.

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และแค้นเสน่หา · ลลิตา ปัญโญภาสและแค้นเสน่หา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และลลิตา ปัญโญภาส

คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11 มี 95 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลลิตา ปัญโญภาส มี 81 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 3.41% = 6 / (95 + 81)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 11และลลิตา ปัญโญภาส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »