โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย vs. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั. ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชีวเคมีพ.ศ. 2460พ.ศ. 2486พ.ศ. 2512พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครมหาวิทยาลัยมหิดลมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกจุลชีววิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย21 กุมภาพันธ์26 มีนาคม

ชีวเคมี

ชีวเคมี (biochemistry) หรือเรียกว่า เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เป็นวิชาที่ศึกษากระบวนการเคมีในสิ่งมีชีวิต ตลอดจนการควบคุมในระดับต่าง ๆ อย่างเช่นที่เกี่ยวกับการแปรรูปสารอาหารไปเป็นพลังงาน, การสร้างและเปลี่ยนแปลงสารชีวโมเลกุลภายในเซลล์ที่เรียกว่า กระบวนการ เมแทบอลิซึม การทำงานของเอนไซม์และโคเอนไซม์, ระบบของพลังงานในสิ่งมีชีวิต, การสลายและการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุลต่าง ๆ ชื่อนี้มาจากภาษาเยอรมันว่า บิโอเคมี (Biochemie) ซึ่งแรกตั้งโดย ฮอปเปอ-ซีเลอร์ (Hoppe-Sieler) ในปี พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) โดยเขาให้คำจำกัดความไว้เป็นอย่างดีว่า เป็นเนื้อหาวิชาซึ่งครอบคลุมการเข้าศึกษาชีววิทยาในเชิงโมเลกุลทุกๆ ด้าน หมวดหมู่:เทคโนโลยีชีวภาพ หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ชีวเคมี.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและชีวเคมี · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและชีวเคมี · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2460 · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2486 · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2512 · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและพ.ศ. 2512 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · กรุงเทพมหานครและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหิดล · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์

มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) เป็นองค์กรวิจัยเกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งโดย จอห์น ดี ร็อกกี้เฟลเลอร์ ในปี พ.ศ. 2456 มีการให้การสนับสนุนการวิจัยในด้านการแพทย์ทั่วโลกRockfound.org, มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์เป็นมูลนิธิที่มุ่งเน้นเรื่องแหล่งพลังงานทั้งห้า ได้แก่ 1.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและมูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

จุลชีววิทยา

นอาหารวุ้นซึ่งมีเชื้อจุลินทรีย์เห็นเป็นริ้วลายเส้น จุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส เชื้อรา และ สาหร.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุลชีววิทยา · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและจุลชีววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

21 กุมภาพันธ์และคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · 21 กุมภาพันธ์และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

26 มีนาคม

วันที่ 26 มีนาคม เป็นวันที่ 85 ของปี (วันที่ 86 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 280 วันในปีนั้น.

26 มีนาคมและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · 26 มีนาคมและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 53 ความสัมพันธ์ขณะที่ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล มี 99 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 9.21% = 14 / (53 + 99)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »