โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

ดัชนี คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9

นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 หลวงพรหมโยธี คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 ของไทย (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2485) นายพันเอก หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ประกอบด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) และนายพลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่น อินทรโยธิน) ลงนามในประกาศ พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

80 ความสัมพันธ์: ช่วง เชวงศักดิ์สงครามพ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภากระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)กระทรวงกลาโหมกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)มังกร พรหมโยธีมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์รัฐมนตรีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยวิลาศ โอสถานนท์วนิช ปานะนนท์สภาผู้แทนราษฎรสงวน จูฑะเตมีย์หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)อดุล อดุลเดชจรัสผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ทวี บุณยเกตุดิเรก ชัยนามควง อภัยวงศ์คณะรัฐมนตรีตั้ว ลพานุกรมประยูร ภมรมนตรีประเทศญี่ปุ่นปรีดี พนมยงค์...นายกรัฐมนตรีแปลก พิบูลสงครามเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)1 กุมภาพันธ์13 มกราคม13 เมษายน14 กรกฎาคม15 ธันวาคม16 กุมภาพันธ์16 ธันวาคม17 ธันวาคม19 สิงหาคม20 มีนาคม20 สิงหาคม21 มีนาคม21 ธันวาคม22 สิงหาคม26 กันยายน26 กุมภาพันธ์26 ธันวาคม27 สิงหาคม31 ตุลาคม4 สิงหาคม5 มกราคม6 กันยายน6 มีนาคม7 มีนาคม ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม

ันเอก ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม หรือ หลวงเชวงศักดิ์สงคราม (10 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2505) นามเดิม ช่วง ขวัญเชิด อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และช่วง เชวงศักดิ์สงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์

ตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 5 กันยายน พ.ศ. 2519) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตประธานสมัชชาองค์การสหประชาชาติ และอดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน รวมถึงเป็นผู้ร่วมสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และทรงเสนอให้คณะรัฐมนตรีจัดตั้งโรงเรียนการเมืองชั้นสูง(เป็นจุดเริ่มต้นแนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง) พระปรีชาสามารถในด้านการทูตและการต่างประเทศเป็นที่ยอมรับในระดับโลก และทรงมีชื่อเสียงการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย ทั้งยังทรงเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ในการบัญญัติศัพท์ภาษาต่างประเทศด้วยคำบาลีและสันสกฤต สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 กันยายน..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ประสูติแต่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)

กระทรวงพาณิชย์ (Ministry of Commerce) เป็นกระทรวงหนึ่งของประเทศไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการค้า ธุรกิจบริการ ทรัพย์สินทางปัญญา และราชการอื่นๆ ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์ตั้งอยู่ที่ 44/100 ถนนสนามบินน้ำ ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงกลาโหม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงกลาโหม · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย)

กระทรวงการต่างประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการต่างประเทศและราชการอื่น ตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงการต่างประเทศ หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงการต่างประเทศ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้งในท้องถิ่นและสถาบันเปิด เน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้บริการแก่สังคม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษให้ได้เรียนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)

กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง มีหน้าที่ยกระดับการให้บริการประชาชน ของระบบโครงสร้างพื้นฐาน และบริการคมนาคมขนส่ง ให้มีความคุ้มค่าและทั่วถึง ทำให้ระบบคมนาคมขนส่ง มีความปลอดภัย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย และส่งเสริมคุณภาพชีวิต ผสานและเชื่อมโยง โครงข่ายระบบขนส่งมวลชน ระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งคนและสินค้า และขยายโอกาสการเดินทางสัญจร อย่างเสมอภาคโดยทั่วถึงกัน.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย)

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาภาสกรวงศ์เป็นเสนาบดีคนแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรม ๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็นกระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นที่ทำการชั่วคราว ในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอำนาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มังกร พรหมโยธี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก มังกร พรหมโยธี หรือ หลวงพรหมโยธี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439 - 24 มีนาคม พ.ศ. 2509) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และอดีตรัฐมนตรี.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และมังกร พรหมโยธี · ดูเพิ่มเติม »

มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์

ลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ (นามเดิม: มุนี มหาสันทนะ; 29 มีนาคม พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2528) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศคนแรกของกองทัพอากาศไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงอุตสาหกรรม และอดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ มีนามเดิมว่า มุนี มหาสันทนะ ศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย สมัยสายสวลี จบการศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เมื่อ..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และมุนี มหาสันทนะ เวชยันตรังสฤษฏ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิลาศ โอสถานนท์

ันตรี วิลาศ โอสถานนท์ หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 อดีตประธานพฤฒสภาและประธานรั.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และวิลาศ โอสถานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

วนิช ปานะนนท์

นายวนิช ปานะนนท์ (แถวที่ 2 ด้านขวา) และคณะรัฐมนตรีจากประเทศไทย ขณะเยือนประเทศญี่ปุ่น และเข้าพบ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้า คนกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา วนิช ปานะนนท์ อดีตนักการเมือง, นักธุรกิจชาวไทย และหนึ่งในคณะราษฎร นายวนิช เป็นบุตรของนายปานและนางแจ่ม ปานะนนท์ โดยที่บิดาเป็นพ่อค้าขายข้าวเปลือก เกิดที่บ้านพานทอง หมู่ที่ 4 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2446 เมื่อนายวนิชอายุได้ 7 ขวบ บิดาและมารดาได้ให้เริ่มเรียนหนังสือไทยที่บ้านโดยสอนเองบ้าง ให้พี่ๆสอนบ้าง พออ่านเขียนได้ก็ให้เข้าเรียนชั้นประถมที่โรงเรียนวัดพานทอง การเรียนของนายวนิชเป็นไปโดยเรียบร้อยจนจบหลักสูตรชั้นประถม ต่อมาได้เข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมวัดเขาบางทรายจนถึงชั้นมัธยม 2 เมื่อปี 2460 แล้วมาศึกษาต่อที่โรงเรียนมัธยมวัดปทุมคงคา เมื่อสอบไล่ได้มัธยมศึกษาปีที่ 5 ในปล..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และวนิช ปานะนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎร

ผู้แทนราษฎร เป็นหน่วยหนึ่งในกระบวนการนิติบัญญัติ โดยทั่วไปมักเป็นสภาล่างในระบบสภาคู.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และสภาผู้แทนราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

สงวน จูฑะเตมีย์

thumb นายสงวน จูฑะเตมีย์ หรือ เสวกตรี หลวงนฤเบศร์มานิต เกิดปี..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และสงวน จูฑะเตมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์

หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2441 - 8 กันยายน พ.ศ. 2518) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตประธานองคมนตรี อดีตข้าราชการ อธิบดีกรมที่ดิน/กรมทรัพยากรธรณี และรัฐมนตรีกระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเศรษฐการ ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การกสิกรรม และกิจการสหกรณ์ของไทย ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงเดชสหกรณ์ ในเวลาต่อมาเมื่อรัฐบาลจะยกเลิกบรรดาศักดิ์ไทย หลวงเดชสหกรณ์ในฐานะรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีชุดที่ 9 จึงลาออกจากบรรดาศักดิ์ โดยกลับไปใช้ชื่อเดิม เมื่อ..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)

ลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ)

ลตรี หลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ, ชื่อเดิม กิมเหลียง วัฒนปฤดา 金良 แต่มิได้มีเชื้อจีนแต่ประการใด) เป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักคิด นักพูด นักเขียนคนสำคัญของไทย บุตรนายอิน และนางคล้าย เกิดเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2441 ที่จังหวัดอุทัยธานี บิดามารดามีอาชีพค้าขาย อายุ 8 ขวบเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดขวิด ตำบลสะแกกรัง เมื่อจบประถมศึกษา บิดาได้นำไปฝากให้บวชสามเณรอยู่กับพระมหาชุ้ย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เมื่อท่านอายุ 13 ปี ในปี พ.ศ. 2453 ท่านได้ศึกษานักธรรมและบาลีจนจบนักธรรมเอกและเปรียญ 5 ประโยค โดยสอบได้เปรียญ 5 ประโยคเมื่ออายุ 19 ปีใน..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และหลวงวิจิตรวาทการ (วิจิตร วิจิตรวาทการ) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)

ลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย มีชื่อจริงว่า สินธุ์ กมลนาวิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คนแรก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนแรก ภายหลังเปลี่ยนชื่อจากกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ, อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ, แม่ทัพเรือ หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร และเป็นหัวหน้าคณะราษฎรสายทหารเรือ.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และหลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · ดูเพิ่มเติม »

อดุล อดุลเดชจรัส

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส หรือ หลวงอดุลเดชจรัส (28 มิถุนายน พ.ศ. 2437 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2512) นามเดิม บัตร พึ่งพระคุณ อดีตองคมนตรี รองนายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมตำรวจ ผู้บัญชาการทหารบก มีสมญานามว่า "นายพลตาดุ" เป็นหนึ่งในคณะราษฎร ผู้มีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยขณะนั้นหลวงอดุลเดชจรัส มียศเป็น ร้อยโท (ร.ท.) ประจำกรมทหารปืนใหญ่ นครราชสีมา และได้หนีราชการมาพระนครด้วยรถไฟเพื่อร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนถูกหมายจับจากทางต้นสังกัด ซึ่งตัวของหลวงอดุลเดชจรัสก็ได้อาศัยบ้านของพรรคพวกหลบซ่อนสลับกันไป โดยเฉพาะบ้านของหลวงพิบูลสงคราม ซึ่งเป็นเพื่อนสนิท หรือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเวลาต่อมา เป็นรองนายกรัฐมนตรีและผู้สั่งราชการแทนนายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นรองหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศไทย ในช่วงปลายสงคราม หลังจากมีการผลัดเปลี่ยนรัฐบาล ซึ่งมีส่วนอย่างมากที่ทำให้การดำเนินงานเสรีไทยเป็นไปโดยราบรื่น ทั้งที่เป็นอธิบดีกรมตำรวจภายใต้รัฐบาลที่เป็นพันธมิตรกับกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในอภิรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และองคมนตรี หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองแล้ว หลวงอดุลเดชจรัส ยังได้ร่วมกับนักการเมืองกลุ่มหนึ่ง ก่อตั้งพรรคสหชีพขึ้น โดยมีแนวทางสนับสนุนนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และหัวหน้าขบวนการเสรีไทย โดยหลวงอดุลเดชจรัส เป็นหัวหน้าพรรค และ นายเดือน บุนนาค เป็นเลขาธิการพรร.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และอดุล อดุลเดชจรัส · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน (regent) เป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะ หรือทรงพระประชวร หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศ หรือทรงบริหารพระราชกิจไม่ได้ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ยังมีขึ้นได้ในกรณีที่ระบอบพระมหากษัตริย์ยังมิได้มีพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม เช่น เมื่อประเทศฟินแลนด์ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียแล้วมีการสถาปนาราชอาณาจักรฟินแลนด์ขึ้น แต่ยังไม่มีเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศพระองค์ใดเหมาะสม จึงให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าที่ไปพลางก่อน จนรัฐสภาฟินแลนด์เลือกเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ แห่งแคว้นเฮสส์จากจักรวรรดิเยอรมันขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฟินแลนด์ ตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จึงสิ้นสุดลง.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์

ลเอก จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ (27 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2526) อดีตอธิบดีกรมรถไฟ และผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และจรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวี บุณยเกตุ

นายทวี บุณยเกตุ (10 พฤศจิกายน 2447 - 3 พฤศจิกายน 2514) นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 (รัฐบาลที่ 12) หนึ่งในคณะราษฎรสายพลเรือน และขบวนการเสรีไทยและเป็นผู้แต่งหนังสือเรื่อง พ่อสอนลูก.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และทวี บุณยเกตุ · ดูเพิ่มเติม »

ดิเรก ชัยนาม

นายดิเรก ชัยนาม ศาสตราจารย์ ดิเรก ชัยนาม (18 มกราคม พ.ศ. 2447 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงโตเกียว กรุงลอนดอน และกรุงบอนน์ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยได้รับการเสนอชื่อจากนายปรีดี พนมยงค์ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ได้ปฏิเสธที่จะรับตำแหน่ง และเคยได้รับการเสนอชื่อจากรัฐบาลไทย ต่อองค์การยูเนสโกให้ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลสำคัญแห่งโลก แต่ไม่ได้รับพิจารณาเนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณ.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และดิเรก ชัยนาม · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรี

ณะรัฐมนตรี (council of ministers หรือ cabinet) มีอำนาจหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย อันประกอบด้วย หัวหน้าคณะ 1 คน ซึ่งมักเรียกว่า นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอื่น ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และคณะรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และตั้ว ลพานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

ประยูร ภมรมนตรี

รองอำมาตย์เอก นายพลโท ประยูร ภมรมนตรี ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ เป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ฝ่ายพลเรือน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเหลนของพระยาราชมนตรี (ภู่ ภมรมนตรี) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลที่๓ เป็นบุตรของ พันตรี พระชำนาญคุรุวิทย์ (แย้ม ภมรมนตรี) ทูตทหารประจำจักรวรรดิเยอรมัน กับมารดาที่เป็นชาวเยอรมัน ซึ่งเป็นครูสอนภาษาเยอรมันให้กับนักเรียนในจักรวรรดิเยอรมันขณะนั้น2475: สองฝั่งประชาธิปไตย, สารคดี: ทีวีไทย พฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ชื่อ แพทย์หญิงแอนเนลี ไฟร์ พลโท ประยูร ภมรมนตรี เป็นผู้เสนอจัดตั้งโรงแรมขนาดใหญ่ เพื่อรองรับความเจริญของกรุงเทพมหานคร หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปี..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และประยูร ภมรมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี พนมยงค์

ตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ หรือ อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2443 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นรัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)

มหาอำมาตย์นายก มหาเสวกเอก นายพลเสือป่า นายพันเอก นายนาวาอากาศเอก เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 - 30 ธันวาคม พ.ศ. 2481) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล อภิรัฐมนตรี เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ทั้งยังเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้าง การประปานครหลวง การไฟฟ้ามหานคร ถนนและสะพานในกรุงเทพมหานครอีกด้ว.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และเจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กรกฎาคม

วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ14 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ15 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ21 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ26 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 ธันวาคม

วันที่ 26 ธันวาคม เป็นวันที่ 360 ของปี (วันที่ 361 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 5 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ26 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ5 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ6 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9และ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 9 ของไทย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »