โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ vs. เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์

อฟ-22 ของกองทัพอากาศสหรัฐขณะยิงเอไอเอ็ม-120 แอมแรม ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศยุคใหม่ ไอริส-ที ของกองทัพอากาศเยอรมัน เอไอเอ็ม-132 แอสแรม ติดตั้งกับ ยูโรไฟต์เตอร์ ไทฟูน. ขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ (AAM) เป็นขีปนาวุธที่ใช้ปล่อยจากอากาศยาน มีจุดมุ่งหมายที่จะทำลายอากาศยานเป้าหมาย ปกติแล้วขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศ จะใช้เครื่องยนต์จรวดเดี่ยวหรือหลายเครื่องยนต์ก็ได้ และใช้เชื้อเพลิงแข็ง แต่บางครั้งอาจใช้เชื้อเพลิงเหลว หรือเครื่องยนต์แรมเจ็ท โดยทั่วไปขีปนาวุธอากาศ-สู่-อากาศสามารถจำแนกออกเป็นสองประเภท ประเภทแรกคือขีปนาวุธที่ออกแบบมาเพื่อติดตามอากาศยานในระยะไม่เกิน 20 ไมล์ (32 กิโลเมตร) เป็นขีปนาวุธระยะสั้นในระยะมองเห็น (SRAAMs หรือ WVRAAMs) โดยเน้นที่การใช้งานในการต่อสู้ระยะประชิด หรือเรียกว่า "ด็อกไฟท์" ขีปนาวุธประเภทนี้จะเน้นที่ความคล่องตัวมากกว่าระยะยิง ใช้ระบบนำวิถีแบบอินฟราเรด หรือเรียกอีกอย่างว่าระบบค้นหาเป้าหมายด้วยความร้อน ประเภทที่สองคือขีปนาวุธในระยะกลางถึงไกล เป็นขีปนาวุธในระยะเกินมองเห็น (BVRAAMs) และนำวิถีด้วยเรดาร. อไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ (AIM-9 Sidewinder) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยใกล้ติดตามความร้อน ซึ่งใช้กับเครื่องบินขับไล่และเฮลิคอปเตอร์โจมตี แบบอื่นและการพัฒนายังคงอยู่ในประจำการในกองทัพอากาศต่างๆ หลังจากผ่านไปห้าทศวรรษ นักบินนาโต้ใช้รหัสเรียกมันว่าฟ็อกซ์ ทู (Fox Two) ซึ่งหมายถึงขีปนาวุธติดตามความร้อน ไซด์ไวน์เดอร์เป็นขีปนาวุธที่ใช้กว้างขวางที่สุดในฝั่งตะวันตก ด้วยการผลิตมากกว่า 110,000 ลูกสำหรับสหรัฐและอีก 27 ประเทศ ซึ่งอาจมีเพียง 1 % เท่านั้นที่ใช้ในการรบ มันถูกผลิตภายใต้ใบอนุญาตโดยบางชาติรวมทั้งสวีเดน เอไอเอ็ม-9 เป็นหนึ่งในขีปนาวุธอากาศสู่อากาศที่เก่าแก่ที่สุด ถูกที่สุด และประสบความสำเร็จที่สุด ด้วยคะแนนสังหารถึง 270 จากทั่วโลก มันถูกออกแบบมาเพื่อทำการพัฒนาได้โดยง่าย กล่าวกันว่าเป้าหมายของการออกแบบสำหรับไซด์ไวน์เดอร์ดั้งเดิมนั้นคือสร้างขีปนาวุธที่ไว้ใจได้และมีประสิทธิภาพ กองทัพเรือสหรัฐได้ฉลองครบรอบ 50 ปีของการใช้มันในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อินฟราเรด

อินฟราเรด

มนุษย์ในย่าน mid-infrared เป็นภาพที่เกิดจากรังสีความร้อนที่แผ่ออกมาจากคน รังสีอินฟราเรด (Infrared (IR)) มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า รังสีใต้แดง หรือรังสีความร้อน เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างคลื่นวิทยุและแสงมีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิร์ตซ์หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 1-1000 ไมโครเมตร มีความถี่ในช่วงเดียวกับไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยู่ระหว่างแสงสีแดงกับคลื่นวิทยุสสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง -200 องศาเซลเซียสถึง 4,000 องศาเซลเซียส จะปล่อยรังสีอินฟราเรดออกมา คุณสมบัติเฉพาะตัวของรังสีอินฟราเรด เช่น ไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แตกต่างกันก็คือ คุณสมบัติที่ขึ้นอยู่กับความถี่ คือยิ่งความถี่สูงมากขึ้น พลังงานก็สูงขึ้นด้วย  ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คือ Sir William Herschel ซึ่งได้ค้นพบ รังสีอินฟราเรดสเปกตรัมในปี.. 1800จากการทดลองโดยทดสอบว่าในเลนส์แต่ละสี จะเปลี่ยนค่าแสดงความร้อนของดวงอาทิตย์หรือไม่ จึงประดิษฐ์อุปกรณ์การทดลองเพื่อหาคำตอบใช้ปริซึมแยกแสง แล้วให้แสงต่างๆมาตกที่เทอร์โมมิเตอร์ก็ตั้งเทอร์โมมิเตอร์ตัวหนึ่งนอกเหนือจากแสงสีต่าง ๆ นั้น เพื่อเป็นตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏว่า แสงสีต่าง มีอุณหภูมิสูงกว่าแสงสีขาว และอุณหภูมิสูงขึ้นจาก สีม่วง ไปหาสีแดง ปรากฏว่า เทอร์โมมิเตอร์ ตัวที่อยู่นอกเหนือจากแสงสีแดงนั้น กลับวัดได้อุณหภูมิสูงกว่าทุกตัว พบว่า ส่วนของแสงที่มองไม่เห็นแต่ร้อนกว่าสีแดงนี้ มีคุณสมบัติทางกายภาพเช่นเดียวกับคลื่นแสงที่มองเห็นได้ทุกประการ เช่น การหักเห ดูดซับ ส่องผ่านหรือไม่ผ่านตัวกลาง รังสีที่ถูกค้นพบใหม่นี้ตั้งชื่อว่า " รังสีอินฟราเรด " (ขอบเขตที่ต่ำกว่าแถบสีแดงหรือรังสีใต้แดง)  ในการใช้ประโยชน์ ใช้ในการควบคุมเครื่องใช้ระบบไกล (remote control) สร้างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียดนาม และสัตว์หลายชนิดมีนัยน์ตารับรู้รังสีชนิดนี้ได้ ทำให้มองเห็นหรือล่าเหยื่อได้ในเวลากลางคืน เรามองไม่เห็นรังสีอินฟราเรด แต่เราก็รู้สึกถึงความร้อนได้ สัตว์บางชนิด เช่น งู มีประสาทสัมผัสรังสีอินฟราเรด มันสามารถทราบตำแหน่งของเหยื่อได้ โดยการสัมผัสรังสีอินฟราเรดซึ่งแผ่ออกมาจากร่างกายของเหยื่อ รังสีที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีม่วงเรียกว่า “รังสีอุลตราไวโอเล็ต” โลกและสิ่งชีวิตแผ่รังสีอินฟราเรดออกมา เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้ำ ในบรรยากาศดูดซับรังสีนี้ไว้ ทำให้โลกมีความอบอุ่น เหมาะกับการดำรงชีวิต .

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและอินฟราเรด · อินฟราเรดและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์

ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.55% = 1 / (14 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศและเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »